Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5

การปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5

Description: การปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

Search

Read the Text Version

หนังสือ E-book เล่มน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของรายวิชา ประวตั ิศาสตร์ โดยมจี ดุ ประสงคใ์ นการท่จี ะศึกษาเก่ียวกบั การปฏริ ูปประเทศในสมยั รชั กาลท่ี 5 ผูจ้ ดั ทาหวงั เป็ นอย่างย่ิงว่า E-book เล่มน้ีจะเป็ น ประโยชนต์ ่อผูท้ ส่ี นใจในเรอ่ื งการปฏริ ูปประเทศสมยั รชั กาลท่ี 5 และหากมจี ดุ บกพร่อง ผดิ พลาดประการใดตอ้ งขออภยั มา ณ ทน่ี ้ีดว้ ย ผูจ้ ดั ทา สรลั พชั ร จนั ทรแ์ กว้

เร่อื ง หนา้ สง่ิ ทร่ี ชั กาลท่ี 5 ปฏริ ูปมอี ะไรบา้ ง 1 สาเหตขุ องการปฏริ ูป 2 พฒั นาการดา้ นการเมอื งการปกครอง 3 พฒั นาการดา้ นกฎหมายและศาล 6 พฒั นาการดา้ นสงั คม 7 พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ 14 พฒั นาการดา้ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ 15 บรรณานุกรม 20

สิ่งท่ีรัชกาลท่ี 5 ปฏิรูปประเทศ 1 ?มีอะไรบ้าง รถไฟ กฎหมาย ประปา โรงเรยี น ไฟฟ้า ถนน ธนบตั ร ธนาคาร รถยนต์

2 ?สาเหตขุ องการปฏริ ปู ความมนั่ คงภายใน ความมนั่ คงภายนอก ขนุ นางมอี านาจมาก ชาตติ ะวนั ตกลา่ อาณานิคม ทาใหเ้ป็นอปุ สรรค ต่อการพฒั นาเพราะ อา้ งว่าจะเขา้ มา พฒั นาประเทศทล่ี า้ ขนุ นางจะเสยี ผลประโยชน์ หลงั

3 พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง ▪ สมยั รชั กาลท่ี ๔ อานาจทางการเมอื งข้ึนอยูก่ บั ตระกูลบนุ นาค ▪ สมัยรชั กาลท่ี ๕ ทรงพยายามลดอานาจขุนนางตระกูล บุนนาคทาให้อานาจของพระองค์มากขน้ึ ▪ สมัยรัชกาลท่ี ๔ ทรงเร่ิมเปลี่ยนแปลงธรรมเนียมที่ ล้าสมยั รวมทั้งการตดิ ตอ่ กบั ชาต่างชาติ ▪ สมยั รัชกาลท่ี ๕ ทรงตง้ั สภาทป่ี รกึ ษา ๒ สภา คือ สภาท่ีปรกึ ษาราชการแผ่นดนิ สภาท่ีปรึกษาในพระองค์ รฐั มนตรสี ภา องคมนตรสี ภา ทาหนา้ ท่ใี หค้ าปรกึ ษาเกย่ี วกบั การ ทำหน้ำทใ่ี ห้คำปรึกษำ บรหิ ารประเทศและการออกกฎหมาย ส่วนพระองค์

กระทรวงธรรมการ 4 กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงยุทธนาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรพานิชการ กระทรวงยุตธิ รรม กระทรวงมรุ ธาธร กระทรวงกลาโหม กระทรวงวงั กระทรวงนครบาล กระทรวงโยธาธกิ าร กระทรวงพระคลงั มหาสมบตั ิ โดยเพม่ิ หน่วยงานจาก ๖ กรม เป็น ๑๒ กรม ต่อมาทง้ั ๑๒ กรม เปลย่ี นเป็น ๑๒ กระทรวง ซง่ึ เป็นรากฐานของ กระทรวงต่างๆ ในปจั จบุ นั ซง่ึ ปฏริ ูปการบริหารราชการแผน่ ดนิ ใหมใ่ นวนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๕ หลงั จากทรงทดลองมา ๔ ปี โดยแบ่งเป็น ๑๒ กระทรวง ไดแ้ ก่

5 ทรงยกเลกิ ระบบกนิ เมือง และ ยกเลกิ หวั เมืองชน้ั เอก โท ตรีและจตั วา โดยใหเ้มอื งทงั้ หลายรวมเป็น มณฑลเทศาภบิ าล กระทรวงมหาดไทย ดูแลโดย เสนาบดี มณฑล ดูแลโดย สมหุ เทศาภบิ าล เมือง ดูแลโดย เจา้ เมือง อาเภอ ดูแลโดย นายอาเภอ ตาบล ดูแลโดย กานัน หมู่บา้ น ดูแลโดย ผูใ้ หญบ่ า้ น

6 พัฒนาการด้านกฎหมายและศาล • ปฏริ ูปกฎหมายและการศาลใหเ้ป็นแบบตะวนั ตก เพ่อื ยกเลกิ สนธิสญั ญาท่ไี มเ่ ป็น ธรรมและสทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขต • แยกกจิ ของศาล ออกจากการบรหิ าร • ตงั้ กระทรวงยตุ ธิ รรมเพอ่ื ดูแลงานดา้ นการศาล • ตงั้ โรงเรียนกฎหมาย จา้ งนกั กฎหมายชาวต่างชาติมาช่วยร่างประมวลกฎหมาย ตามแบบตะวนั ตก • พระเจา้ ลูกยาเธอ กรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธ์ิ เป็นแกนนาสาคญั ในการปฏิรูป กฎหมาย พระเจำ้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงรำชบุรดี เิ รกฤทธ์ิ ทรงเปน็ เสนาบดกี ระทรวงยุตธิ รรมในรชั สมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง ดาเนินการปฏริ ูปศาลไทย โดยปรับปรงุ ให้ศาลมีอิสระใน การพจิ ารณาพิพากษาคดี พระกรณียกิจในการปฏริ ปู ระบบกฎหมายและการศาล ทาใหท้ รงได้รบั ยกยอ่ งวา่ เปน็ “พระบิดำแหง่ กฎหมำยไทย”

7 พัฒนาการด้านสังคม • รชั กาลท่ี ๕ ทรงดาเนินการเลกิ ทาสใน พ.ศ. ๒๔๑๗ แต่ใหม้ ีผล ยอ้ นหลงั ไปถงึ พ.ศ.๒๔๑๑ • พ.ศ.๒๔๘๘ ทรงประกาศยกเลกิ ระบบทาสในไทย หา้ มผูเ้ ป็นไทขาย ตวั เป็นทาสอกี ต่อไป • สว่ นผูเ้ป็นทาสใหล้ ดค่าตวั ลงเดอื นละ ๔ บาท จนหมดค่าตวั หรือหมด หน้ี • รัชกาลที่ ๕ ทรงเลิกไพร่โดยเร่ิมจากการกาหนดว่าชายฉกรรจ์ท่ี ถกู สกั ขึน้ ทะเบียนตอ้ งมีอายุ ๑๘ ปี • หา้ มเกณฑ์แรงงานราษฎร เปลยี่ นเปน็ ใหจ้ า้ งแทน • กาหนดให้ผู้ชายอายุ ๑๘ ปี เป็นทหาร ๒ ปี แล้วไม่ต้องรับ ราชการ (เข้าเดือน) อีกต่อไป • ผู้ทไี่ มเ่ ป็นทหารให้เสยี เงินคา่ ราชการไมเ่ กนิ ๖ บาทต่อปี • ระบบไพร่ส้ินสุดลง ไพร่มีสถานะเป็นราษฎรท่ีมีอิสระในการต้ัง ถิ่นฐานและประกอบอาชพี

8 คอื บคุ คลทไ่ี มม่ อี สิ ระในแรงงาน และชวี ติ ของ ตนเอง มหี นา้ ทใ่ี ชแ้ รงงาน และทาตามทน่ี ายทาสสงั่ ใหท้ า โดยแบง่ ได้ 7 ประเภท ดงั น้ี

9 คือ สามญั ชนหรือประชาชนทวั่ ไป มหี นา้ ท่ใี ช้ แรงงานใหก้ บั ราชการ ปีละ 3-6 เดอื น ไพรห่ ลวง ไพรส่ ม ไพร่ทส่ี งั กดั ไพร่ทก่ี ษตั รยิ ม์ อบใหแ้ ก่ พระมหากษตั รยิ ์ ขนุ นางสมสมไวใ้ ชง้ าน คอยช่วยงานราชการ ไพรส่ ว่ ย ไพร่ทจ่ี ่ายส่วยแทนการถูก ใชแ้ รงงาน

10

11

12 รฐั เกบ็ ภาษไี ดโ้ ดยตรง ไม่ตอ้ งผา่ นขนุ นาง สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ มอี านาจมากข้นึ ไพร่ ทาสมอี สิ ระ เศรษฐกิจขยายตัว กลายเป็นแรงงานเสรี อย่างรวดเรว็

13 • รชั กาลท่ี ๕ โปรดเกลา้ ฯ ใหต้ งั้ โรงเรยี นสอนหนงั สอื ข้นึ • ทรงจดั ระบบการศึกษาแผนใหมแ่ บบตะวนั ตก • ตงั้ โรงเรยี นหลวงสาหรบั ลูกขนุ นาง และราษฎร - ตงั้ โรงเรียนหลวง คือ โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก (ปจั จบุ นั คอื โรงเรยี นสวนกหุ ลาบฯ) - ตงั้ โรงเรยี นราษฎรแห่งแรกคอื โรงเรยี นวดั มหรรณพาราม • ทรงตงั้ กระทรวงธรรมการดูแลเรอ่ื งศาสนาและการศึกษา • รชั กาลท่ี ๖ โปรดเกลา้ ฯ ใหม้ กี ารศึกษาภาคบงั คบั ๔ ปี • ยกเลิกประเพณีหมอบคลาน เช่น การหมอบคลานเม่ือเขา้ เฝ้ า เปลย่ี นเป็นการเดนิ การหมอบกราบเปลย่ี นเป็นกม้ ศีรษะ ถวายคานบั เป็นตน้ • ยกเลกิ ทรงผมมหาดไทยและใหไ้ วท้ รงผมรองทรง • ยกเลกิ การนุ่งโจงกระเบน • ยกเลกิ ตาแหน่งวงั หนา้ แทนท่ดี ว้ ยตาแหน่ง สมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราชสยามมกฎุ ราชกมุ าร

14 พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ • พ.ศ.2416 ตง้ั หอรษั ฎากรพพิ ฒั นเ์ พอ่ื รวบรวมภาษมี าใหท้ ่เี ดยี ว • จดั ทางบประมาณแผน่ ดนิ ประจาปีข้นึ ครง้ั แรก • ตงั้ พระคลงั ขา้ งทเ่ี พอ่ื แยกเงนิ สว่ นพระองคก์ บั เงนิ แผน่ ดนิ • เปลย่ี นระบบเงนิ ตราใหม่ คอื บาท , สตางค์ • อนุญาตใหอ้ งั กฤษตง้ั ธนาคารฮ่องกงเซย่ี งไฮ้ • ธนาคารแห่งแรกของคนไทยคือ แบงกส์ ยามกมั มาจล ปจั จบุ นั คือ ธนาคารไทยพาณิชย์ • มกี ารสรา้ งถนน , รถราง , ทางรถไฟ (เสน้ ทางแรก คือ กรุงเทพฯ – นครราชศรมี า) • มกี ารขดุ คูคลอง • จดั ระบบไปรษณียโ์ ทรเลข ไฟฟ้า ประปา และโรงพยาบาล

15 พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ • รชั กาลท่ี ๕ เสดจ็ ประพาสยุโรปถงึ ๒ ครงั้ เพอ่ื เจรจาและ หาพนั ธมติ รทจ่ี ะช่วยสนบั สนุนไทย

16 ประพาสหวั เมือง ประพาสตน้ เสดจ็ อย่างเป็นทางการ เสดจ็ ส่วนพระองค์ โดยไม่ มกี าหนดการชดั เจน มขี า้ ราชการ แสดงพระองคว์ า่ เป็นใคร เพอ่ื และราษฎรมารอรบั เสดจ็ ตอ้ งการพกั พระอริ ยิ าบถ ผลท่เี กดิ ข้ึน ไดป้ ระกอบพระราช ผลทเ่ี กดิ ข้ึน เหน็ ปญั หา กรณียกจิ และวา่ ราชการพฒั นา ความเดอื ดรอ้ นของราษฎร พรอ้ มสงั่ การช่วยเหลอื โดยทนั ที พ้นื ทต่ี ่าง ๆ

17 วนั ท่ี 7 เมษายน ถงึ วนั ท่ี 17 ธนั วาคม พ.ศ. 2440 ไดแ้ ก่ อิตาลี ออสเตรีย-ฮงั การี สวติ เซอรแ์ ลนด์ รสั เซยี สวเี ดน เดนมารก์ องั กฤษ เบลเยย่ี ม เยอรมณี เนเธอรแ์ ลนด์ ฝรงั่ เศส สเปน และโปรตุเกส เพ่ือทอดพระเนตรความเจริญของประเทศในยุโรปและแสวงหา พนั ธมติ ร รวมทงั้ เจรจากบั ฝรงั่ เศสทก่ี าลงั คกุ คามไทย

18

19 วนั ท่ี 27 มนี าคม ถงึ วนั ท่ี 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2450 ไดแ้ ก่ อติ าลี โมนาโก เยอรมณี สวติ เซอรแ์ ลนด์ องั กฤษ เดนมารก์ เบลเย่ียม ฝรงั่ เศสและนอรเ์ วย์ เพอ่ื รกั ษาพระอาการประชวร และทาสนธสิ ญั ญากบั ฝรงั่ เศส ร.ศ. 125 ผลทเ่ี กดิ ข้ึน พลานามยั ดขี ้นึ ทรงนาความเจรญิ ดา้ นต่าง ๆ มาพฒั นาปรบั ปรุงประเทศ ทรงแต่งตง้ั สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิ ราชเจา้ ฟ้าวชริ าวุธ สยามมกฎุ ราชกมุ ารเป็น ผูส้ าเรจ็ ราชการแทนและยงั ทรงมพี ระ ราชหตั ถเลขาช้นิ สาคญั คอื ไกลบา้ น ไกลบา้ น เป็นพระราชนิพนธล์ ายพระราชหตั ถเลขาในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั เม่อื ครง้ั เสดจ็ ประพาสยโุ รปครง้ั ท่ี 2 เม่อื ปี พ.ศ. 2450

20 DLTV13 Channel.(2563). การปฏิรูปการปกครอง บา้ นเมอื งในสมยั รชั กาลท่ี 5. สบื คน้ เมอ่ื 12 เมษายน 2565.จาก https://www.youtube.com/watch?v=bjOdKXhHDfI วชิ ยั เทยี นถาวร.(2561). การปกครองราชอาณาจกั รไทย สมยั กรุงรตั นโกสินทรย์ ุคกลาง : ในรชั กาลท่ี 5 (พ.ศ.2411- 2 4 5 3 ) . สื บ ค้น เ ม่ื อ 1 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 5 . จ า ก https://www.matichon.co.th/article/news_1000127 อนุสรณ์ ธรรมใจ.(2563). บทเรียนจากการปฏิรูปในสมยั รชั กาลท่ี 5 ถงึ การอภวิ ฒั น์ 2475.สบื คน้ เมอ่ื 12 เมษายน 2565. จาก https://pridi.or.th/th/content/2020/10/471


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook