Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การว่ายน้ำสำหรับเด็ก

การว่ายน้ำสำหรับเด็ก

Published by dog456za123, 2021-02-02 09:42:56

Description: ทักษะการว่ายน้ำ

Keywords: การว่ายน้ำ,เด็ก

Search

Read the Text Version

เรารอคอยทจี ะได้พบคณุ

การสอนว่ายนา้ เด็ก การสอนวา่ ยน้าส่วนใหญส่ าหรับเดก็ ๆ ที่เพง่ิ จะหดั วา่ ยน้าใหม่ ๆ ในช่วง 10 ปี น้ี จะแตกตา่ งจากการ สอนในช่วงก่อนหนา้ น้นั มากครับ เทา่ ท่ียงั จาได้ ปัจจุบนั การสอนเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นการผลกั ดนั ให้ ความสามารถของเดก็ ออกมามากกวา่ บงั คบั ใหท้ าไดท้ ้งั น้ีจะทาใหเ้ ด็ก ๆ เกิดความสุขสนุกสนานมากข้ึน อีกท้งั พ้นื ฐานและระดบั ของการพฒั นาของเด็กแต่ละคนเป็นไปอยา่ งมีอตั ราไมเ่ ทา่ กนั ท้งั น้ีคุณพ่อคณุ แม่มีส่วน ช่วยเป็นผทู้ ี่ยบั ย้งั หรือผลกั ดนั ความสามารถในการเรียนเป็นอนั มาก จากประสบการณ์พบวา่ เด็ก ๆ ท่ีคล่องแคลว่ ในสังคมเพือ่ น ๆ กลา้ คิด และทาอะไรดว้ ยตวั เองมาก ๆ มีความคดิ เป็นของตวั เอง มนั่ ใจในหลาย ๆ เร่ืองมี เหตผุ ล ก็จะเรียนรู้ในวชิ าวา่ ยน้าไดง้ า่ ยมาก ผดิ กบั เดก็ ๆ ท่ีคุณพอ่ คุณแมท่ าอะไรใหท้ ุกอยา่ ง \" โอ๋ \" มาก เกินไป การเรียนวา่ ยน้าก็จะมีอตั ราการพฒั นาไดไ้ ม่ดีนกั Class สอนว่ายนา้ เกดิ อะไรขึน้ บ้าง ฝึกทกั ษะพ้นื ฐานการวา่ ยน้า แบ่งออกเป็น ๖ ทกั ษะ ดงั น้ี ๑. การสร้างความค้นุ เคยกบั น้อง สาหรับผทู้ ่ียงั วา่ ยน้าไม่เป็นและไมค่ ุน้ เคยกบั สระวา่ ยน้ามาก่อน ควรสร้างความคนุ้ เคยกบั น้าก่อน คอื ให้ นง่ั ท่ีขอบสระใชม้ ือกวกั น้าข้ึนมาลบู แขน ลบู หนา้ ลาตวั เพื่อปรับอุณหภมู ิของร่างกายกบั น้า ตอ่ จากน้นั ใหน้ ง่ั ท่ี ขอบสระหรือบนั ได เหยยี ดเทา้ หรือเอาเทา้ จุ่มลงไปในน้า แกวง่ ไปมาเตะสลบั ข้นึ ลง จะชา้ บา้ งเร็วบา้ งสลบั กนั ไปตามความเหมาะสม ๒. การหายใจเข้าออกและลืมตาในนา้ เม่ือเร่ิมคุน้ เคยกบั น้า ไมร่ ู้สึกกลวั ใหล้ งน้ายนื ดา้ นน้าต้ืน ฝึ กการหายใจเขา้ และหายใจออก (Inhale and Exhale) โดยปฏิบตั ิดงั น้ี ๑) ใชม้ ือท้งั สองขา้ งจบั ขอบสระ ลืมตา หายใจเขา้ ลึกๆ กล้นั หายใจ แลว้ คอ่ ยๆ ยอ่ ตวั ลงไปในน้าให้ ศีรษะจมมิดลงในน้า กล้นั หายใจไว้ นบั ๑-๕ แลว้ จึงยกศีรษะข้ึนจากน้า ๒) อา้ ปากหายใจเขา้ ทางปาก (ไม่หายใจเขา้ ทางจมูกเพราะน้าท่ียงั คา้ งอยตู่ ามใบหนา้ จะไหลเขา้ จมกู ทา ใหส้ าลกั น้าได)้ โดยไมเ่ อามือมาลูบหนา้ ส่ายศีรษะหรือสะบดั ผม ทาติดตอ่ กนั ๑๐-๑๕ คร้ัง

๓) เมื่อชานาญอาจใชว้ ธิ ีปล่อยลมออกทางจมกู ขณะที่ดาน้า และเพมิ่ ระยะเวลาในการกล้นั หายใจในน้า โดยนบั ๑-๑๐ ๑-๒๐ หรือ ๑-๓๐ แลว้ จึงยกศีรษะข้ึนจากน้ารีบอา้ ปากหายใจเขา้ ลึกๆ เร็วๆ ๓. การลอยตัว (Floating) เม่ือมีความมน่ั ใจ สามารถหายใจเขา้ ออก และลืมตาในน้าไดแ้ ลว้ ข้นั ต่อไปเป็นการฝึกลอยตวั เพอ่ื ให้ รู้จกั การทรงตวั และส่งเสริมใหเ้ กิดความมน่ั ใจในการฝึก ซ่ึงสามารถลอยตวั ไดห้ ลายวิธีดงั น้ี ๑ ) แบบแมงกะพรุนหรือแบบเต่า (Ball Float and Jelly Fish Float) ยนื เทา้ แยกห่างกนั เท่ากบั ช่วงไหล่ กม้ หนา้ ศีรษะ ลาตวั อยูใ่ ตร้ ะดบั น้า แลว้ ยกขาขวาและขาซา้ ยงอเขา่ ข้นึ มา มือท้งั สองค่อยๆ เล่ือนลงไปกอดขาใตเ้ ขา่ ขาท่อนบนชิดหนา้ อก กม้ หนา้ คางชิดเข่า หายใจออกทางปาก อยใู่ ตร้ ะดบั น้าใหน้ าน ๑๐-๑๕ วนิ าที เมื่ออยใู่ นท่าน้ีแลว้ ร่างกายจะคอ่ ยๆ ลอยข้นึ จนส่วนกลางของหลงั ลอยอยู่ ในระดบั ผิวน้า ๒ ) แบบคว่าหน้า (Prone Float) วธิ ที ี่ ๑ เริ่มตน้ จากลอยตวั แบบแมงกะพรุน แลว้ ค่อยๆ เหยียดแขนชิดหู เหยยี ดขาชิด และลาตวั ใหอ้ ยใู่ น ระดบั เดียวกนั ขนานกบั ผิวน้า กม้ หนา้ หายใจออกทางปาก วิธีท่ี ๒ เริ่มจากการยนื แลว้ ยกแขนชิดหู สูดลมหายใจเขา้ แลว้ ค่อยๆ กม้ ตวั ยกแขนเหยยี ดไปขา้ งหนา้ ลง สู่ระดบั ผวิ น้า พร้อมกบั ยกขาเหยยี ดไปดา้ นหลงั แขนขา ลาตวั ขนานกบั ผิวน้า หายใจออกทางปากอยใู่ นน้าให้ นาน ๑๐-๑๕ วนิ าที ๓ ) แบบนอนหงาย (Back Float) วธิ ีที่ ๑ ฝึกในระดบั น้าต้ืนโดยเริ่มจากทา่ นงั่ ลงกบั พ้นื สระใหน้ ้าอยทู่ ่ีระดบั คางแหงนหนา้ ข้ึนใหป้ ากและ จมูกโผลพ่ น้ น้าเท่าน้นั เอามือท้งั สองขา้ ง ยนั พ้นื สระไวข้ า้ งหลงั ค่อยๆ พยายามยกเทา้ และสะโพกข้นึ จนกระทง่ั ขนานกบั พ้ืนแลว้ ค่อยๆ ปล่อยมือท่ียนั พ้นื สระไว้ กางแขนออกใหข้ นานในระดบั ไหล่ (ถา้ จะจมใหใ้ ชข้ าและแขน ตีน้าเบาๆ)

วิธที ่ี ๒ เม่ือฝึกที่ระดบั น้าต้ืนจนชานาญแลว้ อาจลงไปฝึกในระดบั น้าที่ลึกข้ึน โดยเร่ิมจากทา่ ยนื แลว้ คอ่ ยๆ เอนหลงั ลงโดยที่เทา้ ท้งั สองยงั คงอยทู่ ี่กน้ สระ ใชม้ ือช่วยพุย้ น้าเพ่ือช่วยทรงตวั กางแขนออกแลว้ คอ่ ยๆ แอ่นอกและยกเทา้ ข้ึน โดยใหป้ ลายเทา้ แตะพ้ืนไวเ้ ท่าน้นั ยกสะโพกข้ึน แขนไมเ่ กร็ง ให้ปลายเทา้ แตะพ้นื สระ เพียงเบาๆ แลว้ ยกใหพ้ น้ ข้ึนมา ๔. การโผ วธิ ที ่ี ๑ การโผตัวแบบไม่เตะขา ๑) ยนื ชิดขอบสระ แยกเทา้ พอประมาณ แขนปล่อยขา้ งลาตวั ๒) ยกแขนท้งั สองเหยยี ดข้ึนตรงชิดใบหู โดยใชน้ ิ้วหวั แมม่ ือเก่ียวกนั ไว้ คว่าฝ่ามือลง งอเข่าขวาถีบ ผนงั สระไว้ ๓) หายใจเขา้ ลึกๆ ๔) ค่อยๆ กม้ ตวั ลง ใหห้ นา้ อยใู่ นน้า สายตาจอ้ งมองไปขา้ งหนา้ ๕) พ่งุ ตวั ไปขา้ งหนา้ โดยอาศยั แรงส่งจากการถีบเทา้ ขวาออกจากผนงั ขอบสระ โดยที่ลาตวั แขน ขา เหยยี ดตรง ขนานไปกบั ผิวน้า ปลอ่ ยตวั ตามสบาย ๖) เมื่อหมดแรงส่งแลว้ ใชฝ้ ่ามือท้งั สองกดน้าลง พร้อมกบั พบั เอว และดึงขาท้งั สองเขา้ หาลาตวั จากน้นั จึงกลบั สู่ทา่ ยนื วิธที ี่ ๒ การโผตวั แบบเตะขา มีวธิ ีการฝึกเช่นเดียวกบั วธิ ีการโผตวั แบบไม่เตะขา แต่หลงั จากพุ่งตวั ออกไปแลว้ ตอ้ งเตะขาสลบั ข้ึนลง ลาตวั แขน และขาจะขนานไปกบั ผิวน้า ๕. การเตะขา การเตะขามีข้นั ตอนในการฝึ กดงั น้ี

ข้นั ท่ี ๑ นง่ั เตะขาบริเวณขอบสระ นง่ั ท่ีขอบสระ เอนตวั ไปดา้ นหลงั ใชแ้ ขนยนั พ้ืนดา้ นหลงั ไว้ ขาท้งั สองขา้ งเหยยี ดลงไปในน้า ปลายเทา้ งมุ้ นิ้วเทา้ เหยยี ดออก นิ้วหวั แม่เทา้ หนั เขา้ หากนั ปลอ่ ยตามสบายใหเ้ ป็น ธรรมชาติ เตะขาข้ึนลงสลบั กนั ดว้ ยความเร็วสม่าเสมอ ข้นั ที่ ๒ นอนคว่าที่ขอบสระบนบกเตะขาในน้า เปล่ียนจากการนงั่ เป็นนอนควา่ ท่ีขอบสระบนบก เตะ ขาสลบั ข้นึ ลงเช่นเดียวกบั ข้นั ที่ ๑ ข้นั ท่ี ๓ นอนคว่าเตะขาในน้า เกาะขอบสระลอยตวั ในน้า ใหก้ ม้ หนา้ อยใู่ นน้า พร้อมหายใจออกทาง ปาก เมื่อจะหายใจเขา้ กใ็ หย้ กศีรษะข้นึ เหนือน้า หายใจเขา้ ทางปากแลว้ รีบกม้ หนา้ ลงน้า เตะขาสลบั ข้นึ ลง เช่นเดียวกบั ข้นั ท่ี ๑ ข้นั ที่ ๔ ยนื ในน้า ชิดขอบสระ ยกแขนซา้ ยและแขนขวาข้นึ เหนือศีรษะ นิ้วหวั แม่มือเก่ียวกนั ไว้ ฝ่ามือ ควา่ ลงสูดหายใจเขา้ ใหเ้ ตม็ ที่แลว้ กม้ หนา้ ตวั ลง หนา้ อยใู่ นน้าใชข้ าถีบขอบสระหรือพ้ืนสระ พุ่งตวั ไปขา้ งหนา้ เทา้ ท้งั สองเตะสลบั ข้นึ ลง ไม่เกร็งปลอ่ ยตามสบาย หนา้ มองตรงไปขา้ งหนา้ พร้อมกบั หายใจออกทางปาก เม่ือ หมดอากาศใหย้ นื ข้ึน ข้นั ท่ี ๕ ฝึกเช่นเดียวกบั ข้นั ที่ ๔ แต่เปล่ียนจากการหยดุ ยนื ข้ึนหายใจเขา้ เป็นกดมือลงยกศีรษะข้ึนหายใจ เขา้ และยงั คงเตะขาสลบั ข้นึ ลงอยา่ งต่อเนื่องโดยไม่หยดุ ชะงกั ข้นั ท่ี ๖ จบั คู่จูงบริเวณน้าต้ืนที่ยนื ถึง โดยใหผ้ ฝู้ ึกและผชู้ ่วยฝึกยนื หนั หนา้ เขา้ หากนั ผชู้ ่วยฝึกเหยยี ดแขน ท้งั สองไปขา้ งหนา้ หงายฝ่ามือข้ึนงอนิ้วมือ ส่วนผฝู้ ึกเตะขาเหยยี ดแขนตึงไปขา้ งหนา้ คว่ามือลงเกาะมือผชู้ ่วยฝึก เมื่อผฝู้ ึกเตะขาพร้อมผชู้ ่วยฝึกกเ็ ดินถอยหลงั ผฝู้ ึกเหยยี ดขาลอยตวั ข้ึน เตะขาสลบั ข้ึนลง ลากจูงเช่นน้ีไปเรื่อยๆ ข้นั ท่ี ๗ การเตะขาแบบเคลื่อนท่ี เม่ือสามารถฝึกเตะขาไดต้ ามทกั ษะแลว้ ใหน้ าทกั ษะการเตะขารวมการ ทกั ษะการนอนคว่าหนา้ พุ่งตวั ลอยน้า โดยเริ่มจากพ่งุ ตวั ออกจากผนงั สระใหล้ าตวั เคล่ือนที่ไปขา้ งหนา้ เมื่อ ความเร็วในถีบเทา้ พุง่ ตวั เร่ิมลดลง ใหเ้ ตะขาข้นึ -ลงส่งใหล้ าตวั เคลื่อนท่ีไปขา้ งหนา้ อยา่ งต่อเน่ือง โดยกม้ ศีรษะให้ แขนท้งั สองขา้ งอยชู่ ิดกบั ใบหูสายตาชาเลืองมองไปขา้ งหนา้ เลก็ นอ้ ย ๖. การเลยี้ งตัวในน้า การเล้ียงตวั ในน้า คือ การพยงุ ตวั ใหอ้ ยใู่ นน้าได้ โดยการเคล่ือนไหวแขนและขา ซ่ึงมีท้งั การเล้ียงตวั ใน แนวดิ่งและแนวราบขนานกบั ผิวน้า ซ่ึงเหมือนกบั การวา่ ยน้าทา่ ฟรีสไตล์ แต่ใหใ้ ชม้ ืออยใู่ ตน้ ้าไม่ยกพน้ น้าและ ศีรษะไม่จมน้า

ประโยชน์ของการเลยี้ งตัวในน้า ๑) เม่ือเกิดอาการตะคริวท่ีแขนหรือขา ๒) เมื่อรู้สึกเหน่ือยเม่ือยลา้ จาการวา่ ยน้าตอ้ งการพกั แขนหรือขา ๓) เมื่อเกิดอบุ ตั ิเหตทุ างน้า เช่น เรือลม่ หรือตกน้า ๔) เมื่อตอ้ งการจะถอดเส้ือผา้ หรือรองเทา้ ขณะอยใู่ นน้า ๕) ใชใ้ นการช่วยคนตกน้า ๖) ใชก้ บั กีฬาทางน้าบางประเภท เช่น โปโลน้า สกีน้า ลกั ษณะการเคล่ือนไหวของขาและแขน ๑) การเคลื่อนไหวของขา มีดว้ ยกนั ๓ วธิ ี วิธที ่ี ๑ ใชเ้ ทา้ เตะน้าท้งั สองขา้ ง โดยโยกไปมาทางดา้ นหนา้ และหลงั ในแบบกรรไกร วธิ ีที่ ๒ ใชข้ าเคล่ือนไหวแบบการวา่ ยน้าขากบ ลกั ษณะถบี เทา้ ตบเทา้ เขา้ หากนั อยตู่ ลอดเวลา วิธีที่ ๓ เป็นวิธีท่ีไม่คอ่ ยนิยมกนั นกั คอื การเคล่ือนไหวเทา้ แบการว่งิ ยกเข่าสูง ถีบน้าอยู่ตลอดเวลา ๒) การเคล่ือนไหวของแขน วิธีที่ ๑ การรวบแขนเขา้ ออก คือ กางแขนออกงอตรงขอ้ ศอกเลก็ นอ้ ย ใหแ้ ขนขนานกบั ผวิ น้า เหวยี่ งแขนเป็น วงกลมไปมาอยใู่ ตน้ ้า กดแขนใหล้ ึกกวา่ ระดบั อก ฝ่ามือควา่ ลงเพือ่ กดน้าใหต้ วั ลอยอยู่ วธิ ที ่ี ๒ งอแขนท่ีขอ้ ศอกแลว้ กดน้าข้นึ ลง เพ่ือสลบั กนั แบบสุนขั ตกน้า ใหก้ ดฝ่ามือข้นึ ลงชา้ ๆ ลึกๆ ลกั ษณะของ นิ้วมือเรียงชิดติดกนั เงยหนา้ พน้ น้า มือสลบั กนั เป็นรูปวงรีไมเ่ หว่ียงออกไปดา้ นขา้ ง ดึงน้าใหม้ ือไปแค่ระดบั อก อีกมือสอดใตน้ ้าไปทางดา้ นหนา้ สลบั กนั ไปมาใหต้ ลอดเวลา



การสอนว่ายนา้ เด็ก การสอนวา่ ยน้าส่วนใหญส่ าหรับเดก็ ๆ ที่เพง่ิ จะหดั วา่ ยน้าใหม่ ๆ ในช่วง 10 ปี น้ี จะแตกตา่ งจากการ สอนในช่วงก่อนหนา้ น้นั มากครับ เทา่ ท่ียงั จาได้ ปัจจุบนั การสอนเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นการผลกั ดนั ให้ ความสามารถของเดก็ ออกมามากกวา่ บงั คบั ใหท้ าไดท้ ้งั น้ีจะทาใหเ้ ด็ก ๆ เกิดความสุขสนุกสนานมากข้ึน อีกท้งั พ้นื ฐานและระดบั ของการพฒั นาของเด็กแต่ละคนเป็นไปอยา่ งมีอตั ราไมเ่ ทา่ กนั ท้งั น้ีคุณพ่อคณุ แม่มีส่วน ช่วยเป็นผทู้ ี่ยบั ย้งั หรือผลกั ดนั ความสามารถในการเรียนเป็นอนั มาก จากประสบการณ์พบวา่ เด็ก ๆ ท่ีคล่องแคลว่ ในสังคมเพือ่ น ๆ กลา้ คิด และทาอะไรดว้ ยตวั เองมาก ๆ มีความคดิ เป็นของตวั เอง มนั่ ใจในหลาย ๆ เร่ืองมี เหตผุ ล ก็จะเรียนรู้ในวชิ าวา่ ยน้าไดง้ า่ ยมาก ผดิ กบั เดก็ ๆ ท่ีคุณพอ่ คุณแมท่ าอะไรใหท้ ุกอยา่ ง \" โอ๋ \" มาก เกินไป การเรียนวา่ ยน้าก็จะมีอตั ราการพฒั นาไดไ้ ม่ดีนกั Class สอนว่ายนา้ เกดิ อะไรขึน้ บ้าง ฝึกทกั ษะพ้นื ฐานการวา่ ยน้า แบ่งออกเป็น ๖ ทกั ษะ ดงั น้ี ๑. การสร้างความค้นุ เคยกบั น้อง สาหรับผทู้ ่ียงั วา่ ยน้าไม่เป็นและไมค่ ุน้ เคยกบั สระวา่ ยน้ามาก่อน ควรสร้างความคนุ้ เคยกบั น้าก่อน คอื ให้ นง่ั ท่ีขอบสระใชม้ ือกวกั น้าข้ึนมาลบู แขน ลบู หนา้ ลาตวั เพื่อปรับอุณหภมู ิของร่างกายกบั น้า ตอ่ จากน้นั ใหน้ ง่ั ท่ี ขอบสระหรือบนั ได เหยยี ดเทา้ หรือเอาเทา้ จุ่มลงไปในน้า แกวง่ ไปมาเตะสลบั ข้นึ ลง จะชา้ บา้ งเร็วบา้ งสลบั กนั ไปตามความเหมาะสม ๒. การหายใจเข้าออกและลืมตาในนา้ เม่ือเร่ิมคุน้ เคยกบั น้า ไมร่ ู้สึกกลวั ใหล้ งน้ายนื ดา้ นน้าต้ืน ฝึ กการหายใจเขา้ และหายใจออก (Inhale and Exhale) โดยปฏิบตั ิดงั น้ี ๑) ใชม้ ือท้งั สองขา้ งจบั ขอบสระ ลืมตา หายใจเขา้ ลึกๆ กล้นั หายใจ แลว้ คอ่ ยๆ ยอ่ ตวั ลงไปในน้าให้ ศีรษะจมมิดลงในน้า กล้นั หายใจไว้ นบั ๑-๕ แลว้ จึงยกศีรษะข้ึนจากน้า ๒) อา้ ปากหายใจเขา้ ทางปาก (ไม่หายใจเขา้ ทางจมูกเพราะน้าท่ียงั คา้ งอยตู่ ามใบหนา้ จะไหลเขา้ จมกู ทา ใหส้ าลกั น้าได)้ โดยไมเ่ อามือมาลูบหนา้ ส่ายศีรษะหรือสะบดั ผม ทาติดตอ่ กนั ๑๐-๑๕ คร้ัง

๓) เมื่อชานาญอาจใชว้ ธิ ีปล่อยลมออกทางจมกู ขณะที่ดาน้า และเพมิ่ ระยะเวลาในการกล้นั หายใจในน้า โดยนบั ๑-๑๐ ๑-๒๐ หรือ ๑-๓๐ แลว้ จึงยกศีรษะข้ึนจากน้ารีบอา้ ปากหายใจเขา้ ลึกๆ เร็วๆ ๓. การลอยตัว (Floating) เม่ือมีความมน่ั ใจ สามารถหายใจเขา้ ออก และลืมตาในน้าไดแ้ ลว้ ข้นั ต่อไปเป็นการฝึกลอยตวั เพอ่ื ให้ รู้จกั การทรงตวั และส่งเสริมใหเ้ กิดความมน่ั ใจในการฝึก ซ่ึงสามารถลอยตวั ไดห้ ลายวิธีดงั น้ี ๑ ) แบบแมงกะพรุนหรือแบบเต่า (Ball Float and Jelly Fish Float) ยนื เทา้ แยกห่างกนั เท่ากบั ช่วงไหล่ กม้ หนา้ ศีรษะ ลาตวั อยูใ่ ตร้ ะดบั น้า แลว้ ยกขาขวาและขาซา้ ยงอเขา่ ข้นึ มา มือท้งั สองค่อยๆ เล่ือนลงไปกอดขาใตเ้ ขา่ ขาท่อนบนชิดหนา้ อก กม้ หนา้ คางชิดเข่า หายใจออกทางปาก อยใู่ ตร้ ะดบั น้าใหน้ าน ๑๐-๑๕ วนิ าที เมื่ออยใู่ นท่าน้ีแลว้ ร่างกายจะคอ่ ยๆ ลอยข้นึ จนส่วนกลางของหลงั ลอยอยู่ ในระดบั ผิวน้า ๒ ) แบบคว่าหน้า (Prone Float) วธิ ที ี่ ๑ เริ่มตน้ จากลอยตวั แบบแมงกะพรุน แลว้ ค่อยๆ เหยียดแขนชิดหู เหยยี ดขาชิด และลาตวั ใหอ้ ยใู่ น ระดบั เดียวกนั ขนานกบั ผิวน้า กม้ หนา้ หายใจออกทางปาก วิธีท่ี ๒ เริ่มจากการยนื แลว้ ยกแขนชิดหู สูดลมหายใจเขา้ แลว้ ค่อยๆ กม้ ตวั ยกแขนเหยยี ดไปขา้ งหนา้ ลง สู่ระดบั ผวิ น้า พร้อมกบั ยกขาเหยยี ดไปดา้ นหลงั แขนขา ลาตวั ขนานกบั ผิวน้า หายใจออกทางปากอยใู่ นน้าให้ นาน ๑๐-๑๕ วนิ าที ๓ ) แบบนอนหงาย (Back Float) วธิ ีที่ ๑ ฝึกในระดบั น้าต้ืนโดยเริ่มจากทา่ นงั่ ลงกบั พ้นื สระใหน้ ้าอยทู่ ่ีระดบั คางแหงนหนา้ ข้ึนใหป้ ากและ จมูกโผลพ่ น้ น้าเท่าน้นั เอามือท้งั สองขา้ ง ยนั พ้นื สระไวข้ า้ งหลงั ค่อยๆ พยายามยกเทา้ และสะโพกข้นึ จนกระทง่ั ขนานกบั พ้ืนแลว้ ค่อยๆ ปล่อยมือท่ียนั พ้นื สระไว้ กางแขนออกใหข้ นานในระดบั ไหล่ (ถา้ จะจมใหใ้ ชข้ าและแขน ตีน้าเบาๆ)

วิธีที่ ๒ เม่ือฝึกท่ีระดบั น้าต้ืนจนชานาญแลว้ อาจลงไปฝึกในระดบั น้าท่ีลึกข้นึ โดยเริ่มจากท่ายนื แลว้ คอ่ ยๆ เอนหลงั ลงโดยที่เทา้ ท้งั สองยงั คงอยทู่ ี่กน้ สระ ใชม้ ือช่วยพยุ้ น้าเพ่ือช่วยทรงตวั กางแขนออกแลว้ ค่อยๆ แอน่ อกและยกเทา้ ข้ึน โดยใหป้ ลายเทา้ แตะพ้นื ไวเ้ ทา่ น้นั ยกสะโพกข้นึ แขนไม่เกร็ง ใหป้ ลายเทา้ แตะพ้นื สระ เพียงเบาๆ แลว้ ยกใหพ้ น้ ข้นึ มา ๔. การโผ วธิ ีที่ ๑ การโผตัวแบบไม่เตะขา ๑) ยนื ชิดขอบสระ แยกเทา้ พอประมาณ แขนปลอ่ ยขา้ งลาตวั ๒) ยกแขนท้งั สองเหยยี ดข้ึนตรงชิดใบหู โดยใชน้ ิ้วหวั แม่มือเก่ียวกนั ไว้ คว่าฝ่ามือลง งอเขา่ ขวาถีบผนงั สระไว้ ๓) หายใจเขา้ ลึกๆ ๔) ค่อยๆ กม้ ตวั ลง ใหห้ นา้ อยใู่ นน้า สายตาจอ้ งมองไปขา้ งหนา้ ๕) พุ่งตวั ไปขา้ งหนา้ โดยอาศยั แรงส่งจากการถีบเทา้ ขวาออกจากผนงั ขอบสระ โดยที่ลาตวั แขน ขา เหยยี ดตรง ขนานไปกบั ผิวน้า ปลอ่ ยตวั ตามสบาย ๖) เมื่อหมดแรงส่งแลว้ ใชฝ้ ่ามือท้งั สองกดน้าลง พร้อมกบั พบั เอว และดึงขาท้งั สองเขา้ หาลาตวั จากน้นั จึงกลบั สู่ทา่ ยนื วธิ ีที่ ๒ การโผตัวแบบเตะขา มีวธิ ีการฝึกเช่นเดียวกบั วิธีการโผตวั แบบไม่เตะขา แตห่ ลงั จากพงุ่ ตวั ออกไปแลว้ ตอ้ งเตะขาสลบั ข้ึนลง ลาตวั แขน และขาจะขนานไปกบั ผิวน้า ๕. การเตะขา การเตะขามีข้นั ตอนในการฝึ กดงั น้ี

ข้นั ท่ี ๑ นง่ั เตะขาบริเวณขอบสระ นง่ั ที่ขอบสระ เอนตวั ไปดา้ นหลงั ใชแ้ ขนยนั พ้ืนดา้ นหลงั ไว้ ขาท้งั สองขา้ งเหยยี ดลงไปในน้า ปลายเทา้ งุม้ นิ้วเทา้ เหยยี ดออก นิ้วหวั แม่เทา้ หนั เขา้ หากนั ปล่อยตามสบายใหเ้ ป็น ธรรมชาติ เตะขาข้ึนลงสลบั กนั ดว้ ยความเร็วสม่าเสมอ ข้นั ท่ี ๒ นอนควา่ ที่ขอบสระบนบกเตะขาในน้า เปล่ียนจากการนง่ั เป็นนอนควา่ ท่ีขอบสระบนบก เตะ ขาสลบั ข้นึ ลงเช่นเดียวกบั ข้นั ท่ี ๑ ข้นั ท่ี ๓ นอนคว่าเตะขาในน้า เกาะขอบสระลอยตวั ในน้า ใหก้ ม้ หนา้ อยใู่ นน้า พร้อมหายใจออกทาง ปาก เม่ือจะหายใจเขา้ กใ็ หย้ กศีรษะข้นึ เหนือน้า หายใจเขา้ ทางปากแลว้ รีบกม้ หนา้ ลงน้า เตะขาสลบั ข้ึนลง เช่นเดียวกบั ข้นั ท่ี ๑ ข้นั ท่ี ๔ ยนื ในน้า ชิดขอบสระ ยกแขนซา้ ยและแขนขวาข้นึ เหนือศีรษะ นิ้วหวั แม่มือเก่ียวกนั ไว้ ฝ่ามือ คว่าลงสูดหายใจเขา้ ใหเ้ ตม็ ที่แลว้ กม้ หนา้ ตวั ลง หนา้ อยใู่ นน้าใชข้ าถีบขอบสระหรือพ้นื สระ พ่งุ ตวั ไปขา้ งหนา้ เทา้ ท้งั สองเตะสลบั ข้ึนลง ไม่เกร็งปล่อยตามสบาย หนา้ มองตรงไปขา้ งหนา้ พร้อมกบั หายใจออกทางปาก เม่ือ หมดอากาศใหย้ นื ข้ึน ข้นั ที่ ๕ ฝึกเช่นเดียวกบั ข้นั ท่ี ๔ แตเ่ ปล่ียนจากการหยดุ ยนื ข้นึ หายใจเขา้ เป็นกดมือลงยกศีรษะข้ึนหายใจ เขา้ และยงั คงเตะขาสลบั ข้ึนลงอยา่ งต่อเนื่องโดยไมห่ ยดุ ชะงกั ข้นั ท่ี ๖ จบั คจู่ ูงบริเวณน้าต้ืนท่ียนื ถึง โดยใหผ้ ฝู้ ึกและผชู้ ่วยฝึกยนื หนั หนา้ เขา้ หากนั ผชู้ ่วยฝึกเหยยี ดแขน ท้งั สองไปขา้ งหนา้ หงายฝ่ามือข้ึนงอนิ้วมือ ส่วนผฝู้ ึกเตะขาเหยยี ดแขนตึงไปขา้ งหนา้ ควา่ มือลงเกาะมือผชู้ ่วยฝึก เมื่อผฝู้ ึกเตะขาพร้อมผชู้ ่วยฝึกก็เดินถอยหลงั ผฝู้ ึกเหยยี ดขาลอยตวั ข้นึ เตะขาสลบั ข้นึ ลง ลากจูงเช่นน้ีไปเร่ือยๆ ข้นั ที่ ๗ การเตะขาแบบเคลื่อนที่ เม่ือสามารถฝึกเตะขาไดต้ ามทกั ษะแลว้ ใหน้ าทกั ษะการเตะขารวมการ ทกั ษะการนอนควา่ หนา้ พุง่ ตวั ลอยน้า โดยเริ่มจากพุ่งตวั ออกจากผนงั สระใหล้ าตวั เคลื่อนที่ไปขา้ งหนา้ เม่ือ ความเร็วในถีบเทา้ พุ่งตวั เริ่มลดลง ใหเ้ ตะขาข้นึ -ลงส่งใหล้ าตวั เคล่ือนที่ไปขา้ งหนา้ อยา่ งต่อเน่ือง โดยกม้ ศีรษะให้ แขนท้งั สองขา้ งอยชู่ ิดกบั ใบหูสายตาชาเลืองมองไปขา้ งหนา้ เลก็ นอ้ ย ๖. การเลยี้ งตัวในนา้ การเล้ียงตวั ในน้า คือ การพยุงตวั ใหอ้ ยใู่ นน้าได้ โดยการเคลื่อนไหวแขนและขา ซ่ึงมีท้งั การเล้ียงตวั ใน แนวดิ่งและแนวราบขนานกบั ผิวน้า ซ่ึงเหมือนกบั การวา่ ยน้าท่าฟรีสไตล์ แตใ่ หใ้ ชม้ ืออยใู่ ตน้ ้าไมย่ กพน้ น้าและ ศีรษะไม่จมน้า

ประโยชน์ของการเลยี้ งตัวในน้า ๑) เม่ือเกิดอาการตะคริวท่ีแขนหรือขา ๒) เมื่อรู้สึกเหน่ือยเม่ือยลา้ จาการวา่ ยน้าตอ้ งการพกั แขนหรือขา ๓) เมื่อเกิดอบุ ตั ิเหตทุ างน้า เช่น เรือลม่ หรือตกน้า ๔) เมื่อตอ้ งการจะถอดเส้ือผา้ หรือรองเทา้ ขณะอยใู่ นน้า ๕) ใชใ้ นการช่วยคนตกน้า ๖) ใชก้ บั กีฬาทางน้าบางประเภท เช่น โปโลน้า สกีน้า ลกั ษณะการเคล่ือนไหวของขาและแขน ๑) การเคลื่อนไหวของขา มีดว้ ยกนั ๓ วธิ ี วิธที ่ี ๑ ใชเ้ ทา้ เตะน้าท้งั สองขา้ ง โดยโยกไปมาทางดา้ นหนา้ และหลงั ในแบบกรรไกร วธิ ีที่ ๒ ใชข้ าเคล่ือนไหวแบบการวา่ ยน้าขากบ ลกั ษณะถบี เทา้ ตบเทา้ เขา้ หากนั อยตู่ ลอดเวลา วิธีที่ ๓ เป็นวิธีท่ีไม่คอ่ ยนิยมกนั นกั คอื การเคล่ือนไหวเทา้ แบการว่งิ ยกเข่าสูง ถีบน้าอยู่ตลอดเวลา ๒) การเคล่ือนไหวของแขน วิธีที่ ๑ การรวบแขนเขา้ ออก คือ กางแขนออกงอตรงขอ้ ศอกเลก็ นอ้ ย ใหแ้ ขนขนานกบั ผวิ น้า เหวยี่ งแขนเป็น วงกลมไปมาอยใู่ ตน้ ้า กดแขนใหล้ ึกกวา่ ระดบั อก ฝ่ามือควา่ ลงเพือ่ กดน้าใหต้ วั ลอยอยู่ วธิ ที ่ี ๒ งอแขนท่ีขอ้ ศอกแลว้ กดน้าข้นึ ลง เพ่ือสลบั กนั แบบสุนขั ตกน้า ใหก้ ดฝ่ามือข้นึ ลงชา้ ๆ ลึกๆ ลกั ษณะของ นิ้วมือเรียงชิดติดกนั เงยหนา้ พน้ น้า มือสลบั กนั เป็นรูปวงรีไมเ่ หว่ียงออกไปดา้ นขา้ ง ดึงน้าใหม้ ือไปแค่ระดบั อก อีกมือสอดใตน้ ้าไปทางดา้ นหนา้ สลบั กนั ไปมาใหต้ ลอดเวลา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook