อาณาจกั รอยุธยา นายพงศกร สมเช้ือ 6421126087 D3 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาสังคมศึกษา (ค.บ.)
คานา หนังสือ E-book เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของ รายวิชาประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2565 โดยมีจุดประสงค์ในการท่ี จะศึกษาเกี่ยวกับอาณาจักรอยุธยา ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า E-book เล่ม น้ี จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ ที่ ส น ใ จ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง อ า ณ า จั ก ร อ ยุ ธ ย า แ ล ะ ห า ก มี จุ ด บ ก พ ร่ อ ง ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ท่ีนี้ ด้วย ผู้จัดทา พงศกร สมเชื้อ ก
สารบญั หน้า ก เร่ือง ข คานา 1 สารบัญ 8 ประวัติอาณาจักรอยุธยา 12 การเกิดขึ้นของอาณาจักรอยุธยา การปกครองของอาณาจักรอยุธยา 13 ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ 16 19 ของอาณาจักรอยุธยา อยุธยาในปัจจุบัน บรรณานุกรม ข
ประวัติอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา นับเป็นราชธานี ต้นกาเนิดของประเทศไทย ตามหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์บ่งช้ีว่าได้รับการสถาปนาข้ึนราว ปี พ.ศ. 1893 โดยตั้งอยู่บริเวณท่ีราบลุ่ม ริมแม่น้าเจ้าพระยา และแม่น้าป่าสัก มี พระมหากษัตริย์องค์แรกผู้สร้างเมืองคือ พระเจ้าอู่ทอง หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 1
ข้อสันนิษฐานว่าอยุธยาน่าจะเป็นเมืองเดิมท่ีเคยมีอยู่มาก่อนแล้ว ต้ังอยู่ทางตะวันออกของแม่น้าป่าสัก บริเวณวัดพนัญเชิง เพราะเป็นวัดเก่าแก่น่าจะสร้างก่อนปี พ.ศ. 1893 เสียอีก เวลาต่อมาเกิดโรคระบาดหนักทาให้พระเจ้าอู่ทองนาผู้คนอพยพ ข้ามแม่น้าป่าสัก มาก่อร่างสร้างเมืองใหม่บริเวณหนองโสน หรือบึงพระรามในปัจจุบัน และสถาปณากรุงศรีอยุธยาขึ้น ณ ที่แห่งนั้น 2
กรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรย่ิงใหญ่ คงความเจริญรุ่งเรือง อยู่นานถึง 417 ปี มีพระมหากษัตริ ย์ท้ังสิ้น 33 พระองค์ 5 ราชวงศ์ คือ ราชวงศ์อู่ทอง ราชวงศ์สุพรรณภูมิ ราชวงศ์สุโขทัย ราชวงศ์ปราสาททอง ราชวงศ์บ้านพลูหลวง โดยต้ังแต่ช่วง อยุธยาตอนกลางเป็นต้นมาถือเป็นเมืองซึ่งมีความสาคัญทางด้าน การ ค้ า ขา ย กา รเ จริ ญ สัม พัน ธไ มต รี กั บชา ติ ต ะวั นต ก เป็ น ศูนย์กลางการเดินทางขนส่งสินค้าระหว่างตะวันออกและตะวันตก เชื่อกันว่ามีผู้คนหลากหลายสัญชาติ หลากศาสนา อาศัยอยู่ใน อาณาจักรกรุงศรีอยุธยาดังหลักฐานที่ปรากฎให้เห็น นอกจากนี้การค้าขาย อาณาจักรอยุธยายังมีความเข้มแข็ง ด้านการสงคราม มีการขยายอาณาเขตไปตามหัวเมืองต่างๆ ทั่ว สารทิศ และทาให้อาณาจักรหรือเมืองต่างๆ ท่ีเคยรุ่งเรืองมาก่อน หน้านี้ลดบทบาทหรือขนาดลงกลายเป็นเมืองประเทศราชขึ้นกับ อยุธยา จนบอกได้ว่าอยุธยาเป็นหน่ึงในอาณาจักรยิ่งใหญ่ท่ีสุดแห่ง หน่ึงท่ีเคยเกิดข้ึนในภูมิภาคนี้ 3
กรุงศรีอยุธยาเคยพ่ายแพ้สงครามใหญ่และเสียกรุงถึงสองครั้ง คร้ังแรกเกิดขึ้นเม่ือพระเจ้าบุเรงนอง แห่งราชวงศ์ตองอู ของพม่า นาทัพเข้ารุกกรุงศรีเพื่อประกาศศักดาตั้งแต่เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2111 การสงครามกินเวลายาวนานหลายเดือน กระทั่งเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2112 กรุงศรีอยุธยาจึงแตกพ่าย การเสียกรุงครั้งน้ันกินเวลายาวนานถึง 15 ปี ซ่ึงเวลาดังกล่าว พระเจ้าบุเรงนอง ทรงให้สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ขึ้นเป็นกษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยาในฐานะประเทศราช จนกระทั่งพระเจ้าบุเรงนองเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2524 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ขณะนั้นเป็นพระมหาอุปราชแห่ง อยุธยา) จึงเห็นว่าจะไม่ยอมเป็นเมืองข้ึนอีกต่อไป พระองค์ทรงทา การประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง เม่ือปี พ.ศ. 2126 แม้หลังจาก นั้นพม่าจะยกทัพมาหมายปราบอยุธยาอีกหลายครั้งแต่ก็ล้มเหลว จนปี พ.ศ. 2133 เม่ือสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสวรรคต สมเด็จพระนเรศวรจึงขึ้นครองราชย์ สร้างให้กรุงศรีอยุธยาให้กลับมารุ่งเรืองอีกคร้ัง การเสยี กรุงครง้ั ท่ี 1 เรียกวา่ สงครามชา้ งเผอื ก 4
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชกระทายทุ ธหตั ถกี บั สมเด็จพระมหาอปุ ราชา นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนเรศวรเป็นต้นมา กรุงศรีอยุธยามีสงคราม ภายในแย่งชิงราชบัลลังก์กันอีกหลายครั้ง มีการผลัดเปล่ียนราชวงศ์ จากสุโขทัยเป็นราชวงศ์ปราสาททอง และราชวงศ์บ้านพลูหลวง แต่ไม่เคยพ่ายแพ้ในสงครามครั้งใหญ่อีกเลย เป็นอาณาจักรท่ีเจริญรุ่งเรืองทุกด้านเร่ือยมา กระทั่งถึงคราวเสียกรุงคร้ังท่ี 2 กษัตริย์พระองค์สุดท้าย องค์ท่ี 33 ของกรุงศรีอยุธยาคือพระเจ้าเอกทัศ หรือสมเด็จพระที่น่ังสุริยาศน์อัม รินทร์ ทรงข้ึนครองราชย์เม่ือปี พ.ศ. 2301 ต่อมาในปี พ.ศ. 2308 จึงเริ่มถูกรุกรานจากพม่า พอถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2310 หลังจากถูกล้อมกรุงมาเป็นเวลานาน ทหารพม่าก็ยกพลเข้ามาภายใน กรุงศรีอยุธยาสาเร็จ บ้านเมืองถูกทาลายอย่างหนัก ถือเป็นอันส้ินสุด ความย่ิงใหญ่ยาวนานกว่า 417 ปี ไว้เพียงเท่าน้ัน 5
กรุงธนบรุ ี สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ หลังการเสียกรุงครั้งท่ี 2 พระยาตากรวบรวมกาลังพลจาก เมืองรอบนอกโดยเฉพาะท่ีจันทบูร ตราด และธนบุรี กลับมาตีกรุงศรี อยุธยาขับไล่กาลังพลพม่าออกไปสาเร็จ ทว่าด้วยสภาพเมืองเสียหาย อย่างหนัก ทาให้พระยาตากเลือกที่ม่ันสร้างเมืองใหม่ ปราบดาภิเษก เป็นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือ สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 สถาปนากรุงธนบุรีข้ึนเป็นราชธานี เม่ือสมเด็จพระเจ้าจากสินเสด็จสวรรคต พระยาจักรีจึงปราบดาภิเษก เป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และสถาปนากรุงเทพมหานคร ข้ึนเป็นราชธานี เมื่อปี พ.ศ. 2325 ถือเป็นการเร่ิมต้นยุคกรุงรัตนโกสินทร์นั่นเอง พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้ าจฬุ าโลก 6
หลังการเข้าสู่ยุคกรุงรัตนโกสินทร์ อยุธยาหรือเมืองกรุงเก่า มีสถานะเป็นหัวเมืองจัตวา พอถึงรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพร-ะ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2438 ซ่ึงมีการปรับเปลี่ยนการปกครอง ใหม่เป็นรูปแบบมณฑลเทศาภิบาลจึงเกิดเป็นมณฑลกรุงเก่า ประกอบด้วย อยุธยา อ่างทอง สระบุรี พระพุทธบาท ลพบุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี และสิงห์บุรี เม่ือเข้าสู่ยุคเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การปกครอง แบบมณฑลถูกยกเลิก อยุธยาจึงกลายเป็นจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันมีเขตการปกครอง 16 อาเภอ ถือเป็นจังหวัดสาคัญทางด้านเศรษฐกิจในภาคกลาง ขณะที่บริเวณเมืองเก่าหรือท่ีตั้งเดิมของศูนย์กลางอาณาจักร กรุงศรีอยุธยาได้รับการข้ึนทะเบียนเป็นมรดกโลก ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา 7
การเกดิ ข้ึนของ อาณาจักรอยุธยา การเกิดข้ึนของเมืองอโยธยา โดยท่ัวไปมักจะเช่ือกันว่า เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 1893 (ปลายพุทธศตวรรษท่ี 19) โดยพระเจ้าอู่ทอง หรือสมเด็จพระ รามาธิบดีท่ี 1 ทรงอพยพผู้คนมาหนีโรคระบาดจากเมืองอู่ทอง (ในจังหวัด สุพรรณบุรี) มาตั้งเมืองใหม่อยู่บริเวณริมหนองโสน อย่างไรก็ตาม การศึกษาทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีในปัจจุบันพบว่าเมืองอู่ทองมี สภาพท่ีถูกท้ิงร้างไปก่อนหน้าน้ีแล้ว ดังนั้นพระเจ้าอู่ทองจึงไม่ได้อพยพมา จากเมืองอู่ทองในเขตเมืองสุพรรณบุรี ขณะเดียวกัน อ.มานิต วัลลิโภดม และอ.ศรีศักร วัลลิโภดม ได้เสนอเร่ือง การดารงอยู่ของเมืองอโยธยา ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 18 จากการศึกษาหลากหลายแขนงวิชาและนามา บูรณาการ อาทิ ภาพถ่ายทางอากาศ แผนท่ี เอกสารตานาน จารึกและ พงศาวดาร รวมทั้งการเดินเท้าสารวจในพื้นท่ีทางทิศตะวันออกของเกาะ เมืองอยุธยา โดยเน้นท่ีเร่ืองของภูมิวัฒนธรรม (cultural landscape) เป็น ส่ิงสาคัญ ผลการศึกษาพบว่า 8
1ประการท่ี ภายหลังการสิ้นสุดของรัฐศรีวิชัยซ่ึงซ่ึงเป็นรัฐชายฝ่ังทะเลบน คาบสมุทรมลายูเสื่อมลง ในพื้นที่ประเทศไทยได้เกิดบ้านเมืองขึ้นมา หลายแห่ง เช่น ล้านนา สุโขทัย อโยธยา สุพรรณบุรี เพชรบุรี ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ระยะน้ีเองท่ีกล่าวได้ว่าดินแดนแห่งนี้เป็น กลุ่มวัฒนธรรมสยามประเทศ หรือ สยามเทศะ มีลักษณะท่ีต่าง ออกไปจากกลุ่มวัฒนธรรมก่อนหน้าน้ีในช่วงพุทธศตวรรษที่ 14 คือกัมพูชาเทศะ หลักฐานสาคัญที่บ่งบอกถึงการดารงอยู่ของชาว สยามในช่วงเวลานี้คือจดหมายราชวงศ์ ซ่ง หยวนและหมิง ตามลาดับ กล่าวถึงกลุ่มชาวเสียมก๊ก (กลุ่มคนทางสุพรรณบุรี) และหลอก๊ก (กลุ่มคนทางละโว้) ความเคลื่อนไหวในพื้นที่ลุ่ม เจ้าพระยาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18-19 ปรากฏให้เห็นว่าบ้านเมือง ต่างมีความสัมพันธ์กันและกัน ท้ังความสัมพันธ์ในกลุ่มเดียวกัน อันนาไปสู่ระบบเมืองคู่ที่มีความชัดเจน เช่น เมืองสุพรรณบุรีกับ เมืองแพรกศรีราชา และเมืองละโว้กับเมืองอโยธยา ความสัมพันธ์ ในกลุ่มเมืองเดียวกันน้ียังพบได้ในพื้นท่ีอ่ืนเช่น เมืองสุโขทัยกับเมือง ศรีสัชนาลัย หรือ เมืองหริภุญชัยกับเมืองเขลางค์นคร(ลาปาง) เป็นต้น ขณะท่ีความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม เช่น การดองเครือญาติ กันระหว่างราชวงศ์อู่ทองกับราชวงศ์สุพรรณภูมิจนเกิดเป็น เมืองอโยธยาขึ้นมา 9
2ประการที่ เมืองอโยธยาเป็นเมืองที่ต้ังอยู่ในลุ่มน้าป่าสักตอนล่าง โดยตั้งอยู่บน พ้ืนที่ดอน ลักษณะเป็นเมืองในผังสี่เหล่ียมผืนผ้าเช่นเดียวกับ เมืองสุพรรณบุรีและราชบุรี ท่ีเป็นเกิดขึ้นเป็นบ้านเมืองในช่วง พุทธศตวรรษท่ี 18 รอบนอกและภายในเมืองอโยธยาล้อมรอบด้วย ลาน้าสายต่างๆ เช่น คลองหันตรา(ลาน้าป่าสักเก่า)ไหลจากทิศเหนือ ไปออกทางทิศตะวันออกของเมืองบริเวณทุ่งพระอุทัย คลองคูข่ือหน้า (ลาน้าป่าสักปัจจุบัน) สันนิษฐานว่าเป็นคลองขุดทางทิศตะวันตก ของเมือง, คลองแม่เบี้ยหรือคลองสวนพลูทางทิศใต้ของเมืองกลาง เมืองมีคลองบ้านบาตรหรือคลองข้าวเม่า ภายในเมืองพบโบราณสถาน ขนาดใหญ่ส่วนใหญ่ต้ังเรียงกันในแนวทิศเหนือ-ใต้ มีพระเจดีย์เป็นประธาน เช่นวัดอโยธยา, วัดจักรวรรด์ิ, วัดกุฎีดาว, วัดสามปลื้ม วัดใหญ่ชัยมงคล ฯลฯ นอกจากน้ีวัดบางแห่งยังมีหลักฐาน ลายลักษณ์อักษรระบุถึงการสร้างขึ้นก่อนปี พ.ศ. 1893 เช่น วัดพนัญเชิงวรวิหาร จากหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ิระบุว่าสร้างก่อนกรุงศรีอยุธยา 26 ปี ย่ิงไปกว่านั้นด้านทิศใต้จากการศึกษาของ อ.ศรีศักร วัลลิโภดม พบว่ามีพื้นที่สี่เหลี่ยมเล็กๆและมีคูน้าล้อมรอบจึงสันนิษฐานว่า เป็นตาแหน่งที่ตั้งของพระราชวัง 10
3ประการท่ี ช่ือเมือง “อโยธยา” เป็นชื่อเดียวกับ “อยุธยา” และพบว่าปรากฏช่ือใน จารึกช่วงต้นของกรุงศรีอยุธยาเช่นจารึกวัดส่องคบ พ.ศ. 1951 มี ข้อความว่า “ศรีอโยธยา” และคาว่า อโยธยายังปรากฏอยู่ในตานาน มูลศาสนาของทางล้านนาด้วยเช่นกัน ขณะท่ีชื่อ “อยุธยา” ปรากฏอยู่ ในโครงกาสรวลสมุทรซึ่งแต่งขึ้นในช่วงต้นกรุงศรีอยุธยาด้วยเช่นกัน ถัดมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 21 ยังคงปรากฏคาว่า “อโยธยา” ในเน้ือหาลิลิตยวนพ่าย เป็นต้น ดังน้ันเมืองอโยธยาในระยะเร่ิมแรก (พุทธศตวรรรษท่ี 18-19) จึงเป็นเมืองท่ีมีความสัมพันธ์ควบคู่กับ เมืองละโว้ โดยเป็นเมืองท่าท่ีรองรับกับการค้าก่อนเดินทางมาสู่ เมืองละโว้ จากอ่าวไทยจะผ่านบริเวณเกาะพระข้ึนมาจนถึง เมืองอโยธยาและมีลาน้าที่สามารถไปถึงเมืองละโว้ได้คือ ลาน้าหนองกระแชงหรือลาน้าโพธิ์ ซ่ึงเส้นทางนี้จะผ่านเมืองอู่ตะเภา และขีดขิน จนถึงละโว้ตามลาดับ ระหว่างเส้นทางมีวัดขนอนตั้งอยู่ บริเวณแยกลาน้าโพธ์ิกับล้าน้ากรด อันสะท้อนให้เห้นว่าเส้นทางน้ีเป็น เส้นทางท่ีมีด่านเก็บภาษีอากรอีกด้วย และในเวลาต่อมาเม่ือมีการสร้าง เมืองใหม่ข้ึนบริเวณพ้ืนที่หนองโสน (หรือบึงพระรามในปัจจุบัน) จากสภาพภูมิศาสตร์ท่ีมีลาน้าหลายสายล้อมรอบเมืองได้แก่ แม่น้าน้อย แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าลพบุรีและแม่น้าป่าสัก ยิ่งทาให้เมืองอโยธยาหรืออยุธยากลายเป็นเมืองท่าการค้า ท่ีมีขนาดใหญ่มากขึ้นจนกระทั่งเป็นรัฐศูนย์กลาง ในลุ่มเจ้าพระยาในที่สุด 11
การปกครองใน อาณาจักรอยธุ ยา ระบอบการปกครองในสมัยอยุธยาเป็นระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ อานาจอธิปไตยอยู่ที่พระมหากษัตริย์เพียง พระองค์เดียว เหมือนกับสมัยสุโขทัย แต่แนวความคิดเกี่ยวกับ พระมหากษัตริย์ได้เปล่ียนแปลงไปตามคติพราหมณ์ซ่ึงพวกขอม นามา โดยถือว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ท่ีได้รับอานาจจาก สวรรค์ตามแนวความคิดแบบลัทธิเทวสิทธิ์ ลักษณะการปกครอง แบบเทวสิทธิ์น้ีถือว่า พระมหากษัตริย์เป็นเสมือนเจ้าชีวิต นอกจาก จะมีพระราชอานาจเด็ดขาด สามารถกาหนดชะตาชีวิตของผู้อยู่ใต้ ปกครองแล้ว ยังถือว่าอานาจในการปกครองน้ันพระมหากษัตริย์ ทรงได้รับจากสวรรค์ หรือเป็นไปตามเทวโองการ การกระทา ของพระมหากษัตริย์ถือเป็นความต้องการของพระเจ้า พระมหากษัตริย์ทรงเป็นเหมือนสมมุติเทพ หรือพระเจ้า หรือผู้แทนพระเจ้า เพราะฉะน้ันพระมหากษัตริย์ตามแนวความคิด แบบเทวสิทธิ์จึงทรงอานาจสูงสุดล้นพ้น ลักษณะการปกครองเป็น แบบนายปกครองบ่าว หรือเจ้าปกครองข้า 12
ความสมั พันธก์ ับต่างประเทศ ของอาณาจักรอยธุ ยา ราชทูตไทยท่ถี ูกสง่ ไปเขา้ เฝ้ า อยุธยามีการติดต่อสัมพันธ์กับ พระเจา้ หลยุ สท์ ่ี 14 เม่ือ พ.ศ. 2229 ต่างประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยาและ ประเทศเพื่อนบ้านได้แก่ พม่า มอญ เขมร ลาว ญวน และมลายู ส่วนมากเก่ียวข้องกันทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการค้า ในฐานะบ้านพี่เมืองน้อง เครือญาติ หรือเมืองประเทศราช ซึ่งบ้างคร้ัง ก็เกิดสงครามแย่งชิงความเป็นใหญ่ เหนือแผ่นดินของกันและกัน โดยมีพม่าเป็นคู่สงครามที่สาคัญ ของอยุธยามาโดยตลอด ความสัมพันธ์กับประเทศในเอเชียอ่ืน ๆ เช่น จีน ญี่ปุ่น อินเดีย และ เปอร์เซีย มักเกี่ยวข้องในด้านวัฒนธรรมและการค้า โดยเฉพาะ อย่างยิ่งชาวจีนและชาวเปอร์เซีย ได้เข้ามารับราชการในกรมคลัง ดูแลเร่ืองการค้าขายกับต่างประเทศให้ราชสานักอยุธยา สาหรับประเทศทางยุโรปน้ัน อยุธยาติดต่อกับโปรตุเกสเป็นชาติ แรกในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ ราวกลางพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ หลังจากน้ันก็มีชาวตะวันตกชาติอ่ืนตามเข้ามาได้แก่ สเปน ฮอลันดา อังกฤษ และฝร่ั งเศส เป็นต้น การเข้ ามาของชาวตะวั นตกมี จุดมุ่งหมายเพื่อการค้าและการเผยแผ่ศาสนาคริสต์ แต่บางคร้ังก็ กระทบต่ออธิปไตยของอยุธยาบ้าง พระมหากษัตริย์อยุธยาจึงทรง ระมัดระวังในการดาเนินนโยบายทางด้านการต่างประเทศ และทรง ผูกมิตรกับทุกชาติเพื่อให้มีการคานอานาจซึ่งกันและกัน 13
นอกจากผลดีด้านเศรษฐกิจแล้ว การติดต่อกับประเทศ ตะวันตกทาให้อยุธยาได้เรียนรู้วิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่นทางด้านการทหาร การสร้างป้อมและกาแพงเมือง การใช้ปืน ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ การประปา การจัดสวน และการก่อสร้างแบบยุโรป โดยชาวตะวันตกบาง กลุ่มได้เข้ามารับราชการในราชสานักอยุธยาด้วย ความสมั พนั ธร์ ะหว่างอยุธยากับรฐั เพอ่ื นบ้าน 1. อาณาจักรสุโขทัย อยุธยามีการทาสงครามหลายคร้ัง เพ่ือยึดครองอาณาจักรสุโขทัย 2. อาณาจักรล้านนา (เชียงใหม่) อยุธยามีความพยายามใน การขยายอานาจไปยังอาณาจักรล้านนาหลายคร้ัง 3. อาณาจักรมอญ มีอาณาเขตติดต่อกับอยุธยาทาให้มอญมี ลักษณะเป็นรัฐกันชน ระหว่างไทยกับพม่า 4. อาณาจักรพม่า พม่าและไทยผลัดกันเข้ายึดครองประเทศ ราช เม่ือฝ่ายใดยึดได้อีกฝ่ายก็จะตีเอาคืน เช่น ล้านช้าง ล้านนา หัว เมืองมอญ สงครามระหว่างไทยกับพม่าเกิดข้ึนหลายครั้งและ ยืดเยื้อจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น 5 . อ า ณ า จั ก ร ล้ า น ช้ า ง ( ล า ว ) อ า ณ า จั ก ร อ ยุ ธ ย า แ ล ะ อาณาจักรล้านช้างมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน หลักฐานคือ พระ ธาตุศรีสองรักท่ีอาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 6. อาณาจักรเขมร ทางด้านการเมือง เขมรเป็นประเทศราชของ อยุธยา 7. หัวเมืองมลายู เน้นท่ีผลประโยชน์ทางการค้า อยุธยา ต้องการยึดครอง จึงส่งกองทัพไปตีมะละกาในสมัยสมเด็จพระ อินทราชา สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 และสมเด็จพระบรมไตร โลกนาถ ทาให้มะละกากลายเป็นเมืองขึ้นของอยุธยา ต่อมาอยู่ ภายใต้การยึดครองโปรตุเกส 14
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอยธุ ยากบั รฐั ในเอเชียตะวนั ออก 1. จีน ดาเนินความสัมพันธ์กับจีนในระบบบรรณาการหรือ จิ้มก้อง พระมหากษัตริย์จึงส่งคณะทูตและเครื่องบรรณาการ ไปจีน เพื่อให้จีนรับรองในฐานะของพระมหากษัตริย์ อยุธยาใช้ความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการเพ่ือผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจเป็นหลัก โดยการส่งบรรณาการให้แก่จีนน้ัน ถือ เป็นการเปิดช่องทางการค้า 2. ญ่ีปุ่น ชาวญ่ีปุ่นมาต้ังหลักแหล่งในอยุธยาจานวนมาก และยามาดา นางามาซา หนึ่งในชาวญ่ีปุ่นท่ีได้รับราชการใน ราชสานักและได้รับบรรดาศักด์ิเป็นออกญาเสนาภิมุข ในสมัย สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม 15
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งอยุธยากับชาตติ ะวันตก 1. โปรตุเกส เป็นชาติตะวันตกชาติแรกท่ีติดต่อกับอยุธยา จาก ก า ร ท่ี โ ป ร ตุ เ ก ส ไ ด้ ยึ ด เ มื อ ง ม ะ ล ะ ก า จึ ง ท า ใ ห้ ไ ด้ ติ ด ต่ อ เ จ ริ ญ สัมพันธไมตรี 2. สเปน สเปนกับไทยติดต่อทางการค้า แต่สาเภาไทยที่เดินทาง ไปสเปนไม่ได้รับการต้อนรับและถูกขัดขวาง พ่อค้าไทยจึงเลิกส่งเรือ ไปค้าขายท่ีสเปน ทาให้การค้ากับสเปนชะลอตัวลง 3. ฮอลันดา หรือดัตช์ แข่งขันทางการค้ากับโปรตุเกส พระเจ้า ทรงธรรม ทาสัญญาการค้ากับฮอลันดา โดยให้สิทธิพิเศษแก่ ฮอลันดาในการซ้ือหนังสัตว์จากไทย ทาให้โปรตุเกสและอังกฤษไม่ พอใจพระนารายณ์ผูกมิตรกับฝรั่งเศสเพ่ือถ่วงดุลอานาจฮอลันดา ความสัมพันธ์จึงย่ิงเสื่อมลงจนถึงส้ินสมัยอยุธยา 4. อังกฤษ อังกฤษต้องการค้าขายแข่งกับฮอลันดาและโปรตุเกส แต่ไม่ประสบผลสาเร็จจึงยกเลิกสถานีการค้าท่ีอยุธยาใน พ.ศ. 2166 แต่อยุธยากับอังกฤษเริ่มมีความสัมพันธ์อีกคร้ังในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช เพราะต้องการให้อังกฤษถ่วงดุลอานาจกับ ฮอลันดา 5. ฝร่ังเศส เป็นชาติตะวันตกชาติสุดท้ายที่เข้ามาติดต่อกับ อยุธยา โดยติดต่ออย่างเป็นทางการในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช เพื่อต้องการถ่วงดุลกับฮอลันดา 16
อยุธยาในปจั จุบนั ... ความรุ่งเรืองของอยุธยามีหลักฐานปรากฏให้เห็นไม่ว่าจะ เป็นระเบียบผังเมืองซากวัดและวัง ตลอดจนคติความเชื่อ ในด้านต่างๆ ก่อนจะล่มสลายไป และได้รับการสืบมรดก ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในบางด้านโดยกรุง ธนบุรีและกรุงเทพฯ 17
ปัจจุบันราชธานีของราชอาจักรอยุธยานั้น อยู่ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางเหนือ 76 กิโลเมตร ยังคงปรากฏร่องรอยซาก โบราณสถานท่ีบ่งบอกถึงอารยธรรมและควาเจริญรุ่งเรือง ของกรุงศรีอยุธยา จนได้รับการข้ึนทะเบียนเป็น มรดกโลกเมื่อปีพ.ศ. 2534 18
บรรณานุกรม Go.Ayutthaya. ประวัติศาสตร์อยุธยา.สืบค้นเม่ือ 16 เมษายน 2565.จากhttps://go.ayutthaya.go.th ทีมงานทรูปลูกปัญญา.(2565). บทเรียนออนไลน์ วิชาสังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศสมัยอยุธยา.สืบค้นเมื่อ 16 เมษายน 2565.จาก https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31347 พนมกร นวเสลา.(2561). อโยธยาศรีรามเทพนคร.สืบค้น เม่ือ 16 เมษายน 2565.จาก https://lek- prapai.org/home/view.php?id=5379 ____. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย : สมัย อยุธยา.สืบค้นเมื่อ 16 เมษายน 2565.จาก http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/pol/34. htm สมฤทัย แสนมานิตย์.นครประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา. . สืบค้นเม่ือ 16 เมษายน 2565.จาก https://somruethai96.wordpress.com _____. อาณาจักรอยุธยา. สืบค้นเม่ือ 16 เมษายน 2565. จาก https://kungwal066.wordpress.com/ 19
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: