Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore DDigestive systempdf

DDigestive systempdf

Published by faylovemom, 2020-02-23 23:07:09

Description: DDigestive systempdf

Search

Read the Text Version

ระบบย่อยอาหาร มนษุ ยร์ บั ประทานอาหารวันละหลายมื้อซึ่งความประกอบด้วยอาหารทีห่ ลากหลายเพ่ือให้ได้อาหารที่แตกตา่ งกัน และครบถว้ น เหมาะสมกบั ความจาเปน็ ของเซลล์ต่างๆ ในรา่ งกายท่ีตอ้ งการนาไปใช้ให้เพยี งพอกับการดารงชวี ิตในแต่ละวนั โดยอาหารเหล่านี้ส่วน ใหญ่ประกอบด้วยสารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และลิพิด สารอาหารเหล่าน้ีต้องมีการเปลี่ยนเป็น โมเลกลุ ขนาดเล็ก เชน่ มอนอแซก็ คาไรด์ กรดแอมโิ น กรดไขมัน และกลเี ซอรอล อาหารเปน็ สง่ิ ท่ีจาเปน็ สาหรับสง่ิ มีชีวิต สตั ว์กเ็ ชน่ เดยี วกัน ตอ้ งการอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน โดยท่งั ไปการย่อยอาหารของสัตว์มี หลายข้ันตอน เนอ่ื งจากอาหารแตล่ ะชนิดทที ง้ั คาร์โบไฮเดรต โปรตนี และลิพิด ซ่งึ เปน็ อาหารทแ่ี ตกต่างกนั จงึ จาเป็นตอ้ งใชเ้ อนไซม์มา ยอ่ ยแตกตา่ งกนั ในการยอ่ ยอาหารของสง่ิ มีชีวิตท้งั การยอ่ ยอาหารภายในเซลล์และภายนอกเซลล์ สิง่ มชี วี ติ บางชนิดปลอ่ ยเอนไซม์ออกมาย่อยอาหารภายนอกเซลล์ แล้วดดู ซงึ อาหารทยี่ ่อยเป็นโมเลกุลขนาดเล็กเขา้ สู่เซลล์ เชน่ รากที่ เจริญเติบโตท่ีวางท้ิงไว้เป็นระยะเวลานาน หรือเห็ดที่เจริญเติบโตบนขอนไม้เกิดการผุพัง ดังรูป 13.1 ซึ่งเห็ดราแต่ละชนิดต่างก็มี เอนไซมท์ ่สี ามารถย่อยสารต้ังตน้ ได้ต่างกัน เชน่ ราบนขนมปงั มีเอนไซมท์ ส่ี ามารถยอ่ ยแปง้ และน้าตาล ได้ สว่ นดหด็ มีเอนไซมท์ ่สี ามารถ ยอ่ ยเซลลโู ลสได้ ราบนขนมปงั ราบนสม้ ราบนเห็ดตา่ งๆ

ส่ิงมีชีวิตบางชนิดท่ีมีโครงสร้างไม่ซับซ้อนมีการย่อยอาหารภายในเซลล์โดยการสร้างเวสิเคิล เช่น อะมาบาและพาราทีเซียม ย่อยอาหารภายในฟูดแวคิวโอลซึ่งอาศัยเอนไซม์จากไลโซโซม โดยอะมีบานาอาหารเข้าสู่เซลล์โดยวิธีฟาโกไซซิส และพิโนไซโทซิส ส่วนพารามีเซียนใช้ซิเลียโบกพัดอาหารเข้าสู่เซลล์ท่ีบริเวณร่องปากเกิดเป็นฟูดแวคิวโอล เมื่อฟูดแวคิวโอลรวมกับไลโซโซม เอนไซม์ ในไลโซโซมจะย่อยอาหารให้มีขนาดเล็กลง และมกี ารลาเลยี งสารอาหารท่ยี ่อยได้ไปทั่งเซลล์ สว่ นกากอาหารในฟูดแวควิ โอมถูกกาจัด ออกนอกเซลลโ์ ดยฟูดแวคิวโอมจะเครอ่ื นไปใกล้เยื่อหุ้มเซลลแ์ ละปล่อยออกด้วยวธี ีเอกโซโซมโทซสิ 13.1 การยอ่ ยอาหารของสตั ว์ โครงสร้างในการย่อยอาหารของสัตว์ทาให้แบ่งสัตว์ได้เป็น 3กลุ่ม คือ สัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบไท่ สมบูรณ์ และสตั ว์ท่ีมที างเดินอาหารแบบสมบูรณ์ สตั ว์ทไ่ี ม่มีทางเดินอาหาร ฟองน้า (Sponge) เป็นสัตว์ในไฟลัมพอริเฟอรา ไม่มีปากและทวารหนักที่แท้จริง ทางเดินอาหารเป็นแบบร่างแห (Channel network) ซ่งึ ไม่ใช่ทางเดนิ อาหารที่แทจ้ ริง เปน็ เพยี งรูเปิดเล็กๆ ขา้ งลาตัว เรยี กว่า ออสเทีย (Ostia) ทาหน้าทเี่ ปน็ ทางน้าไหลเข้า สู่ลาตัวฟองน้าเป็นการนาอาหารเข้าสู่ลาตัว ส่วนรูเปิดด้านบนลาตัว เรียกว่า ออสคิวลัม (Osculum) ทาหน้าที่เป็นทางนา้ ออก ผนัง ด้านในมีเซลล์พิเศษ เรียกว่า เซลล์โคแอนโนไซต์ (Choanocyte) โบกพัดเซลล์อยู่ตลอดเวลา ทาให้เกิดการไหลเวยี นของอาหาร ตัว เซลลโ์ คแอนโนไซต์นาอาหารเข้าสูเ่ ซลลโ์ ดยฟาโกไซโทซีส (Phagocytosis)เกดิ เปน็ ฟดู แวคิวโอลและมีการย่อยอาหารภายในฟดู แวคิว โอลนอกจากนย้ี งั พบเซลล์ บริเวณใกลก้ ับเซลล์โคแอโนไซตม์ ีลักษณะคล้ายอะมีบา เรยี กว่า อะมโี บไซต์ (Amoebocyte) สามารถนา สารอินทรยี ข์ นาดเล็กเข้าสูเ่ ซลล์และยอ่ ยอาหารภายในเซลล์แลว้ ส่งอาหารท่ียอ่ ยแลว้ ไปยงั เซลล์อน่ื ได้

ภาพท่ี 13.2 แสดงโครงสรา้ งภายในของฟองน้า สตั ว์ท่ีมีทางเดินอาหารไมส่ มบรู ณ์ เปน็ ทางเดินอาหารทมี่ ีทางเปิดทางเดยี ว คือ มีปากแต่ไม่มีทวารหนกั ปากทาหนา้ ที่เป็นทางเข้าของอาหารและ ทางออกของกากอาหาร ระบบทางเดนิ อาหารยังไมพ่ ัฒนามากนกั ไฮดรา เป็นสตั ว์ในไฟลมั ไนดาเรยี มที างเดนิ อาหารเปน็ แบบปากถุง (One hole sac) ไฮดราใช้อวยั วะคลา้ ยหนวด เรียกวา่ หนวดจบั (Tentacle) ซง่ึ มีอย่รู อบปาก อาหารของไฮดราคอื ตัวอ่อนของกุ้ง ปู และไรนา้ เลก็ ๆ และใช้เซลล์ทม่ี เี นมาโท ซิสต์ (Nematocyst) หรอื เข็มพษิ ที่อยู่ทป่ี ลายหนวดจบั ในการลา่ เหย่ือ ตอ่ จากน้ันจงึ สง่ เหยอ่ื เข้าปาก ทางเดนิ อาหารของไฮดราอยู่ กลางลาตวั เปน็ ทอ่ กลวงเรยี กวา่ ชอ่ งแกสโตรวาสคิวลาร์ (Gastrovascular cavity) ซึ่งบดุ ว้ ยเซลล์ทรงสงู เรยี กวา่ ชนั้ แกสโตรโดร มิส (Gastrodermis) เป็นเย่อื ช้ันในบุชอ่ งวา่ งของลาตวั ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1. นิวทรทิ พิ เซลล์ (Nutritive cell) บางเซลล์มีแซ่ 2 เสน้ เรยี กว่า แฟลเจลเลตเซลล์ (Flagellate cell) บางเซลล์ คลา้ ยอะมีบา เรยี กวา่ อะมบี อยด์เซลล์ (Amoebiol cell) ทาหนา้ ทยี่ ื่นเทา้ เทียมออกมาล้อมจับอาหาร ส่วนแฟลเจลเลตเซลล์ มีหนา้ ท่ี โบกพัดใหเ้ กดิ การหมนุ เวยี นของน้าภายในช่องแกสโทรวาสควิ ลาร์ และโบกพัดใหก้ ากอาหารเคล่ือนที่ออกทางปากต่อไป 2. เซลลต์ อ่ มหรือเซลล์ยอ่ ยอาหาร (Gland cell or digestive cell) เป็นเซลล์ทส่ี รา้ งน้ายอ่ ยและปล่อยออกมา ซึ่งการ ย่อยอาหารโดยเซลลต์ ่อม จดั เป็นการย่อยอาหารแบบนอกเซลล์ ส่วนการย่อยโดยอะมบี อยดเ์ ซลล์จดั เปน็ การย่อยอาหารแบบภายใน เซลล์ ภาพที่ 2.2 แสดงชอ่ งว่างกลางลาตัวของไฮดรา

สตั วท์ ี่มที างเดินอาหารสมบูรณ์ หนอนตัวกลม เปน็ สัตวท์ ่ีอยใู่ นไฟลมั เนมาโทดา (Nematoda) มที างเดนิ อาหารเป็นแบบชอ่ งเปิด 2 ทาง หรือทอ่ กลวง (Two hole tube) มีคอหอยเปน็ กล้ามเนื้อหนาชว่ ยในการดดู อาหาร มีลาไส้ยาวตลอดลาตัว อาหารท่หี นอนตวั กลมกินเขา้ ไปจะถูก ยอ่ ยและดูดซมึ โดยลาไส้ ทางเดินอาหารของหนอนตวั กลมเรียงตามลาดับต่อไปนี้ ภาพที่ 2.7 แสดงทางเดินอาหารของหนอนตัวกลม มปี ากและทาวารหนัก

13.2 การย่อยอาหารของมนุษย์ อาหารทสี่ ิ่งมีชวี ติ บริโภคเขา้ ไป ไมว่ ่าจะเป็นชนิดใดกต็ าม จะนาเข้าสูเ่ ซลล์ได้กต็ ่อเม่ืออยใู่ นรูปของสารอาหารท่มี โี มเลกลุ ขนาดเล็ก คือ กรดอะมโิ น นา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ ว กลีเซอรอล และกรดไขมนั นนั่ กค็ ือ อาหาร โมเลกุลใหญท่ ่ีส่งิ มีชีวติ รบั ประทานเข้าไป จาเป็นต้องแปรสภาพให้มีขนาดเลก็ ลง การแปรสภาพของอาหารดังกล่าวเกดิ จากปฏิกิริยาเคมที ี่อาศยั การทางานของเอนไซมย์ อ่ ย อาหาร โดยทวั่ ไปเรยี กวา่ น้ายอ่ ย จากน้ันโมเลกลุ ของสารอาหารจะถูกดดู ซึมเข้าสูเ่ ซลล์ กระบวนการแปรสภาพอาหารท่มี ีโมเลกุล ใหญใ่ ห้มีโมเลกุลเล็กลง เรียกว่า การย่อยอาหาร (Digestion)

ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) ระบบยอ่ ยอาหารมหี นา้ ท่ียอ่ ยอาหารให้ละเอยี ด แล้วดดู ซึมผา่ นเขา้ สกู่ ระแสเลือดเพือ่ ไปเลีย้ งส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย การยอ่ ยอาหาร (Digestion) หมายถึง กระบวนการสลายอนุภาคอาหารให้มีขนาดเล็กสุด จนสามารถดูดซมึ เข้าไปในเซลล์ได้ เมือ่ มนุษยร์ บั ประทานอาหารเขา้ สู่ร่างกาย จะผา่ นระบบต่าง ๆ ดงั นี้ - ปาก - หลอดอาหาร - กระเพาะอาหาร - ลาไสเ้ ลก็ - ลาไส้ใหญ่ - ของเสียออกทางทวารหนัก ขนั้ ตอนการย่อยอาหาร การย่อยอาหารมี 2 ข้ันตอน การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) เป็นกระบวนการทาให้อาหารมีขนาดเล็กลง เพ่ือสะดวกต่อการเคลื่อนที่และการ เกดิ ปฏิกิรยิ าเคมตี ่อไป โดยการบดเคี้ยว รวมทง้ั การบบี ตวั ของทางเดินอาหาร ยังไมส่ ามารถทาให้อาหารมีขนาดเลก็ สุด จงึ ไมส่ ามารถ ดดู ซึมเข้าเซลลไ์ ด้ การยอ่ ยทางเคมี (Chemical digestion) เปน็ การย่อยอาหารให้มขี นาดเล็กทีส่ ุด โดยการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีระหวา่ ง อาหาร กับ น้า โดยตรง และจะใชเ้ อนไซมห์ รือน้าย่อยเขา้ เรง่ ปฏกิ ริ ยิ า ผลจากการยอ่ ยทางเคมีเมื่อถึงจุดสุดทา้ ย จะได้สารโมเลกุลเลก็ ทส่ี ดุ ทีส่ ามารถดดู ซึมเข้าสู่เซลล์ได้ ซงึ่ อาหารที่ต้องมีการย่อย ได้แก่ คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และไขมนั สว่ นเกลือแร่ และวติ ามนิ จะดูดซึมเขา้ ส่รู า่ งกายไดโ้ ดยตรง

อวัยวะที่ช่วยยอ่ ยอาหาร 1. ต่อมน้าลาย (Salivary Gland) ผลิตน้ายอ่ ยอะไมเลส (Amylase) หรอื ไทยาลิน (Ptyalin) ย่อยแปง้ ให้เปน็ น้าตาลมอลโทส 2. กระเพาะอาหาร (Stomach) ผลิต น้ายอ่ ยเพปซิน ย่อยโปรตนี ให้เป็นโปรตนี สายสน้ั (เพปไทด)์ และ น้าย่อยเรนนิน ย่อยโปรตนี ใน นมให้เป็นโปรตนี เปน็ ล่ิม ๆ 3. ลาไสเ้ ลก็ (Small Intestine) ผลิต น้ายอ่ ยมอลเทส ย่อยนา้ ตาลมอลโทสให้กลายเป็นน้าตาลกลโู คส นา้ ย่อยซเู ครส ย่อยนา้ ตาล ซโู ครสให้เป็นน้าตาลกลูโคสและนา้ ตาลฟรักโทส น้าย่อยแลกเทส ยอ่ ยน้าตาลแลกโทสให้เป็นนา้ ตาลกลโู คสและน้าตาลกาแลกโตส น้ายอ่ ยอะมิโนเพปทเิ ดส ย่อยโปรตนี สายสั้นใหเ้ ปน็ กรดอะมิโน 4. ตบั (Liver) ผลิตนา้ ดี ย่อยไขมนั ใหเ้ ปน็ ไขมนั แตกตัวเป็นเม็ดเลก็ ๆ 5. ตบั ออ่ น (Pancreas) ผลิตน้าย่อยลิเพส ยอ่ ยไขมันแตกตัวให้เป็นกรดไขมันและกลเี ซอรอล น้าย่อยทรปิ ซนิ ย่อยโปรตีนให้เป็นพอลิ เพปไทด์และไดเพปไทด์ นา้ ย่อยคารบ์ อกซเิ พปพเิ ดส ย่อยเพปไทด์ใหเ้ ปฯ็ กรดอะมิโน นา้ ยอ่ ยอะไมเลส ย่อยเช่นเดยี วกับนา้ ย่อยอะ ไมเลสในปาก ตอ่ มน้าลาย

ตอ่ มน้าลาย (Silvary Gland) เปน็ ต่อมมีท่อ ทาหนา้ ท่ีผลติ นา้ ลาย (Saliva) ตอ่ มนา้ ลายของคนมีอยู่ 3 คู่ คือ 1. ต่อมนา้ ลายใต้ลนิ้ (Sublingual Gland) 1 คู่ 2. ตอ่ มน้าลายใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibulary Gland) 1 คู่ 3. ต่อมนา้ ลายข้างกกหู (Parotid Gland) 1 คู่ ต่อมนา้ ลายทั้ง 3 คนู่ ี้ ทาหนา้ ท่ีสรา้ งน้าลายที่มเี อนไซม์อะไมเลส ซ่ึงเป็นเอนไซมท์ ี่ย่อยสารอาหารจาพวกแป้งเท่านัน้ ความสา้ คัญของนา้ ลาย - เปน็ ตัวหล่อล่ืน และทาใหอ้ าหารรวมกนั เป็นก้อน เรียกวา่ โบลสั (Bolus) - ช่วยทาความสะอาดปากและฟัน - มเี อนไซมช์ ว่ ยย่อยแป้ง - ช่วยทาให้ปมุ่ รบั รสตอบสนองต่อรสหวาน รสเค็ม รสเปร้ียว และรสขมไดด้ ี การย่อยในปาก เริม่ ต้นจากการเคีย้ วอาหารโดยการทางานรว่ มกันของ ฟัน ลิ้น และแกม้ ซ่ึงถือเป็นการย่อยเชงิ กล ทาให้อาหารกลายเป็นช้นิ เล็ก ๆ มี พน้ื ที่ผิวสัมผัสกับเอนไซม์ได้มากขน้ึ ในขณะเดียวกันต่อมน้าลายก็จะหลง่ั น้าลายออกมาช่วยคลุกเคลา้ ให้อาหารเป็นก้อนลื่นสะดวกต่อ การกลนื เอนไซม์ในน้าลาย คือ ไทยาลิน หรืออะไมเลสจะย่อยแปง้ ในระยะเวลาสั้น ๆ ในขณะท่อี ยู่ในชอ่ งปากใหก้ ลายเป็นเดกซ์ทรนิ (Dextrin) ซ่ึงเป็นคารโ์ บไฮเดรตท่ีมีโมเลกลุ เล็กกว่าแป้ง แต่ใหญ่กว่านา้ ตาล และถูกย่อยต่อไปจนเป็นนา้ ตาลโมเลกลุ คู่ คือ มอลโตส ประกอบขึน้ ด้วยกล้ามเนอ้ื เรยี บท่อี ดั กนั หนามาก ด้านในมลี ักษณะเปน็ สันช่วยในการบดอาหารให้มีขนาดเล็กลงอีก ผนงั ดา้ นใน สามารถสร้างเอนไซมเ์ พปซิโนเจน (Pepsinogen) และกรดไฮโดรคลอริกหรือกรดเกลือ (HCI) เพปซโิ นเจนจะถูกกรดเกลือเปล่ยี น สภาพใหก้ ลายเปน็ เอนไซม์เพปซิน (Pepsin) ซง่ึ มีความสามารถในการย่อยโปรตนี ใหม้ ีโมเลกุลเล็กลง เรียกา่ เพปไทด์ (Peptide) แต่ ยังไมส่ ามารถดดู ซึมได้

การย่อยในกระเพาะอาหาร อาหารจะถูกคลุกเคลา้ อยใู่ นกระเพาะดว้ ยการหดตวั และคลายตวั ของกลา้ มเนื้อท่แี ข็งแรงของกระเพาะ โปรตนี จะถูกย่อยใน กระเพาะ โดยนา้ ย่อยเพปซิน ซึง่ ยอ่ ยพันธะบางชนิดของเพปไทดเ์ ท่านั้น ดังนน้ั โปรตีนท่ถี ูกเพปซินย่อยส่วนใหญ่จงึ เป็นพอลิเพปไทด์ที่ สั้นลง สว่ นเรนนินชว่ ยเปล่ียนเคซนี (Casein) ซ่งึ เป็นโปรตีนในน้านมแล้ว รวมกบั แคลเซียมทาใหม้ ลี ักษณะเปน็ ลิม่ ๆ จากน้ันจะถูก เพปซนิ ย่อยตอ่ ไป ในกระเพาะอาหาร นา้ ย่อยลเิ พสไมส่ ามารถทางานได้ เน่ืองจากมีสภาพเป็นกรด โดยปกติอาหารจะอย่ใู นกระเพาะอาหารนาน 30 นาทีถงึ 3 ช่วั โมง ซ่งึ ข้ึนอยู่กับชนิดของอาหารน้นั ๆ กระเพาะอาหารกม็ กี ารดูดซมึ อาหารบางชนดิ ได้ แตป่ ริมาณนอ้ ยมาก เชน่ นา้ แรธ่ าตุ นา้ ตาลโมเลกุลเดี่ยว กระเพาะอาหารดูดซึม แอลกอฮอล์ได้ดี อาหารโปรตนี เช่น เน้ือววั ย่อยยากกว่าเนื้อปลา ในการปรงุ อาหารเพ่ือให้ย่อยง่าย อาจใช้การหมักหรือใสส่ ารบางอยา่ งลงไปใน เน้ือสตั ว์เหลา่ นน้ั เชน่ ยางมะละกอ หรือสบั ปะรด ล้าไสเ้ ลก็ เป็นทางเดินอาหารส่วนที่ยาวมาก แบง่ เป็น 3 สว่ น คือ ดโู อดนี ัม เจจนู มั และไอเลยี ม ทผี่ นงั ลาไส้เลก็ สามารถสร้างน้าย่อยขึน้ มาได้ ซึ่งมีหลายชนิด นอกจากนน้ั ที่ลาไส้เลก็ สว่ นดโู อดีนัม ยังไดร้ ับนา้ ย่อยจากตับอ่อน และนา้ ดมี าจากตบั นา้ ย่อยจากตบั อ่อนมีหลายชนิด ท่สี ามารถย่อยคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และไขมนั ได้ การย่อยอาหารในล้าไส้เลก็ 1.ยอ่ ยนา้ ตาลโมเลกุลคู่ ใหเ้ ป็นนา้ ตาลโมเลกลุ เดี่ยว ดงั น้ี - มอลโทส โดยเอนไซม์มอลเทส ได้กลูโคส 2 โมเลกุล - ซโู ครส โดยเอนไซม์ซูเครส ได้กลูโคส และฟรักโทส - แลกโทส โดยเอนไซม์แลกเทส ได้กลูโคส และกาแลกโทส 2. ยอ่ ยสารอาหารโปรตนี ต่อจากกระเพาะอาหาร ได้แก่ เพปไทดโ์ ดยเอนไซมท์ ริปซนิ ได้กรดอะมิโน ซึ่งเป็นโปรตีนโมเลกลุ เด่ียว 3. ย่อยไขมัน โดยเอนไซม์ ลเิ พส จะย่อยไขมันโมเลกลุ เลก็ ( emulsified fat ) ใหเ้ ป็นไขมนั โมเลกลุ เดย่ี ว ได้แก่ กรดไขมนั และกลีเซ อรอล

การดูดซึมอาหารในลา้ ไส้เลก็ การดดู ซึมอาหาร หมายถึง ขบวนการทนี่ าอาหารทผี่ ่านการยอ่ ยจนไดเ้ ปน็ สารโมเลกุลเดี่ยว เช่น กลูโคส กรดอะมิโน กรดไขมนั กลเี ซ อรอล ผา่ นผนงั ทางเดนิ อาหารเข้าสกู่ ระแสเลอื ดเพอื่ ไปสู่สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย ลาไสเ้ ล็ก เป็นบริเวณที่ดดู ซึมอาหารเกือบทั้งหมด เพราะเปน็ บรเิ วณทม่ี ีการยอ่ ยอาหารเกิดขึ้นอย่างสมบรู ณ์ และโครงสรา้ งภายในลาไส้เลก็ กเ็ หมาะแก่การดูดซึม คือ ผนังลาไสเ้ ล็กจะ ยาวพับไปมา และมสี ่วนย่นื ของกลมุ่ ของเซลล์ที่เรยี งตัวเปน็ แถวเดียวมีลักษณะคล้ายนิว้ มือ เรียกว่า วิลลัส (Villus) เป็นจานวนมาก ในแตล่ ะเซลล์ของวลิ ลสั ยงั มีส่วนยืน่ ของเย่ือหมุ้ เซลลอ์ อกไปอีกมากมาย เรยี กวา่ ไมโครวลิ ลสั (Microvillus) ในคน มีวิลลัสประมาณ 20-40 อันต่อพื้นที่ 1 ตารางมิลลเิ มตรหรอื ประมาณ 5 ลา้ นอนั ตลอดผนังลาไส้ทัง้ หมด

การดดู ซมึ ในล้าไส้ใหญ่ การดดู ซมึ อาหารท่ยี ่อยแลว้ ส่วนใหญ่เกิดข้นึ ที่ผนังลาไสเ้ ลก็ ส่วนอาหารทไี่ ม่ถูกย่อยหรือย่อยไม่ได้ เช่น เซลลูโลส ก็จะถูก สง่ ไปยังลาไส้ใหญ่ ส่วนต้นของลาไสใ้ หญ่มีไส้เล็ก ๆ ปลายตัน เรยี กวา่ ไสต้ ง่ิ ไส้ต่ิงของคนไม่ไดท้ าหนา้ ที่อะไรแตก่ ็อาจเกดิ การอกั เสบ ถึงกบั ต้องผ่าตัดไสต้ ิง่ ออกไป ซง่ึ อาจเกิดจากการอาหารผ่านชอ่ งเปิดลงไป หรือเส้นเลอื ดที่ไปเลยี้ งไสต้ งิ่ เกิดการอดุ ตนั อาหารท่เี หลือ จากการย่อยและดูดซมึ แล้วจะผา่ นเข้าส่ลู าไส้ใหญ่ ลาไสใ้ หญม่ แี บคทเี รียอยู่จานวนมาก ซึ่งจะใชป้ ระโยชนจ์ ากกากอาหารน้ี นอกจากน้ันแบคเทเี รียบางชนิดยังสงั เคราะห์ วิตามินบางชนิด เชน่ วิตามินเค วติ ามนิ บี 12 เซลล์ที่บผุ นังลาไสใ้ หญ่ สามารถดดู น้า แรธ่ าตุ วิตามิน และกลโู คสจากกากอาหารเข้ากระแสเลอื ด ซงึ่ ส่วนใหญ่จะเปน็ น้า จงึ ทาให้กากอาหารข้นข้ึน จนเปน็ ก้อนกากอาหาร จะผา่ นไปถึงไส้ตรง ท้ายสุดของไส้ตรงเปน็ กล้ามเนื้อหรู ูดแข็งแรงมาก มีลกั ษณะเป็นวงรอบปากทวารหนกั ทาหนา้ ท่ีบีบตัวในการ ขบั ถ่าย และผนังภายในลาไสใ้ หญ่จะขับเมือกออกมาหลอ่ ลื่นกอ้ นอาหาร นา้ ดี (Bile) สรา้ งจากตบั (Liver) แลว้ ถกู นาไปเกบ็ ไว้ที่ ถงุ น้าดี (Gall Bladder) ไมถ่ ือว่าเปน็ เอนไซม์ เพราะจะเปล่ยี นสภาพไปจาก เดิม เม่ือปฏิกริ ิยาส้ินสุดลงแล้ว (น้าดไี มม่ นี า้ ย่อย) มีส่วนประกอบ 3 สว่ น คือ 1. เกลอื น้าดี (Bile Salt) มีหน้าท่ีตีให้ไขมนั (Fat) แตกตวั เปน็ หยดเล็ก ๆ ไขมันท่ีถูกตีให้แตกตวั เป็นหยดเลก็ ๆ เรยี กวา่ อีมลั ช่นั (Emulsion) จากน้นั ถูก Lipase ยอ่ ยต่อให้เปน็ กรดไขมนั และกลีเซอรอล 2. รงควตั ถนุ ้าดี (Bile Pigment) เกิดจากการสลายตัวของฮโี มโกลบนิ (Hemoglobin) โดยตบั เปน็ แหล่งทาลายและกาจดั Hemoglobin ออกจากเซลล์ เม็ดเลือดแดงทหี่ มดอายุ โดยเก็บรวบรวมเข้าไว้เป็นรงควตั ถุในน้าดี (Bile Pigment) คอื บิริรูบนิ (Bilirubin) จึงทาใหน้ า้ ดีมสี เี หลืองหรือเขยี วอ่อน และจะถูกเปลย่ี นเปน็ สเี หลืองแกมนา้ ตาลโดยแบคทีเรยี ในลาไสใ้ หญเ่ กิดเป็นใสใน อจุ จาระ 3. โคเรสเตอรอล (Cholesterol) ถ้ามีมาก ๆ จะทาใหเ้ กดิ น่ิวในถงุ นา้ ดี เกิดการอุดตันที่ท่อน้าดี เกดิ โรคดีซ่าน (Janudice) มผี ลทา ใหก้ ารย่อยอาหารประเภทไขมนั บกพร่อง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook