Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Manual-plan-2561

Manual-plan-2561

Published by sukritaya_ph, 2018-05-24 03:14:09

Description: Manual-plan-2561

Search

Read the Text Version

คู่มือการประเมนิ ตัวชว้ี ดั แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 จัดทาโดย กองนโยบายและแผน สานกั งานอธกิ ารบดี

ค่มู อืการประเมนิ ตวั ชว้ี ดั แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปี มหาวิทยาลัยราชภัฏจนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 จัดทาโดย กองนโยบายและแผน สานักงานอธกิ ารบดี

คำนำ การติดตามประเมินผลตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการประจาปี มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมพ.ศ. 2561 ดาเนินการติดตามประเมินผลการดาเนินงานปีละ 2 คร้ัง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ เพ่ือค้นหาว่ามหาวิทยาลัยสามารถดาเนินการได้บรรลุตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้หรือไม่ โดยสอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ สกอ. ระดับสถาบันตัวบ่งชี้ท่ี 5.1 การบริหารของสถาบนั เพือ่ การกากบั ตดิ ตามผลลพั ธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของสถาบัน เกณฑ์ขอ้ ที่ 1 พฒั นาแผนกลยทุ ธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT กบั วิสยั ทัศนข์ องสถาบัน และพัฒนาไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจาปีตามกรอบเวลาเพื่อให้บรรลุผลตามตัวบ่งช้ีและเป้าหมายของแผนกลยทุ ธ์ ดังน้ัน มหาวิทยาลัยโดยกองนโยบายและแผนจึงได้จัดทาคู่มือการประเมินตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการประจาปีมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้มหาวิทยาลัยมีแนวทางการปฏิบัติ การกากับ ติดตาม และพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานที่ชัดเจน ข้อมูลที่ได้จากการติดตามประเมินผล จะเสนอต่อผู้บริหารและสภามหาวิทยาลัย เพื่อรายงานให้ทราบถึงปัญหาในการปฏิบัติงานและใช้เป็นข้อมูลเพ่ือปรับปรุงวิธีการดาเนินงานหรือเพ่ือปรับเปลี่ยนเป้าหมาย/โครงการ/กิจกรรมให้เหมาะสมสอดคล้องกับทรัพยากรและบริบทท่ีเปล่ียนแปลง รวมท้ังเป็นข้อมูลเพื่อกาหนดนโยบายและแนวทางในการบรหิ ารมหาวิทยาลยั ตอ่ ไป มหาวิทยาลยั หวังเป็นอยา่ งยิ่งว่าเอกสารฉบบั นีจ้ ะเปน็ คมู่ ือสง่ เสริมให้มหาวิทยาลัยมีการบริหารจัดการงานได้อย่างมีคุณภาพและนาไปสู่การสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ สามารถตอบสนองสังคมและประเทศชาติไดต้ อ่ ไป กองนโยบำยและแผน สำนกั งำนอธกิ ำรบดี มหำวิทยำลัยรำชภัฏจนั ทรเกษม

สารบญั หนา้ (1)คานา (2)สารบัญ 11. การกาหนดเป้าหมายระดับหนว่ ยงานตามตวั ชว้ี ดั 42. ผรู้ ับผิดชอบและผู้กากบั ตัวชวี้ ัด 73. คาอธิบายตัวชี้วัด ข้อมูลที่ตดิ ตาม และการคานวณผลการดาเนินงาน 7ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การผลติ และพัฒนาศักยภาพบัณฑิตทสี่ อดคลอ้ งกบั การพัฒนาประเทศและ 7 การเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 9 ตัวชีว้ ดั ที่ 1.1 ร้อยละความพงึ พอใจของนายจา้ ง ผปู้ ระกอบการ ทมี่ ตี ่อบณั ฑติ 10 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษมในดา้ นทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 และ 11 คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ จนั ทรเกษม 11 ตวั ชีว้ ัดท่ี 1.2 ร้อยละการไดง้ านทาภายในระยะเวลา 1 ปขี องผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา ตวั ชว้ี ดั ที่ 1.3 จานวนผลงานของบณั ฑิต นักศึกษา ที่ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ ใน 12 ระดับภูมิภาค ระดับชาติ ระดับสากล ด้านคุณธรรม วชิ าการ วชิ าชพี ตามอัตลกั ษณบ์ ณั ฑติ จันทรเกษม 13ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การวจิ ยั งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาท้องถนิ่ ชุมชนเมือง และ การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา 14 ตวั ชี้วัดที่ 2.1 รอ้ ยละของผลงานการวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวตั กรรมท่มี งุ่ เนน้ การ พฒั นาทอ้ งถิ่น ชมุ ชนเมือง และการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาต่อ 14 จานวนอาจารยป์ ระจาและนักวจิ ยั ประจา 15 ตัวชี้วดั ท่ี 2.2 รอ้ ยละของการวิจยั งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่ม่งุ เน้นการพัฒนา 16 ท้องถน่ิ ชมุ ชนเมอื ง และการยกระดับคุณภาพการศึกษาทีน่ าไปใช้ประโยชน์ 17 อยา่ งเปน็ รปู ธรรมต่อจานวนงานวิจัยตามแผน ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2.3 ร้อยละของการวจิ ัย งานสร้างสรรค์ และนวตั กรรมท่ีมุง่ เน้นการพัฒนา ทอ้ งถ่ิน ชมุ ชนเมอื ง และการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาที่บูรณาการกบั พันธกจิ ของมหาวทิ ยาลัยตอ่ จานวนงานวจิ ัยตามแผนยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การเปน็ แหลง่ เรียนรู้และบริการวชิ าการเพอื่ การพฒั นาท้องถนิ่ ชุมชนเมือง การยกระดับคุณภาพการศกึ ษาตามแนวทาง “ศาสตรพ์ ระราชาเพ่อื การพัฒนา อยา่ งยั่งยืน” ตัวชว้ี ดั ที่ 3.1 รอ้ ยละของครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทีไ่ ด้รบั การพัฒนาอยา่ ง เป็นรปู ธรรมตอ่ จานวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตามแผน ตัวชว้ี ัดท่ี 3.2 ร้อยละของทอ้ งถนิ่ ชุมชนเมืองท่ไี ดร้ บั การพฒั นาอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ต่อจานวนท้องถน่ิ ชุมชนเมอื งตามแผน ตวั ช้ีวัดที่ 3.3 รอ้ ยละของโครงการบริการวิชาการท่ีบรู ณาการกับพนั ธกิจของ มหาวิทยาลยั ต่อจานวนโครงการตามแผน ตัวช้ีวัดที่ 3.4 จานวนแหล่งเรียนรู้เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนเมือง การยกระดับ คุณภาพการศึกษาและศาสตร์พระราชาของมหาวิทยาลัยที่สามารถ จัดกิจกรรมบริการวิชาการอยา่ งมีคณุ ภาพ

สารบญั (ตอ่ )ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การอนรุ ักษ์ สง่ เสริม สืบสาน ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ชมุ ชนเมอื ง 18 ตวั ชี้วดั ที่ 4.1 ร้อยละของผู้เขา้ รว่ มโครงการอนุรักษ์ ส่งเสรมิ สืบสาน เผยแพร่ 18 ความเป็นไทย และความหลากหลายเชงิ วฒั นธรรม ตามภูมปิ ัญญา ท้องถนิ่ ชุมชนเมอื งตอ่ จานวนตามแผน 19 ตัวช้วี ัดท่ี 4.2 รอ้ ยละโครงการท่ีเพิ่มมูลค่าจากทุนทางวฒั นธรรมและความหลากหลาย เชงิ วัฒนธรรมตอ่ จานวนโครงการตามแผน 20 ตวั ชี้วดั ที่ 4.3 รอ้ ยละของโครงการท่ดี าเนินงานรว่ มกับเครือข่ายวัฒนธรรมต่อจานวน โครงการตามแผน 21ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภบิ าลและ 21 การประกันคุณภาพการศกึ ษา 22 ตัวชว้ี ัดที่ 5.1 ผลการประเมนิ คณุ ธรรม และความโปรง่ ใสของมหาวิทยาลัย (Integrity 23 and Transparency Assessment : ITA) 24 ตวั ชว้ี ัดที่ 5.2 ผลการประเมนิ คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาตามเกณฑ์ 25 ประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ตวั ช้วี ดั ท่ี 5.3 ผลการจดั อันดบั มหาวทิ ยาลัยจากองคก์ รที่ยอมรบั (Webometrics) 27 ตัวชีว้ ัดที่ 5.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการพัฒนาเทคโนโลยี 28 ดิจทิ ลั ของมหาวิทยาลัย ตัวชี้วดั ที่ 5.5 รอ้ ยละของบุคลากรของมหาวิทยาลยั ไดร้ บั การพฒั นาท่สี อดคลอ้ งกบั ศตวรรษท่ี 21 ตัวชีว้ ัดท่ี 5.6 ร้อยละของรายได้จากสิทธิประโยชน์และรายไดอ้ ื่นที่เพิ่มข้นึ ตวั ชี้วัดท่ี 5.7 ร้อยละความพงึ พอใจของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียท่ีมตี อ่ การบริหารงานของ มหาวทิ ยาลยั

สา ันกงานอ ิธการบ ีด1. การกาหนดเปา้ หมายระดบั หนว่ ยงานตามตัวชว้ี ัดของแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี คณะเกษตรและมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 ีชวภาพตารางตัวชว้ี ดั ของยุทธศาสตร์ หนว่ ยงานผู้รับผดิ ชอบ และค่าเปา้ หมายระดับหน่วยงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ คณะมนุษยศาสต ์รประจาปี มหาวิทยาลัยราชภัฏจนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 และ ัสงคมศาสต ์ร เปา้ หมายระดบั หน่วยงาน คณะวิทยาการ จัดการตวั ชี้วดั คณะวิทยาศาสต ์รยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การผลติ และพฒั นาศักยภาพบัณฑิตท่ีสอดคล้องกับการพฒั นาประเทศและการเปล่ยี นแปลง คณะ ึศกษาศาสต ์รของโลกศตวรรษท่ี 21 วิทยา ัลยการแพท ์ย1.1 ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้าง - 80 80 80 80 80 80 - - - - - - - ทางเ ืลอกผู้ประกอบการ ที่มีต่อบัณฑิต สถา ับนวิจัยและมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ในด้านทักษะในศตวรรษท่ี 21 ัพฒนาแ ล ะ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ บั ณ ฑิ ต สา ันกประกันจันทรเกษม ุคณภาพการ ึศกษา1.2 ร้อยละการได้งานทาภายใน - 80 80 80 80 80 80 - - - - - - - สานัก ิวทยบ ิรการและระยะเวลา 1 ปีของผู้สาเร็จ เทคโนโล ียสารสนเทศการศกึ ษา สา ันกศิลปะและ1. 3 จ า นวนผ ล งา นของบั ณ ฑิ ต - 2 2 2 2 2 2 - - - - - - - วัฒนธรรมนั ก ศึ ก ษ า ท่ี ไ ด้ รั บ ก า ร ย ก ย่ อ ง สา ันกส่งเส ิรมเ ชิ ด ชู เ กี ย ร ติ ใ น ร ะ ดั บ ภู มิ ภ า ค วิชาการฯร ะ ดั บ ช า ติ ร ะ ดั บ ส า ก ล ด้านคุณธรรม วิชาการ วิชาชีพ ับณฑิตวิทยาลัยตามอัตลักษณบ์ ณั ฑติ จนั ทรเกษม ูศนย์การ ึศกษา มจษ.- ัชยนาทยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การวจิ ยั งานสร้างสรรค์ และนวตั กรรมเพื่อการพฒั นาท้องถน่ิ ชุมชนเมอื ง และการยกระดับ คุณภาพการศกึ ษา2.1 ร้อยละของผลงานการวิจัย - 20 20 20 20 20 20 20 - - - - - - งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ท่ี มุ่ ง เ น้ น ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถ่ิ น ชุมชนเมือง และการยกระดับ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ จ า น ว น อาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา2.2 รอ้ ยละของการวิจัย งานสร้างสรรค์ - 10 10 10 10 10 10 10 - - - - - - และนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนา ท้ อ ง ถ่ิ น ชุ ม ช น เ มื อ ง แ ล ะ การยกระดับคุณภาพการศึกษา ที่ น า ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง เป็นรูปธรรมต่อจานวนงานวิจัย ตามแผน 1

เปา้ หมายระดบั หน่วยงานตัวชี้วัด สา ันกงานอ ิธการบ ีด คณะเกษตรและ ีชวภาพ คณะม ุนษยศาสต ์ร และ ัสงคมศาสต ์ร คณะวิทยาการ จัดการ คณะวิทยาศาสต ์ร คณะ ึศกษาศาสต ์ร วิทยา ัลยการแพท ์ย ทางเ ืลอก สถา ับนวิจัยและ ัพฒนา สา ันกประ ักน ุคณภาพการ ึศกษา สานัก ิวทยบ ิรการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ สา ันกศิลปะและ วัฒนธรรม สา ันกส่งเส ิรม วิชาการฯ ับณฑิตวิทยาลัย ูศนย์การศึกษา มจษ.- ัชยนาท2.3 ร้อยละของการวิจัย งานสร้างสรรค์ - 10 10 10 10 10 10 10 - - - - - - และนวัตกรรมท่ีมุ่งเน้นการพัฒนา - ท้ อ ง ถ่ิ น ชุ ม ช น เ มื อ ง แ ล ะ ก า ร 70 ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า 90 ท่ี บู ร ณ า ก า ร กั บ พั น ธ กิ จ ข อ ง 1 มหาวิทยาลัย ต่อจานวนงานวิจัย ตามแผน - -ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การเป็นแหลง่ เรียนรูแ้ ละบรกิ ารวิชาการเพือ่ การพัฒนาท้องถิน่ ชุมชนเมอื ง การยกระดับ คณุ ภาพการศกึ ษาตามแนวทาง “ศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื การพฒั นาอย่างยง่ั ยืน”3.1 ร้อยละของครู และบุคลากร - - 75 - 75 75 - - - - - - - ทางการศึกษาท่ีได้รับการพัฒนา อย่างเป็นรูปธรรมต่อจานวนครู และ บุคล ากร ทางการ ศึกษ า ตามแผน3.2 ร้อยละของท้องถิ่น ชุมชนเมือง - 70 70 70 70 70 70 70 - - - - - ท่ี ได้ รั บการพั ฒนาอย่ างเป็ น รู ป ธ ร ร ม ต่ อ จ า น ว น ท้ อ ง ถิ่ น ชุมชนเมืองตามแผน3.3 ร้อยละของโครงการบริการ - 90 90 90 90 90 90 90 - - - - - วิชาการที่บูรณาการกับพันธกิจ ของมหาวิทยาลัย ต่อจานวน โครงการตามแผน3.4 จานวนแหล่งเรียนรู้เพ่ือการ - 1 1 1 1 1 1 - - 1 - - - พั ฒ น า ท้ อ ง ถ่ิ น ชุ ม ช น เ มื อ ง การยกระดับคุณภาพการศึกษา แ ล ะ ศ า ส ต ร์ พ ร ะ ร า ช า ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ท่ี ส า ม า ร ถ จั ด กิ จ ก ร ร ม บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร อยา่ งมีคณุ ภาพยุทธศาสตร์ที่ 4 การอนุรกั ษ์ ส่งเสรมิ สืบสาน ศิลปวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ชุมชนเมอื ง4.1 ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ - 80 80 80 80 80 80 - - - 80 - - อนุรักษ์ ส่งเสริม สืบสาน เผยแพร่ ความเปน็ ไทย และความหลากหลาย เชิงวัฒนธรรมตามภูมิปัญญาท้องถิ่น ชมุ ชนเมืองต่อจานวนตามแผน4.2 ร้อย ละ โ ครงก ารท่ีเพ่ิมมูลค่า - 50 50 50 50 50 50 - - - 50 - - จ า ก ทุ น ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย เ ชิ ง วั ฒ น ธ ร ร ม ต่อจานวนโครงการตามแผน 2

เปา้ หมายระดับหน่วยงาน ตัวช้ีวดั สา ันกงานอ ิธการบ ีด คณะเกษตรและ ีชวภาพ คณะม ุนษยศาสต ์ร และ ัสงคมศาสต ์ร คณะวิทยาการ จัดการ คณะวิทยาศาสต ์ร คณะ ึศกษาศาสต ์ร วิทยา ัลยการแพท ์ย ทางเ ืลอก สถา ับนวิจัยและ ัพฒนา สา ันกประ ักน ุคณภาพการ ึศกษา สานัก ิวทยบ ิรการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ สา ันกศิลปะและ วัฒนธรรม สา ันกส่งเส ิรม วิชาการฯ ับณฑิตวิทยาลัย ูศนย์การศึกษา มจษ.- ัชยนาท4.3 ร้อยละของโครงการท่ีดาเนินงาน - 50 50 50 50 50 50 - - - 50 - - -ร่ ว ม กั บ เ ค รื อ ข่ า ย วั ฒ น ธ ร ร ม -ตอ่ จานวนโครงการตามแผน 4.0ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพระบบบริหารจดั การศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าลและการประกนั - คุณภาพการศกึ ษา - 905.1 ผลการประเมินคุณธรรม และ 82 - - - - - - - 82 - - - - - 70ความโปร่งใสของมหาวิทยาลัย(Integrity and TransparencyAssessment : ITA)5.2 ผลการประเมินคุณภาพและ 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0มาตรฐานการศึกษาตามเกณฑ์ประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน5.3 ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัย - - - - - - - - - 10 - - -จ า ก อ ง ค์ ก ร ท่ี ย อ ม รั บ(Webometrics)5. 4 ร้ อย ละ ค วา ม พึงพอใจ ของ 70 - - - - - - - - 70 - - -ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั ของมหาวิทยาลัย5 . 5 ร้ อ ย ล ะ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ข อ ง 90 90 90 90 90 90 90 90 90 90 90 90 90ม ห า วิ ท ย า ลั ย ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น าทีส่ อดคลอ้ งกับศตวรรษท่ี 215 . 6 ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ร า ย ไ ด้ จ า ก 2 - - - - - - - -- - -สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ร า ย ไ ด้ อื่ นท่ีเพิ่มขึ้น5. 7 ร้ อย ละ ค วา ม พึงพอใจ ของ 70 70 70 70 70 70 70 70 70 70 70 70 70ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ที่ มี ต่ อ ก า รบรหิ ารงานของมหาวทิ ยาลัย 3

2. ผู้รับผิดชอบและผู้กากับตัวชี้วัด ตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีมหาวิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติราชการประจาปีมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ. 2561 สู่การปฏิบัติโดยการกาหนดผรู้ บั ผดิ ชอบและเป้าหมายระดับหนว่ ยงาน เพอื่ ให้เกิดผลลพั ธต์ ามเปา้ หมายระดบั สถาบัน ดังนี้ตวั ชีว้ ดั ผรู้ บั ผิดชอบ ผู้กากบั ตัวช้ีวดั1.1 ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ ทกุ คณะ รองอธิการบดี ที่มีต่อบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ฝ่ายวิชาการ ในด้านทักษะในศตวรรษที่ 21 และคุณลักษณะ ทกุ คณะ รองอธิการบดี บณั ฑิตจนั ทรเกษม ทุกคณะ ฝา่ ยกิจการนกั ศกึ ษา1.2 ร้อยละการได้งานทาภายในระยะเวลา 1 ปี ของ ทุกคณะ รองอธกิ ารบดี ผู้สาเรจ็ การศึกษา สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา ฝา่ ยวจิ ยั และพัฒนา1.3 จานวนผลงานของบัณฑิต นักศึกษาท่ีได้รับ ทกุ คณะ รองอธิการบดี การยกย่อง เชิดชูเกียรติในระดับภูมิภาค ระดับชาติ สถาบันวจิ ยั และพัฒนา ฝ่ายกจิ การนักศกึ ษา ระดับสากล ด้านคุณธรรม วิชาการ วิชาชีพ ตามอัตลกั ษณบ์ ัณฑิตจนั ทรเกษม ทกุ คณะ สถาบันวจิ ัยและพฒั นา2.1 ร้อยละของผลงานการวิจัย งานสร้างสรรค์ และ นวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนเมือง คณะมนุษยศาสตร์และ แ ล ะ ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ จ า น ว น สงั คมศาสตร์ อาจารย์ประจาและนักวจิ ัยประจา คณะวทิ ยาศาสตร์2.2 ร้อยละของการวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม คณะศกึ ษาศาสตร์ ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาท้องถ่ิน ชุมชนเมือง และ การยกระดับคุณภาพการศึกษาที่นาไปใช้ประโยชน์ ทุกคณะ อย่างเปน็ รปู ธรรมตอ่ จานวนงานวิจัยตามแผน ศนู ย์การศึกษา มจษ. -2.3 ร้อยละของการวิจัย งานสร้างสรรค์ และ ชยั นาท นวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนเมือง สถาบนั วิจัยและพัฒนา และการยกระดับคุณภาพการศึกษาท่ีบูรณาการ กับพันธกิจของมหาวิทยาลัยต่อจานวนงานวิจัย ตามแผน3.1 ร้อยละของครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีได้รับ การพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมต่อจานวนครูและ บุคลากรทางการศึกษาตามแผน3.2 ร้อยละของท้องถ่ิน ชุมชนเมืองที่ได้รับการพัฒนา อย่างเป็นรูปธรรมต่อจานวนท้องถ่ิน ชุมชนเมือง ตามแผน 4

ตัวชี้วัด ผู้รบั ผดิ ชอบ ผกู้ ากับตวั ชีว้ ดั3.3 ร้อยละของโครงการบริการวิชาการท่ีบูรณาการ ทกุ คณะ รองอธิการบดี กับพันธกิจของมหาวิทยาลัยต่อจานวนโครงการ ศนู ย์การศึกษา มจษ. - ฝ่ายวจิ ัยและพัฒนา ตามแผน ชัยนาท รองอธกิ ารบดี3.4 จานวนแหล่งเรียนรู้เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา ฝา่ ยกิจการนักศึกษา ชุมชนเมือง การยกระดับคุณภาพการศึกษาและ ศาสตร์พระราชาของมหาวิทยาลัยที่สามารถ ทกุ คณะ รองอธิการบดี จดั กจิ กรรมบริการวิชาการอยา่ งมคี ณุ ภาพ ศนู ย์การศึกษา มจษ. - ฝา่ ยบริหาร รองอธกิ ารบดี4.1 ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม ชยั นาท ฝา่ ยประกันคุณภาพ สืบสาน เผยแพร่ความเป็นไ ทย และความ สานักวิทยบรกิ ารและ การศกึ ษา หลากหลายเชิงวัฒนธรรม ตามภูมิปัญญาท้องถ่ิน เทคโนโลยีสารสนเทศ รองอธกิ ารบดี ชุมชนเมอื งต่อจานวนตามแผน ฝา่ ยวชิ าการ ทุกคณะ4.2 ร้อยละโครงการที่เพิ่มมูลค่าจากทุนทางวัฒนธรรม สานกั ศิลปะและ และความหลากหลาย เชิงวัฒนธรรมต่อจานวน โครงการตามแผน วฒั นธรรม4.3 ร้อยละของโครงการที่ดาเนินงานร่วมกับเครือข่าย ทกุ คณะ วัฒนธรรมตอ่ จานวนโครงการตามแผน สานักศลิ ปะและ5.1 ผลการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสของ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัย (Integrity and Transparency ทกุ คณะ Assessment : ITA) สานักศลิ ปะและ วฒั นธรรม5.2 ผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา สานักประกนั คณุ ภาพ ตามเกณฑป์ ระกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน การศกึ ษา สานกั งานอธิการบดี ทกุ คณะ สานกั งานอธกิ ารบดี สถาบันวจิ ยั และพฒั นา สานกั ประกันคุณภาพ การศึกษา สานักวิทยบรกิ ารและ เทคโนโลยสี ารสนเทศ สานกั ศิลปะและ วัฒนธรรม สานักสง่ เสรมิ วิชาการและ งานทะเบยี น บัณฑิตวิทยาลยั ศนู ย์การศึกษา มจษ. – ชยั นาท 5

ตัวชว้ี ัด ผูร้ บั ผิดชอบ ผ้กู ากับตัวช้วี ดั5.3 ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยจากองค์กร สานักวทิ ยบริการและ รองอธกิ ารบดี ทยี่ อมรบั (Webometrics) เทคโนโลยสี ารสนเทศ ฝา่ ยบรหิ าร สานกั วิทยบริการและ5.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เทคโนโลยีสารสนเทศ รองอธกิ ารบดี ตอ่ การพฒั นาเทคโนโลยดี จิ ิทลั ของมหาวทิ ยาลยั ฝ่ายประกันคุณภาพ ทกุ คณะ5.5 ร้อยละของบุคลากรของมหาวิทยาลัยได้รับ สานกั งานอธิการบดี การศึกษา การพฒั นาทีส่ อดคล้องกับศตวรรษท่ี 21 สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา สานักวิทยบริการและ รองอธกิ ารบดี5.6 ร้อยละของรายได้จากสิทธิ ประโยชน์และ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ฝา่ ยวชิ าการ รายได้อ่นื ทีเ่ พ่ิมขึ้น สานักศิลปะและ5.7 ร้อยละความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วฒั นธรรม ท่มี ตี อ่ การบริหารงานของมหาวิทยาลยั สานักสง่ เสริมวิชาการและ งานทะเบียน บัณฑิตวิทยาลยั ศนู ย์การศึกษา มจษ. - ชยั นาท สานักประกนั คณุ ภาพ การศกึ ษา สานกั งานอธกิ ารบดี ทุกคณะ สานักงานอธิการบดี สถาบนั วิจัยและพฒั นา สานกั ประกันคณุ ภาพ การศึกษา สานกั วิทยบรกิ ารและ เทคโนโลยีสารสนเทศ สานักศลิ ปะและ วัฒนธรรม สานักสง่ เสรมิ วิชาการและ งานทะเบยี น บัณฑิตวิทยาลัย ศนู ยก์ ารศึกษา มจษ. – ชยั นาท 6

3. คาอธิบายตัวชี้วัด ขอ้ มูลทต่ี ิดตาม และการคานวณผลการดาเนินงานยุทธศาสตร์ท่ี 1 การผลิตและพัฒนาศักยภาพบัณฑิตท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศและ การเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21ตวั ช้ีวัด 1.1 ร้อยละความพึงพอใจของนายจา้ ง ผู้ประกอบการ ทีม่ ีต่อบัณฑิตมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจันทรเกษมในดา้ นทักษะในศตวรรษท่ี 21 และคณุ ลักษณะบัณฑิต จันทรเกษม คาอธิบาย บัณฑิตระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มีทักษะทางวิชาการและวิชาชีพท่สี อดคล้องกบั ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ตามเกณฑ์ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ประกอบด้วย 4 กลุม่ หลกั 1,2 ไดแ้ ก่ 1) กลุ่มวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย (1) ภาษาแม่และภาษาสาคัญของโลก (2) ศิลปะ (3)คณิตศาสตร์ (4) การปกครองและหน้าที่พลเมือง (5) เศรษฐศาสตร์ (6) วิทยาศาสตร์ (7) ภูมิศาสตร์ และ(8)ประวัติศาสตร์ 2) กลุ่มทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ประกอบด้วย (1) ความยืดหยุ่นและการปรับตัว(2) การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง (3) ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม (4) การเป็นผู้สร้างหรือผ้ผู ลติ และความรับผดิ ชอบเช่อื ถอื ได้ และ (5) ภาวะผนู้ าและความรบั ผดิ ชอบ 3) กลุ่มทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ประกอบด้วย(1) ความริเร่ิมสร้างสรรค์และนวัตกรรม (2) การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา และ (3) การส่ือสารและการร่วมมอื 4) กลุ่มทักษะสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี (Information, Media, and Technology Skills)ประกอบดว้ ย (1) ความรู้ดา้ นสารสนเทศ (2) ความรูเ้ กย่ี วกบั สอ่ื และ (3) ความรดู้ า้ นเทคโนโลยี รวมถึง คุณลักษณะบัณฑิตตามอัตลักษณ์ของบัณฑิตจันทรเกษม “บัณฑิตนักปฏิบัติ จิตอาสา ก้าวหน้าเทคโนโลยี มที ักษะพหุภาษา” 1) บัณฑิตนักปฏบิ ตั ิ คือ บณั ฑิตท่ีไดร้ ับการฝึกฝนทัง้ ความรู้และทกั ษะใหส้ ามารถปฏิบตั ิงานไดด้ ีในสถานการณ์ทีเ่ ปน็ จริง 2) จิตอาสา คอื มีจิตใจท่ีเป็นผู้ให้กบั ส่วนรวม มคี ุณธรรม เปน็ มติ ร สุขงา่ ย ทุกขย์ าก 3) ก้าวหน้าเทคโนโลยี คอื มีความร้แู ละทักษะในการส่ือสารและปฏบิ ัติงานด้วยเทคโนโลยีทท่ี ันสมัยเหมาะสมกบั สภาพความจริง 4) ทกั ษะพหุภาษา คือ บัณฑิตไดร้ บั การฝึกฝนทักษะด้านภาษาอังกฤษภาษาอาเซยี น โดยมงุ่ เนน้ ให้สามารถใช้ในการสื่อสารประจาวนั และการทางานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต นายจ้าง หรือผู้ประกอบการที่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยปฏบิ ัติงานอยู่ โดยประเมินเฉพาะบณั ฑติ ท่ีสาเร็จการศกึ ษา ภายในระยะเวลา 1 ปี นบั จากวันที่สาเร็จการศกึ ษา1 สานกั ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา. 2559. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศกึ ษา 2559. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จันทรเกษม: กรงุ เทพฯ.หน้า 54.2 ไสว ฟักขาว. 2558. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (ออนไลน์). เข้าถึงได้ที่: http://web.chandra.ac.th/blog/wp-content/uploads/2015/10/ทักษะแห่งศตวรรษที่-21-พับ.pdf. เช้าถึงเมือ่ 1 ธนั วาคม 2560. 7

ขอ้ มลู ทีต่ ิดตาม 1. ผลการประเมินความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการของบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ภายในระยะเวลา 1 ปี (ระหวา่ งรอบการประเมนิ ) ทต่ี อบแบบสอบถาม 2. เครอื่ งมือในการประเมนิ คอื แบบประเมนิ กลางของมหาวทิ ยาลยั ในการประเมนิ ความพึงพอใจนายจ้างผปู้ ระกอบการการคานวณผลการดาเนินงาน ร้อยละความพึงพอใจฯ ค่าคะแนนเฉล่ียทไ่ี ดจ้ ากการประเมนิ ฯ X 100 คะแนนเต็ม คะแนนเกณฑ์การประเมิน*เกณฑ์การประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรุง ต้องปรับปรงุ เรง่ ด่วน ตา่ กวา่ 30รอ้ ยละ 91 - 100 71 – 90 51 – 70 31 – 50*ทม่ี า: อ้างองิ ตามเกณฑก์ ารประเมนิ แผนกลยทุ ธม์ หาวิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม พ.ศ. 2556 - 2560 8

ตวั ชีว้ ดั 1.2 ร้อยละการไดง้ านทาภายในระยะเวลา 1 ปขี องผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา คาอธิบาย บั ณฑิ ตระดั บ ปริ ญญาตรี ของมหาวิ ทย าลั ยราชภั ฏ จั นทรเกษม ท่ี ส าเร็ จการศึ กษาหลั กสู ตรภาคปกติภาคพิเศษ และภาคนอกเวลาทุกสาขาวิชาท่ีประกอบอาชีพ (ได้รับการจ้างงาน) ประกอบกิจการของตนเองหรืออาชพี อิสระที่มรี ายได้ประจาภายในระยะเวลา 1 ปี นับจากวันทีส่ าเรจ็ การศกึ ษา ท้ังนี้ กรณีผู้สาเร็จการศึกษาภาคพิเศษ หรือภาคนอกเวลาราชการ ให้พิจารณาเฉพาะผู้ที่เปลี่ยนงานใหม่ หรือประกอบอาชีพหลงั สาเรจ็ การศกึ ษาเท่าน้นั ข้อมลู ทต่ี ดิ ตาม 1. จานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีท้ังหมดที่สาเร็จการศึกษา (ท้ังหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลา) ในปกี ารศกึ ษาทท่ี าการประเมนิ ผล 2. จานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีท้ังหมดที่สาเร็จการศึกษา (ท้ังหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลา) ที่ตอบแบบสอบถาม จะต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ของจานวนบัณฑิตท่ีแสดงความประสงค์จะเขา้ รบั พระราชทานปริญญาบัตรในปีการศกึ ษาท่ีทาการประเมินผล 3. จานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่สาเร็จการศึกษา (ท้ังหลักสูตรในเวลาและนอกเวลาราชการ)ท่ีประกอบอาชีพ ประกอบกิจการของตนเอง หรือประกอบอาชีพอิสระท่ีมีรายได้ประจาภายในระยะเวลา1 ปีการคานวณผลการดาเนินงานรอ้ ยละการได้งานทาฯ จานวนบณั ฑิตทร่ี ะกอบอาชีพ ประกอบกิจการของตนเอง หรือประกอบอาชพี อสิ ระ ภายใน ปี X 100 จานวนบัณฑิตท่ีตอบแบบสารวจทงั้ หมดหมายเหตุ: ไม่นาบณั ฑิตที่ศกึ ษาต่อ เกณฑท์ หาร อปุ สมทบ และบัณฑติ ท่ีมงี านทาแลว้ (ภาคพิเศษ หรือ ภาคนอกเวลา) แต่ไม่ได้เปลย่ี นงานใหมห่ ลกั สาเร็จการศึกษามาพิจารณาเกณฑ์การประเมนิ *เกณฑก์ ารประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรุง ต้องปรับปรงุ เรง่ ดว่ น ตา่ กว่า 30รอ้ ยละ 91 - 100 71 – 90 51 – 70 31 – 50*ทมี่ า: อ้างองิ ตามเกณฑก์ ารประเมินแผนกลยทุ ธ์มหาวิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม พ.ศ. 2556 - 2560 9

ตัวชี้วัด 1.3 จานวนผลงานของบัณฑิต นักศึกษา ท่ีได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ ในระดับภูมิภาค ระดับชาติ ระดับสากล ด้านคุณธรรม วิชาการ วิชาชีพ ตามอัตลักษณบ์ ัณฑิตจันทรเกษม คาอธิบาย นักศึกษาหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลาทุกสาขาวิชา รวมถึงบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาภายในระยะเวลา 5 ปี นับจากวันทสี่ าเรจ็ การศกึ ษา ทัง้ ระดับปริญญาตรี โท หรือเอก ท่ีมีผลงานด้านคุณธรรม วิชาการวิชาชีพ หรือผลงานอื่นๆ ท่ีสอดคล้องกับคุณภาพบัณฑิตตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) ทักษะในศตวรรษท่ี21 ตามอตั ลักษณ์บณั ฑิตจันทรเกษม ท่ไี ดร้ บั การยกยอ่ ง เชิดชเู กียรตใิ นระดับภมู ภิ าค ระดับชาติ หรือระดับสากล ท้งั นี้ ผลงานประเภทการแขง่ ขัน ให้นบั รวมทุกระดับรางวลั โดยไม่จาเปน็ ตอ้ งเป็นระดบั ชนะเลิศเท่านั้น ขอ้ มูลท่ตี ดิ ตาม 1. จานวนบัณฑิต หรือนักศึกษาท่ีได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติในระดับภูมิภาค ระดับชาติ ระดับสากลด้านคุณธรรม วชิ าการ วิชาชีพตามอตั ลักษณ์บัณฑิตจันทรเกษม การคานวณผลการดาเนนิ งาน 1. นบั จานวนผลงานของบณั ฑิต หรอื นักศึกษาที่ไดร้ บั การยกย่อง เชิดชูเกียรติในระดับภูมิภาค ระดับชาติระดับสากล ด้านคุณธรรม วิชาการ วิชาชพี ตามอัตลักษณ์ 2. ทกุ ผลงานต้องจัดเกบ็ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ 3. ผลงานทเ่ี ป็นผลการดาเนินงานแบบกลุ่ม ใหน้ บั จานวนเปน็ 1 ผลงานต่อกลุ่มเกณฑ์การประเมิน*เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรุง ตอ้ งปรบั ปรงุ เรง่ ด่วนผลงาน 15 ขึ้นไป 11 - 15 6 - 10 1-5 ไม่มผี ลงาน*ท่ีมา: อ้างอิงตามคา่ เป้าหมายแผนกลยุทธ์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เม่อื ส้นิ สดุ แผนหมายเหตุ: ระดบั ภมู ภิ าค หมายถึง การแข่งขัน การมอบรางวัล หรือประกาศเกียรติคุณท่ีจัดข้ึนในระดับภูมิภาคของประเทศ ไทย ประกอบด้วย3 ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคตะวนั ตก ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ ระดับชาติ หมายถงึ การแขง่ ขนั การมอบรางวัล หรอื ประกาศเกียรติคุณที่จัดขึ้นภายในประเทศไทย โดยต้องเป็น ลักษณะงานในระดับประเทศ คอื มกี ารเข้าร่วมของทุกระดบั ภูมภิ าคท่วั ประเทศ ระดับสากล หมายถึง การแข่งขัน การมอบรางวัล หรือประกาศเกียรติคุณท่ีจัดข้ึนภายในหรือภายนอกประเทศ โดยตอ้ งเป็นลักษณะท่ีมีประเทศต่างๆ เขา้ ร่วมมากกวา่ 2 ประเทศขึน้ ไป3 เกณฑ์การแบง่ ภมู ภิ าคของคณะกรรมการภูมศิ าสตรแ์ ห่งชาติ สภาวจิ ยั แหง่ ชาติ. วกิ ิพเี ดยี . 2520. ภูมภิ าคของประเทศไทย. สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/ภูมภิ าคของประเทศไทย. เมอื่ วนั ที่ 21 สิงหาคม 2560. 10

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวตั กรรมเพ่ือการพฒั นาท้องถิ่น ชมุ ชนเมือง และ การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาตวั ชี้วดั 2.1 รอ้ ยละของผลงานการวจิ ัย งานสร้างสรรค์ และนวตั กรรมทีม่ ุ่งเน้นการพฒั นาทอ้ งถนิ่ ชุมชนเมือง และการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัย ประจา คาอธิบาย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมมีจุดเน้นในเรื่องการวิจัยที่มุ่งเน้นการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนเมื องและการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยสนับสนุนให้บุคลากรสายวิชาการและนักวิจัยประจาจัดทาผลงานวิจัยงานสร้างสรรค์ และนวตั กรรมทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่องในประเด็นดังกล่าว โดยอาจอยู่ในรูปของบทความวิจัย หรือบทความวิชาการท่ีตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ หรอื นานาชาติ ตพี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการทปี่ รากฏในฐานข้อมูล TCI หรือ SCOPUSหรือตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตรหรือเปน็ ผลงานทางวชิ าการรับใชส้ งั คมที่ผ่านการประเมนิ ตาแหน่งทางวชิ าการแลว้ ผลงานท่ีทาร่วมกับอุตสาหกรรมท่ีผา่ นการประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการแล้ว ตาราหรือหนังสือท่ีใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑก์ ารขอตาแหนง่ ทางวชิ าการแลว้ ข้อมูลทต่ี ดิ ตาม 1. จานวนผลงานการวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ชุมชนเมือง การผลิตครูการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ ในระดับชาติ หรือนานาชาติ ได้รับลิขสิทธิ์ความคุม้ ครองทรัพย์สินทางปัญญา หรืออนสุ ทิ ธิบตั ร 2. จานวนอาจารยป์ ระจาและนกั วิจยั ประจาท้งั หมดการคานวณผลการดาเนินงาน รอ้ ยละของผลงานวิจยั งานสรา้ งสรรค์และนวตั กรรมฯ จานวนงานวจิ ัย งานสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรมที่ไดร้ ับการเผยแพร่ X 100 จานวนบุคลากรสายวิชาการและนักวจิ ัยประจาเกณฑก์ ารประเมนิ *เกณฑ์การประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ ตอ้ งปรับปรุงเร่งดว่ นร้อยละ 25 ขึ้นไป 25 - 20 19 - 25 14 - 10 ต่ากวา่ 10*ที่มา: อา้ งองิ ตามคา่ เปา้ หมายแผนกลยทุ ธ์มหาวิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เม่อื สิ้นสดุ แผน 11

ตัวช้ีวัด 2.2 ร้อยละของการวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาท้องถ่ิน ชุมชนเมือง และการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่นาไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ตอ่ จานวนงานวิจัยตามแผน คาอธบิ าย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมมีจุดเน้นในเร่ืองการวิจัยที่มุ่งเน้นการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนเมืองและการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยสนับสนุนให้บุคลากรสายวิชาการและนักวิจัยประจาจัดทาผลงานวิจัยงานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ที่มีคุณค่าทางวิชาการ สามารถนาผลงานไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมในเชงิ วชิ าการ เชงิ นโยบาย เชงิ ชุมชน หรือเชิงพาณชิ ย์ ทั้งน้ี ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม หมายถึง การมีหลักฐานของการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างชัดเจน เช่น รูปถ่าย หนังสือเชิญ หนังสือรับรองการนาผลงานไปใช้ประโยชน์จริง เป็นต้น โดยสามารถจาแนกการใช้ประโยชนไ์ ด้เป็น 4 มิติ คือ 1. การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ คือ มีการนาผลงานวิจัยน้ันๆ ไปอ้างอิง ซึ่งเป็นการยอมรับคุณค่าของผลการวิจัยช้ินนนั้ 2. การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย คือ การนาข้อมูลการวิจัย ไปประกอบการตัดสินใจในการบริหารหรือกาหนดนโยบาย 3. การใช้ประโยชน์เชิงชุมชน คือ การนาข้อมูลการวิจัยไปถ่ายทอดให้แก่ชุมชน หรือท้องถิ่นที่แสดงความประสงค์มายงั หน่วยงานหรอื ผู้วจิ ยั 4. การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ คือ การนาข้อมูลการวิจัยไปพัฒนาต่อยอดทางธุรกิจ โดยไม่นับการยนื่ หรอื จดทะเบียนคุ้มครองทรพั ย์สินทางปัญญา ขอ้ มูลท่ีติดตาม 1. จานวนผลงานการวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ชุมชนเมือง การผลิตครูการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาทน่ี าไปใช้ประโยชน์อยา่ งเปน็ รปู ธรรม 2. จานวนงานวจิ ัยทด่ี าเนินการตามแผนท้ังหมดการคานวณผลการดาเนนิ งาน ร้อยละของผลงานวิจยั งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมฯ ท่ีนาไปใชป้ ระโยชน์ จานวนงานวจิ ยั งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่นาไปใช้ประโยชน์ X 100 จานวนงานวจิ ยั ท่ดี าเนนิ การตามแผนเกณฑ์การประเมนิ *เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ ต้องปรบั ปรุงเรง่ ดว่ นรอ้ ยละ 15 ข้ึนไป 11 - 15 6 - 10 1-5 ไม่มผี ลงาน*ท่ีมา: อ้างอิงตามคา่ เป้าหมายแผนกลยทุ ธม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เมอ่ื สิน้ สุดแผน 12

ตัวชี้วัด 2.3 ร้อยละของการวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาท้องถ่ิน ชุมชนเมือง และการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่บูรณาการกับพันธกิจของ มหาวิทยาลัยต่อจานวนงานวจิ ยั ตามแผน คาอธบิ าย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมมีจุดเน้นในเรื่องการวิจัยที่มุ่งเน้นการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนเมืองและการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยสนับสนุนให้บุคลากรสายวิชาการและนักวิจัยประจาจัดทาผลงานวิจัยงานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมท่ีส่งผลต่อการพัฒนามหาวิทยาลัย โดยการบูรณาการผลงานการวิจัยงานสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรมกับพนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั ประกอบดว้ ย การจดั การเรียนการสอน การวิจัยต่อยอดท่ีเห็นผลเชิงประจักษ์อย่างเด่นชัด การบริการวิชาการ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมการพัฒนาตามศาสตร์พระราชา หรือการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาอย่างเปน็ รูปธรรม ขอ้ มลู ท่ตี ิดตาม 1. จานวนผลงานการวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนเมือง การผลิตครูการพฒั นาครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทนี่ าไปบรู ณาการกบั พันธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั 2. จานวนงานวจิ ยั ท่ดี าเนินการตามแผนทั้งหมดการคานวณผลการดาเนนิ งานร้อยละของผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวตั กรรมฯ ทีบ่ รู ณาการกบั พันธกิจของมหาวทิ ยาลัยจานวนงานวจิ ัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมทีน่ าไปบูรณาการกบั พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลัย X 100 จานวนงานวจิ ัยที่ดาเนนิ การตามแผนเกณฑ์การประเมิน*เกณฑก์ ารประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ต้องปรับปรงุ ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ด่วนรอ้ ยละ 15 ขนึ้ ไป 11 - 15 6 - 10 1-5 ไมม่ ผี ลงาน*ทมี่ า: อ้างอิงตามค่าเป้าหมายแผนกลยุทธม์ หาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เมื่อส้ินสดุ แผน 13

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเป็นแหล่งเรียนรู้และบริการวิชาการเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ชุมชนเมือง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม แ น ว ท า ง “ศ า ส ต ร์ พ ร ะ ร า ช า เพ่ือการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืน”ตวั ชวี้ ดั 3.1 ร้อยละของครู และบคุ ลากรทางการศึกษาท่ไี ดร้ บั การพฒั นาอย่างเปน็ รูปธรรม ต่อจานวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตามแผน คาอธิบาย การเป็นแหล่งเรียนรู้และการบริการวิชาการเป็นหนึ่งในพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย ราชภัฏเพ่ือเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ ศักยภาพ และความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยให้กับบุคคลภายนอกในการสร้างประโยชน์ให้เกิดแก่ชุมชน ท้องถ่ิน หรือประเทศชาติ ซ่ึงมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เป็นมหาวิทยาลัยท่ีมีชื่อเสียงและมีบทบาทสาคัญในการสร้างและพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษามาอย่างต่อเน่ือง ดังนั้นการบริการวิชาการจึงมุ่งเน้นการใช้ศักยภาพและความเชี่ยวชาญในการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาในภาพรวม อันจะส่งผลต่อการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และประเทศอย่างเปน็ รูปธรรมตอ่ ไป ท้ังนี้ การพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม หมายถึง การมีหลักฐานของการพัฒนาตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ชัดเจน เช่น ผลงานวิชาการ การเลื่อนวิทยฐานะ การได้รับการยกย่อง การมีผลงานการจัดการเรยี นการสอนทเี่ ป็นรูปธรรม เป็นตน้ขอ้ มลู ทีต่ ิดตาม1. จานวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาท่ไี ด้รับการพัฒนาอย่างเปน็ รูปธรรม2. จานวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทีก่ าหนดไว้ในแผนการดาเนินงานการคานวณผลการดาเนนิ งาน ร้อยละของครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีไดร้ ับการพัฒนาฯ จานวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษาที่ได้รบั การพฒั นา X 100 จานวนครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีกาหนดไวใ้ นแผนเกณฑ์การประเมิน*เกณฑก์ ารประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งดว่ นรอ้ ยละ 80 ข้ึนไป 71 – 80 61 – 70 51 – 60 ตา่ กว่า 50*ท่มี า: อ้างองิ ตามค่าเป้าหมายแผนกลยทุ ธม์ หาวทิ ยาลัยราชภัฏจนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เมื่อสิน้ สุดแผน 14

ตัวช้ีวัด 3.2 ร้อยละของท้องถ่ิน ชุมชนเมืองท่ีได้รับการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมต่อจานวนท้องถ่ิน ชุมชนเมืองตามแผน คาอธิบาย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ได้กาหนดกรอบแนวทางการดาเนินงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560 - 2579 และการปรับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมสู่ความเป็นเลิศ (Reprofiling) ซึ่งมีประเด็นสาคัญในการพัฒนาท้องถ่ินและชุมชนให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการบริการวิชาการตามจุดเด่น จุดเน้นของแต่ละคณะโดยใช้ศักยภาพความเช่ียวชาญ และทรพั ยากรทีม่ ีอยู่ใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ ท้ังน้ี การพัฒนาท้องถนิ่ และชุมชนเมอื งนน้ั จะดาเนินการในกล่มุ เป้าหมายท่มี หาวทิ ยาลยั กาหนด ขอ้ มลู ท่ีตดิ ตาม 1. จานวนพนื้ ท่ี ท้องถ่นิ ชุมชนเมืองเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม หมายถึง มีการดาเนินโครงการ กจิ กรรมบรกิ ารวิชาการ มีผลการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต เศรษฐกจิ สังคม สิง่ แวดลอ้ มในเชงิ บวก ซึ่งสามารถสะท้อนใหเ้ ห็นได้ในเชงิ ปรมิ าณหรือคณุ ภาพ 2. จานวนพ้นื ที่ ท้องถนิ่ ชมุ ชนเมืองทง้ั หมดตามแผนการคานวณผลการดาเนนิ งาน รอ้ ยละของท้องถ่ิน ชุมชนเมอื งท่ีได้รบั การพัฒนาอยา่ งเป็นรูปธรรมฯ จานวนพน้ื ที่ ท้องถน่ิ ชมุ ชนเมืองเปา้ หมายท่ีไดร้ บั การพฒั นาอย่างเปน็ รูปธรรม X 100 จานวนพืน้ ท่ี ทอ้ งถนิ่ ชุมชนเมอื งทงั้ หมดตามแผนเกณฑ์การประเมิน*เกณฑ์การประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรุง ตอ้ งปรับปรงุ เร่งดว่ นรอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป 71 – 80 61 – 70 51 – 60 ต่ากว่า 50*ท่ีมา: อา้ งองิ ตามค่าเป้าหมายแผนกลยทุ ธ์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เม่อื สิ้นสุดแผน 15

ตัวชี้วัด 3.3 ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่บูรณาการกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย ตอ่ จานวนโครงการตามแผน คาอธบิ าย การบริการวิชาการเป็นหนึ่งในพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โดยมุ่งเน้นการบริการวิชาการบนพ้ืนฐานศักยภาพและความเช่ียวชาญของมหาวิทยาลัย และสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560 - 2579 ซึ่งการบริการวิชาการนอกเหนือจากเป็นการใช้ศักยภาพทางด้านวิชาการของบุคลากรมหาวิทยาลัยในการสร้างประโยชน์แก่ท้องถ่ินชุมชน และประเทศแล้ว ผลจากการบริการวิชาการยังสามารถนาองค์ความรู้ส่วนหน่ึงกลับมาพัฒนาต่อยอดในรปู แบบการบูรณาการกับพันธกิจของมหาวิทยาลยั ทีส่ อดคล้องกับเกณฑก์ ารประกันคณุ ภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก โดยลกั ษณะการบูรณาการอาจเป็นลักษณะใด ลกั ษณะหน่งึ ใน 5 รูปแบบดังนี้ 1) การบูรณาการการบรกิ ารวชิ าการกบั งานวิจัย 2) การบรู ณาการการบริการวิชาการกับการเรยี นการสอน 3) การบรู ณาการการบรกิ ารวิชาการกบั การทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม 4) การบูรณาการการบริการวิชาการกับงานตามแนวพระราชดาริ 5) การบรู ณาการการบรกิ ารวชิ าการกับการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ข้อมลู ทตี่ ิดตาม 1. จานวนโครงการบริการวิชาการที่ได้รับการบูรณาการกับพันธกิจอ่ืนๆ ของมหาวิทยาลัย(พรอ้ มหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์) 2. จานวนโครงการบริการวิชาการทัง้ หมดตามแผนการคานวณผลการดาเนินงาน รอ้ ยละของโครงการบรกิ ารวชิ าการทีบ่ ูรณาการกับพนั ธกิจฯ จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการท่ีบรู ณาการกบั พันธกิจอ่นื ๆ ของมหาวิทยาลัย X 100 จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการทง้ั หมดตามแผนเกณฑก์ ารประเมิน*เกณฑก์ ารประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วนร้อยละ 91 - 100 71 – 90 51 – 70 31 – 50 ต่ากว่า 30*ทมี่ า: อา้ งอิงตามคา่ เป้าหมายแผนกลยทุ ธ์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เม่อื ส้ินสดุ แผน 16

ตัวช้ีวัด 3.4 จานวนแหล่งเรียนรู้เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนเมือง การยกระดับคุณภาพการศึกษาและ ศาสตร์พระราชาของมหาวิทยาลัยที่สามารถจัดกจิ กรรมบริการวชิ าการอยา่ งมคี ุณภาพ คาอธิบาย การปรับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมสู่ความเป็นเลิศ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกาหนดวิสัยทัศน์ในการ “พัฒนาแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับทุกคนด้วยศาสตร์พระราชา” ในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ดังกล่าวมหาวิทยาลัยจึงต้องพัฒนาแหล่งเรียนรู้บนพ้ืนฐานของศักยภาพทางวิชาการและทรัพยากร ที่มีและสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ในยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปีพ.ศ. 2560 - 2579 โดยมีขอบเขตการบริการวิชาการท่ีสาคัญ คือ การพัฒนาท้องถ่ิน ชุมชนเมือง รวมถึงประเด็นอ่นื ๆ ทส่ี ่งผลตอ่ การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาในภาพรวม ทั้งน้ี การเป็นแหล่งเรียนรู้อาจอยู่ในรูปแบบการให้บริการวิชาการที่หลากหลาย เช่น การอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ทรัพยากรของมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ อ้างอิงทางวิชาการ ให้คาปรึ กษา ให้การอบรมจัดประชมุ หรือสัมมนาวิชาการ เป็นตน้ ข้อมูลทีต่ ดิ ตาม 1. จานวนแหล่งเรียนรู้เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนเมือง การผลิตครู การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศกึ ษาของมหาวิทยาลยั การคานวณผลการดาเนินงาน นับจานวนโครงการ กิจกรรมที่ใช้งบประมาณ และไม่ใช่งบประมาณ ท่ีสอดคล้องกับการเป็นแหล่งเรียนรู้ซึ่งอาจเป็น การให้บุคคลภายนอกใช้ห้องสมุด การให้คาปรึกษา การอบรมทางวิชาการ การจัดกิจกรรมทานุบารุงศิลปะและวฒั นธรรมท่เี ป็นการเผยแพร่องคค์ วามรู้ซึ่งมกี ารดาเนนิ การและมผี ้รู ับบริการอยา่ งเป็นรปู ธรรมเกณฑ์การประเมนิ *เกณฑก์ ารประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ ต้องปรับปรุงเร่งด่วนจานวน 4 ขึ้นไป 3 2 1 ไมม่ ี*ท่ีมา: อา้ งองิ ตามคา่ เป้าหมายแผนกลยุทธ์มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เมอื่ สิ้นสุดแผน 17

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การอนุรักษ์ ส่งเสริม สืบสาน ศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน ชุมชนเมอื งตัวช้ีวัด 4.1 ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม สืบสาน เผยแพร่ความเป็นไทย และความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม ตามภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนเมืองต่อจานวน ตามแผน คาอธบิ าย ก า ร ท า นุ บ า รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม เ ป็ น พั น ธ กิ จ ส า คั ญ ป ร ะ ก า ร ห น่ึ ง ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏไม่เพียงแต่เป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ แต่มหาวิทยาลัยราชภัฏต้องมีบทบาทสาคัญในการอนุรักษ์ ส่งเสริมสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนเมือง รวมถึงการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับศิลปะและวัฒนธรรมไทย โดยมหาวิทยาลัยอาจบูรณาการโครงการหรือกิจกรรมด้านทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมเข้ากับพันธกิจด้านอื่นๆ เช่น การผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้ตระหนักและเห็นคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมไทย และท้องถิ่น หรือการบริการวิชาการท่ีมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนรอบมหาวิทยาลัยให้เข้ามาทากิจกรรม โดยอาจเปน็ กจิ กรรมเผยแพร่องค์ความรู้ หรอื สบื สานประเพณีทสี่ าคัญของประเทศไทยกไ็ ด้ ข้อมูลทต่ี ิดตาม 1. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม สืบสาน เผยแพร่ความเป็นไทย และความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม ตามภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ชมุ ชนเมืองทัง้ หมด 2. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม สืบสาน เผยแพร่ความเป็นไทย และความหลากหลายเชงิ วฒั นธรรม ตามภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ชุมชนเมอื งตามแผนการคานวณผลการดาเนนิ งาน ร้อยละของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการอนรุ ักษ์ ส่งเสริม สืบสาน เผยแพรค่ วามเปน็ ไทยฯ จานวนผู้เข้าร่วมโครงการอนุรกั ษ์ สง่ เสริม สบื สาน เผยแพร่ความเปน็ ไทยฯ ทัง้ หมด X 100 จานวนผู้เข้าร่วมโครงการอนรุ กั ษ์ ส่งเสริม สบื สาน เผยแพร่ความเปน็ ไทยฯ ตามแผนเกณฑก์ ารประเมิน*เกณฑ์การประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ ต้องปรับปรงุ เร่งด่วนรอ้ ยละ 91 - 100 71 – 90 51 – 70 31 – 50 ต่ากวา่ 30*ทม่ี า: อ้างอิงตามค่าเปา้ หมายแผนกลยุทธ์มหาวิทยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เมอ่ื สน้ิ สุดแผน 18

ตัวชี้วัด 4.2 ร้อยละโครงการท่ีเพิ่มมูลค่าจากทุนทางวัฒนธรรมและความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม ตอ่ จานวนโครงการตามแผน คาอธิบาย การเผยแพร่และทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมของท้องถ่ิน ชุมชนและประเทศให้เห็นผลเชิงประจักษ์เปน็ บทบาทหนง่ึ ทส่ี าคัญของมหาวิทยาลัยราชภฏั ภายใต้พันธกิจสาคัญด้านทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ดังนั้นการนาองค์ความรู้ทางศิลปะและวัฒนธรรม รวมถึงความหลากหลายเชิงวัฒนธรรมมาต่อยอดให้เกิดประโยชน์จึงเป็นประเด็นสาคัญท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏต้องสร้างให้เห็นอย่างเด่นชัด โดยการรวบรวมองค์ความรู้ มรดกทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถ่ิน เช่น ศิลปะการแสดง แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมหรือเทศกาล งานช่างฝีมือสมุนไพร พืชและอาหารพ้ืนถ่ิน เป็นต้น มาต่อยอดเพิ่มมูลค่าให้เกิดประโยชน์ทั้งเชิงวิชาการ เชิงวิชาชีพและเชิงพาณิชย์ เพ่ือวัตถุประสงค์ในการธารงรักษามรดกวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่อย่างย่ังยืนในยุคทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลงเชงิ พลวัตรขอ้ มลู ทตี่ ดิ ตาม1. จานวนโครงการทเี่ พม่ิ มูลค่าจากทุนทางวฒั นธรรมและความหลากหลายเชิงวัฒนธรรมทัง้ หมด2. จานวนโครงการท่เี พมิ่ มูลคา่ จากทนุ ทางวัฒนธรรมและความหลากหลายเชงิ วฒั นธรรมตามแผนการคานวณผลการดาเนินงาน ร้อยละโครงการท่ีเพ่ิมมูลคา่ จากทุนทางวัฒนธรรมฯ จานวนโครงการท่ีเพม่ิ มลู คา่ จากทนุ ทางวฒั นธรรมฯ ทง้ั หมด X 100 จานวนโครงการทีเ่ พิม่ มลู คา่ จากทนุ ทางวัฒนธรรมฯ ตามแผนเกณฑก์ ารประเมิน*เกณฑก์ ารประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรุง ต้องปรับปรุงเร่งด่วนรอ้ ยละ 60 ขน้ึ ไป 51 - 60 41 - 50 31 - 40 ตา่ กว่า 30*ทม่ี า: อา้ งองิ ตามค่าเป้าหมายแผนกลยุทธม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เมือ่ สน้ิ สุดแผน 19

ตัวชว้ี ัด 4.3 ร้อยละของโครงการที่ดาเนินงานร่วมกับเครอื ข่ายวัฒนธรรมตอ่ จานวนโครงการตามแผน คาอธิบาย การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมไทยของมหาวิทยาลัยราชภัฏในปัจจุบัน ไม่จากัดขอบเขตอยู่เฉพาะการดาเนินงานด้วยองค์ความรู้ ศักยภาพและทรัพยากรของมหาวิทยาลัยเองเท่านั้น การสร้างเครือข่ายกับภายนอก เช่น ชุมชน ท้องถ่ิน หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาอื่นๆเปน็ สง่ิ สาคัญทจ่ี ะช่วยผลักดันในการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมไทยในภาพรวมของประเทศเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สอดคล้องกับหลักการดาเนินงานของตัวแบบประเทศไทย 4.0 ท่ีมุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนเพ่ือประโยชน์ในภาพรวมของประเทศ รวมถึงประเด็นสาคัญในการปรับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมสู่ความเป็นเลิศ (Reprofiling) และประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาทอ้ งถิ่น ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560 - 2579 ทเ่ี ปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เชื่อมโยงการดาเนินงานตามพนั ธกจิ กบั ท้องถ่ิน ชมุ ชนเมือง และสถาบนั อ่ืนๆ เพ่ือยกระดบั คุณภาพการศึกษาในภาพรวมต่อไป ท้ังนี้ โครงการท่ีทาร่วมกับเครือข่ายด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมอาจเป็นโครงการร่วมกับชมุ ชน ทอ้ งถิน่ หน่วยงานภาครฐั หนว่ ยงานภาคเอกชน หรอื สถาบนั การศกึ ษาอื่นๆ ได้ขอ้ มลู ที่ติดตาม1. จานวนโครงการด้านทานุบารงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรมท่ีทารว่ มกับเครอื ขา่ ยท้งั หมด2. จานวนโครงการดา้ นทานบุ ารุงศลิ ปะและวฒั นธรรมท่ที าร่วมกบั เครอื ขา่ ยตามแผนการคานวณผลการดาเนินงาน ร้อยละของโครงการท่ที ารว่ มกบั เครือข่ายตอ่ จานวนโครงการตามแผน จานวนโครงการดา้ นทานบุ ารงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรมทที่ ารว่ มกับเครือขา่ ยทง้ั หมด X 100 จานวนโครงการดา้ นทานบุ ารงุ ศิลปะและวัฒนธรรมที่ทาร่วมกับเครอื ขา่ ยตามแผนเกณฑก์ ารประเมิน*เกณฑก์ ารประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ ตอ้ งปรบั ปรงุ เรง่ ดว่ นร้อยละ 60 ข้ึนไป 51 - 60 41 - 50 31 - 40 ต่ากวา่ 30*ที่มา: อ้างองิ ตามคา่ เป้าหมายแผนกลยุทธ์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จันทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เม่ือสนิ้ สดุ แผน 20

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลและ การประกันคณุ ภาพการศึกษาตัวชี้วัด 5.1 ผลการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสของมหาวิทยาลัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) คาอธิบาย การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย (Integrity andTransparency Assessment: ITA) เป็นเครื่องมือที่มีเนื้อหาการสารวจเก่ียวกับการดาเนินงานท่ีมีคุณธรรมและความโปร่งใสในการปฏิบัติงานหน้าท่ีของบุคลากรทุกระดับในมหาวิทยาลัยตามจรรยาบรรณ การบริหารงานอย่างมีจริยธรรม และการบริหารจัดการงบประมาณอย่างโปร่งใสมีประสิทธิภาพ โดยสารวจท้ังมิติการรับรู้(Perception - Based) คือ สารวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับมหาวิทยาลัย และบุคลากรทุกคนในมหาวิทยาลัย และในมิติหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence - Based) คือ สารวจจากหลักฐานการดาเนินงานของมหาวิทยาลยั ท้ังน้ี วัตถุประสงค์สาคัญเพื่อให้มหาวิทยาลัยได้ทราบผลการประเมินและแนวทางในการพัฒนาและยกระดับมหาวิทยาลัยในด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม เพ่ือยกระดับธรรมาภบิ าลในหน่วยงาน อนั จะเปน็ การแก้ปญั หาการทจุ ริตที่ยั่งยนื ได้ ข้อมูลทีต่ ิดตาม 1. แบบสารวจความคิดเห็นตามคมู่ ือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ 2. หลักฐานเชิงประจักษ์ตามแบบสารวจหลักฐานเชิงประจักษ์ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐในแตล่ ะปงี บประมาณการคานวณผลการดาเนินงาน ตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการตรวจประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดา เนินงานของหน่วยงานภาครฐัเกณฑ์การประเมนิ *เกณฑก์ ารประเมนิ สงู มาก สูง ปานกลาง ตา่ ต่ามากคะแนน 80 - 100 60 - 79.99 40 - 59.99 20 - 39.99 0 - 19.99*ที่มา: ศูนย์ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ. คู่มือการประเมิน ITA ปี 2561. สานักงาน ป.ป.ช.: กรุงเทพฯ, หน้า 30. 21

ตวั ชว้ี ัด 5.2 ผลการประเมนิ คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาตามเกณฑ์ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ภายใน คาอธิบาย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมมีภารกิจหลักท่ีมหาวิทยาลัยต้องปฏิบัติ 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิตการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งมีความจาเป็นอย่างย่ิงในการพัฒนาประเทศทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยมีปัจจัยภายในและภายนอกหลายประการที่ทาให้การประกันคณุ ภาพภายในระดับอดุ มศึกษา เปน็ สง่ิ จาเป็นทตี่ อ้ งเร่งดาเนินการ คือ คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตในประเทศที่มีแนวโน้มแตกต่างกัน ความท้าทายของโลกาภิวัตน์ต่อการอุดมศึกษา ความเชื่อม่ันของสังคมในบทบาทหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษา การดาเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล รวมถึงพระราชบัญญัติและประกาศต่างๆ ที่เก่ียวข้อง ส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให้สถาบันมีการพัฒนามุ่งสู่วิสัยทัศน์ ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันตามมาตรฐานระดับชาติและนานาชาติ เปน็ การตรวจสอบและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตัง้ แตร่ ะดบั หลักสูตร คณะ และสถาบันโดยผลการประเมินน้ันจะสะท้อนให้เห็นจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุง ตลอดจนข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อนาไปปรับปรุงผลการดาเนินงานในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาในภาพรวมของประเทศต่อไปข้อมูลที่ติดตาม1. ผลการประกนั คณุ ภาพการศึกษาในสถาบันการคานวณผลการดาเนนิ งานตามเกณฑม์ าตรฐานการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยั ราชภัฏจันทรเกษมเกณฑก์ ารประเมนิ *เกณฑก์ ารประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรุง ตอ้ งปรับปรงุ เร่งด่วนคะแนน 4.51 - 5.00 3.51 – 4.50 2.51 – 3.50 1.51 – 2.50 ตา่ กว่า 1.50*ทีม่ า: อา้ งองิ ตามคา่ เปา้ หมายแผนกลยทุ ธม์ หาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เมอ่ื ส้นิ สุดแผน 22

ตวั ช้วี ัด 5.3 ผลการจัดอนั ดับมหาวิทยาลยั จากองค์กรที่ยอมรับ (Webometrics) คาอธบิ าย การจัดอันดับ \"Webometrics Ranking of World Universities\" จัดทาโดย Cybermetrics Labหรือ Internet Lab ซึ่งเป็นกลุ่มวิจัยของสภาวิจัยแห่งชาติ ประเทศสเปน เร่ิมดาเนินการต้ังแต่ ปี ค.ศ. 2004จะการประกาศผลการจัดอันดับเว็บไซต์ 2 คร้ังต่อปี คือช่วงเดือนมกราคมและช่วงเดือนกรกฎาคม ของทุกปีผ่านทางเว็บไซต์ www.webometrics.info ทั้งน้ี การจัดอันดับเว็บไซต์น้ันเพื่อวัดผลงานทางวิชาการที่มกี ารเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ตนอกเหนือจากผลงานที่มีการตีพิมพ์ลงในวารสาร หรือ อื่นๆ วัดความสามารถในการเป็น \"มหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ (E-university)\" เกณฑ์การจัดอันดับของ Webometricsประกอบดว้ ย 1) PRESENCE (20%) = จานวนหน้าเว็บของมหาวิทยาลัยภายใต้โดเมน Contents published,every webpage, all formats, both static and dynamic pages (วัดด้วย Google) 2) OPENNESS (15%) =จานวนไฟล์เอกสาร (.pdf, .doc, .docx, .ppt) ที่นาเสนอบนเว็บไซต์มหาวิทยาลัย และอ้างอิงได้จาก Google Scholar institutional research repositories, rich filespublished .pdf, .doc, .docx, .ppt (วัดดว้ ย Google Scholar) 3) IMPACT (50%) = จานวนลิงค์ภายนอกท่ีลิงค์มาเว็บไซต์มหาวิทยาลัย all external inlinksreceives from third parties (วดั ด้วย Majestic SEO and ahrefs) 4) EXCELLENCE (15%) = จานวนบทความวิชาการตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ academicpapers published in high impact international journals. ท้ังน้ี แนวทางการพัฒนาการจัดอันดับมหาวิทยาลัย สามารถดาเนินการสร้างนโยบายในการพัฒนาเว็บไซต์โดยสนับสนุนให้ส่วนงานต่างๆ ได้มีการพัฒนาปรับปรุงทั้งรูปแบบและเน้ือหาไปในทิศทางเดียวกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นช่องทางในการนาเสนอข่าวสารการประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ความรู้ ผลงาน และกิจกรรมทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เผยแพร่ช่ือเสียง เกียรติภูมิ ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยออกสู่สาธารณชนโลก และสร้างความเป็นท่ีรู้จัก (Visibility) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตอย่างเป็นระบบ ท้ังนี้เพ่ือมุ่งสู่การเป็นหน่ึงในร้อยมหาวิทยาลัยชั้นนาระดับโลกตามเกณฑ์การจัดอันดับของ World UniversityRankings รวมทั้งการเป็น e-university ชั้นนา ตามเกณฑ์การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกด้วยระบบ Webometrics Ranking of World Universities ข้อมลู ทต่ี ิดตาม ตามเกณฑ์การจัดอันดับของ Webometrics Ranking of World Universities เปรียบเทียบเฉพาะกลุ่มมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ การคานวณผลการดาเนินงาน ตามเกณฑ์การจัดอันดับของ Webometrics Ranking of World Universities เปรียบเทียบเฉพาะกลุ่มมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเกณฑก์ ารประเมิน*เกณฑ์การประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วนอนั ดับ 1 - 5 6 - 10 11 - 15 15 - 20 มากกวา่ 20*ที่มา: อ้างอิงตามค่าเป้าหมายแผนกลยทุ ธ์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เมอ่ื ส้ินสดุ แผน 23

ตัวช้วี ดั 5.4 ร้อยละความพงึ พอใจของผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสียตอ่ การพัฒนาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ของมหาวิทยาลัย คาอธิบาย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม มีความมุง่ มั่นในการก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ ด้วยการพัฒนาและปรับปรงุ ระบบการดาเนินงานดว้ ยการพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ติ อลในทกุ ภาคส่วน ทง้ั การบริหารจัดการ การเรียนการสอน และการดาเนินงานตามพันธกจิ ดา้ นต่างๆ เช่น การพัฒนาระบบอินเตอร์เน็ตในมหาวิทยาลัย การจัดหาE-books การพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพ่ือการตัดสินใจ การพัฒนาส่ือการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีดิจิตอลการพัฒนาฐานข้อมูลทางวิชาการ รวมถึงการจัดส่ิงอานวยความสะดวกอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงจะเกิดประโยชน์ต่อนักศึกษาและบุคลากรทุกฝ่ายและส่งผลให้มหาวิทยาลัยเกิดการพัฒนาในภาพรวม และก้าวสู่การเป็นSMART CRU ไดอ้ ยา่ งเขม้ แข็ง ท้ังน้ี การประเมินจะดาเนินการประเมินความพึงพอใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน ประกอบด้วยผู้บริหาร บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ และนักศึกษา และรวบรวมผลการประเมินเพือ่ วเิ คราะหเ์ ป็นภาพรวมของมหาวทิ ยาลยั ตอ่ ไป ขอ้ มลู ที่ตดิ ตาม 1. ร้อยละความพึงพอใจของผู้บรหิ ารตอ่ การพฒั นาเทคโนโลยดี จิ ิทัลของมหาวทิ ยาลยั 2. รอ้ ยละความพึงพอใจของบคุ ลากรสายวิชาการตอ่ การพฒั นาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ของมหาวิทยาลยั 3. ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการต่อการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของมหาวิทยาลัย 4. ร้อยละความพงึ พอใจของนักศึกษาต่อการพฒั นาเทคโนโลยีดิจทิ ัลของมหาวทิ ยาลยั การคานวณผลการดาเนินงาน ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละความพึงพอใจของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ตอ่ การพัฒนาเทคโนโลยดี จิ ิทลั ของมหาวทิ ยาลัย รอ้ ยละความพึงพอใจของ ผบู้ ริหาร บคุ ลากรสายวชิ าการ บคุ ลากรสายสนบั สนนุ วิชาการ นักศกึ ษาเกณฑก์ ารประเมนิ *เกณฑก์ ารประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรุง ต้องปรบั ปรงุ เร่งด่วนร้อยละ 91 - 100 71 – 90 51 – 70 31 – 50 ตา่ กว่า 30*ท่ีมา: อ้างอิงตามคา่ เปา้ หมายแผนกลยทุ ธ์มหาวิทยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เม่ือสิน้ สดุ แผน 24

ตวั ชว้ี ัด 5.5 ร้อยละของบุคลากรของมหาวิทยาลยั ไดร้ ับการพัฒนาท่สี อดคลอ้ งกบั ศตวรรษท่ี 21 คาอธิบาย บุคลากร คือ ทรัพยากรท่ีสาคัญท่ีสุดในการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดังน้ันการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการจึงเป็นสิ่งสาคัญ โดยส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาทักษะ ความรู้ ความเช่ียวชาญในการปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีได้รับมอบหมาย รวมถึงพัฒนาศักยภาพด้านอื่นๆ ท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งผลการพัฒนาบุคลากรนั้นจะส่งผลต่อคุณภาพบัณฑิต คุณภาพงานวิจัยและการบริการวิชาการ และคุณภาพของการบริหารจัดการต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ดังน้ัน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมจึงมีนโยบายในการผลักดันบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการให้ได้รับการพัฒนาที่สอดคล้องกับการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21เพ่ือกา้ วส่กู ารเป็นบุคลากรมอื อาชีพ ซ่ึงเปน็ รากฐานสาคัญในการกา้ วสู่การเปน็ มหาวิทยาลยั สมยั ใหม่ การพัฒนาตนเองของบุคลากร คือ การเข้ารับการอบรมและพัฒนาที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานในมหาวทิ ยาลัย หรอื นอกมหาวทิ ยาลยั โดยใช้งบประมาณหรอื ไม่ใชง่ บประมาณก็ได้ รายงานผลการพัฒนาตนเอง คือ รายงานท่ีแสดงรายละเอียดการอบรมและพัฒนาที่บุคลากรแต่ละคนเข้าร่วมตามเง่ือนไขที่กาหนดข้างต้น ประกอบด้วย ช่ือหัวข้อการอบรมหรือทักษะท่ีได้รับการพัฒนาหน่วยงานที่จัดอบรม ระยะเวลาที่เข้าอบรม ทักษะหรือความรู้ที่ได้รับ และการนาไปใช้ประโยชน์ที่เป็นรูปธรรมโดยรายงานดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ในการเผยแพร่ รวบรวมองค์ความรู้และการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยรวมถึงการติดตามผลการพัฒนาตนเองของบคุ ลากรโดยผู้บงั คบั บญั ชาหรอื ผูบ้ รหิ ารหนว่ ยงานขอ้ มูลทีต่ ิดตาม1. บุคลากรสายวชิ าการ 1.1 จานวนบุคลากรสายวชิ าการทไ่ี ด้รบั การพฒั นา 1.2 จานวนรายงานผลการพฒั นาตนเอง 1.3 จานวนบุคลากรสายวชิ าการท้ังหมด2. บคุ ลากรสายสนบั สนนุ วชิ าการ 2.1 จานวนบุคลากรสายสนับสนุนวชิ าการท่ีไดร้ บั การพฒั นา 2.2 จานวนรายงานผลการพฒั นาตนเอง 2.3 จานวนบคุ ลากรสายสนับสนนุ วิชาการทง้ั หมดการคานวณผลการดาเนินงาน1. บุคลากรสายวิชาการข้ันตอนที่ 1 การพัฒนาของบคุ ลากรสายวิชาการรอ้ ยละบคุ ลากรสายวิชาการทไ่ี ด้รบั การพัฒนา จานวนบุคลากรสายวชิ าการที่ไดร้ บั การพัฒนา X 100 จานวนบคุ ลากรสายวชิ าการทั้งหมดขนั้ ตอนท่ี 2 รายงานผลการพฒั นาตนเอง จานวนรายงานผลการพฒั นาตนเอง X 100 ร้อยละรายงานผลการพัฒนาตนเอง จานวนบคุ ลากรสายวชิ าการทั้งหมด 25

ขัน้ ตอนที่ 3 ภาพรวมการพฒั นาตนเองของบคุ ลากรสายวิชาการ ค่าเฉลีย่ รอ้ ยละบุคลากรสายวิชาการท่ไี ดร้ บั การพัฒนาทั้งหมด รอ้ ยละบุคลากรสายวิชาการทีไ่ ด้รับการพฒั นา รอ้ ยละรายงานผลการพฒั นาตนเอง2. บคุ ลากรสายสนับสนุนวิชาการขั้นตอนท่ี 1 การพฒั นาของบุคลากรสายสนบั สนนุ วิชาการ รอ้ ยละบุคลากรสายสนับสนุนวชิ าการท่ีได้รับการพฒั นา จานวนบุคลากรสายสนบั สนุนวิชาการที่ได้รบั การพัฒนา X 100 จานวนบุคลากรสายสนับสนุนวชิ าการทั้งหมดขัน้ ตอนท่ี 2 รายงานผลการพฒั นาตนเองรอ้ ยละรายงานผลการพัฒนาตนเอง จานวนรายงานผลการพฒั นาตนเอง X 100 จานวนบุคลากรสายสนับสนุนวชิ าการท้ังหมดข้ันตอนที่ 3 ภาพรวมการพฒั นาตนเองของบคุ ลากรสายสนบั สนุนวิชาการ คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละบุคลากรสายสนบั สนนุ วชิ าการที่ได้รบั การพัฒนาท้งั หมด รอ้ ยละบุคลากรสายสนับสนุนวชิ าการท่ไี ด้รบั การพฒั นา ร้อยละรายงานผลการพัฒนาตนเอง3. ภาพรวม รอ้ ยละของบุคลากรของมหาวิทยาลัยได้รบั การพฒั นา คา่ เฉลยี่ ร้อยละบุคลากรท่ีได้รับการพัฒนาทั้งหมด ร้อยละบุคลากรสายวิชาการฯ ร้อยละบคุ ลากรสายสนบั สนุนวชิ าการฯเกณฑ์การประเมนิ *เกณฑ์การประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ต้องปรับปรงุ ต้องปรบั ปรงุ เร่งด่วนรอ้ ยละ 91 - 100 71 – 90 51 – 70 31 – 50 ต่ากว่า 30*ทีม่ า: อา้ งอิงตามค่าเปา้ หมายแผนกลยทุ ธ์มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เมื่อส้นิ สดุ แผน 26

ตัวชวี้ ัด 5.6 ร้อยละของรายได้จากสิทธิประโยชนแ์ ละรายได้อนื่ ที่เพิ่มข้นึ คาอธบิ าย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมมุ่งเน้นพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการเพ่ือก้าวสู่การเป็นมหาวทิ ยาลยั สมยั ใหม่ ซง่ึ นอกเหนอื จากการพฒั นาดา้ นเทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาบุคลากรมืออาชีพ การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ยังมีประเด็นท่ีสาคัญอีกประเด็นหนึ่ง คือ การพ่ึงพาตนเอง ซ่ึงเป็นประเด็นท้าทายท่ีสาคัญของมหาวิทยาลัย ในการวิเคราะห์ศักยภาพและทรัพยากรที่มหาวิทยาลัยมี และนามาพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าให้เกิดประโยชน์ และสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัย โดยนอกเหนือจากสิทธิประโยชน์อาจเป็นรูปแบบการหารายได้จากพันธกิจอื่นๆ เช่น การจัดอบรม การวิจัย หรือการบริการวิชาการ เป็นต้นซึ่งการพัฒนารูปแบบการหารายได้น้ีจะเป็นการผลักดันให้บุคลากรใช้ศักยภาพท่ีมีอยู่ ร่วมกับการใช้ทรัพยาการในมหาวิทยาลัยให้เกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมสูงสุด และนาไปสู่การพัฒนารูปแบบการพึ่งพาตนเองอย่างยัง่ ยนื ของมหาวทิ ยาลยั ต่อไป รายได้จากสิทธิประโยชน์ คือ รายได้จากการบริหารทรัพย์สิน และทรัพยากรของมหาวิทยาลัยท่ีเป็นไปตามระเบยี บของมหาวทิ ยาลัย รายได้อื่นๆ คือ รายได้จากพันธกิจอ่ืนๆ ของมหาวิทยาลัยนอกเหนือจากงบประมาณเงินรายได้จากค่าธรรมเนียมการศึกษา เช่น รายได้จากการบริการวิชาการ รายได้จากการวิจัย เป็นต้น โดยต้องเป็นไปตามระเบียบของมหาวทิ ยาลัยข้อมูลทีต่ ดิ ตาม1. รายไดจ้ ากสทิ ธิประโยชน์และรายได้อ่ืนในปที ่ีผ่านมา2. รายไดจ้ ากสิทธปิ ระโยชน์และรายได้อื่นในปีปัจจบุ ันการคานวณผลการดาเนนิ งานร้อยละของรายได้จากสทิ ธิประโยชนแ์ ละรายได้อืน่ ที่เพม่ิ ขน้ึ เม่ือเทียบจากปที ่ีผ่านมารายได้จากสทิ ธิประโยชนแ์ ละรายได้อน่ื ในปีปัจจุบัน ปที ่ผี ่านมา X 100 รายไดจ้ ากสทิ ธิประโยชน์และรายไดอ้ น่ื ในปที ผ่ี ่านมาเกณฑก์ ารประเมนิ *เกณฑ์การประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ ตอ้ งปรับปรุงเร่งด่วนร้อยละ 6 ข้นึ ไป 5 4 3 ต่ากวา่ 2*ที่มา: อา้ งอิงตามคา่ เป้าหมายแผนกลยุทธม์ หาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เม่ือส้นิ สุดแผน 27

ตวั ช้วี ัด 5.7 ร้อยละความพงึ พอใจของผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียทมี่ ีตอ่ การบริหารงานของมหาวทิ ยาลัย คาอธิบาย มหาวิทยาลัยราชภฏั จันทรเกษม มุ่งเนน้ การดาเนนิ งานตามพนั ธกิจโดยมีเป้าหมายท่ีสาคัญเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของบัณฑิต การพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และพัฒนาสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ ด้วยการกาหนดนโยบายและแผนการดาเนินงานที่ชัดเจน การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจดั การเรยี นการสอน การพฒั นากระบวนการทางานและการบริหารงาน การบริหารทรัพยากรบุคคลส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้และการทางาน ซึ่งผลของการดาเนินงานจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักศึกษา บุคลากรทุกฝ่าย และส่งผลให้มหาวิทยาลัยเกิดการพัฒนาในภาพรวมอย่างต่อเนื่อง และก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสมัยใหมไ่ ดอ้ ยา่ งเขม้ แขง็ ท้ังนี้ การประเมินจะดาเนินการประเมินความพึงใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วยผู้บริหาร บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ และนักศึกษา และรวบรวมผลการประเมินเพอื่ วิเคราะหเ์ ป็นภาพรวมของมหาวทิ ยาลัยต่อไปขอ้ มลู ท่ีตดิ ตาม1. ร้อยละความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีตอ่ การบรหิ ารจดั การของมหาวิทยาลัย 1.1 ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน ประกอบด้วย การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน กระบวนการเรียน การสอน สง่ิ สนับสนุนการเรียนรู้ 1.2 ด้านการให้บริการของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย การให้บริการด้านวิชาการ การให้บริการทั่วไป การให้บรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศ2. ร้อยละความพึงพอใจของบคุ ลากรทม่ี ตี อ่ การบริหารจดั การของมหาวิทยาลัย 2.1 ด้านเอกลักษณ์ อตั ลักษณ์ และภาพลักษณ์การบริหารงานตามความเชีย่ วชาญเฉพาะ 2.2 ด้านกระบวนการทางานและการบรหิ ารงาน 2.3 ดา้ นกายภาพและสง่ิ สนับสนนุ การทางาน 2.4 ดา้ นการบริหารทรพั ยากรบคุ คลการคานวณผลการดาเนินงาน1. ร้อยละความพงึ พอใจของนักศึกษาท่ีมตี ่อการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยร้อยละความพึงพอใจของนกั ศึกษาฯ คะแนนเฉลยี่ ความพงึ พอใจของนักศึกษา X 100 คะแนนเต็ม คะแนน2. ร้อยละความพงึ พอใจของบุคลากรท่ีมีต่อการบรหิ ารจัดการของมหาวทิ ยาลัยร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรฯ คะแนนเฉลีย่ ความพงึ พอใจของบุคลากร X 100 คะแนนเต็ม คะแนน 28

3. รอ้ ยละความพึงพอใจของผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ท่มี ตี ่อการบรหิ ารงานของมหาวทิ ยาลยั รอ้ ยละความพึงพอใจของผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสยี ที่มีตอ่ การบริหารงานของมหาวทิ ยาลัย รอ้ ยละความพงึ พอใจของนักศกึ ษาฯ รอ้ ยละความพงึ พอใจของบคุ ลากรฯเกณฑ์การประเมิน*เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรุง ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ด่วนรอ้ ยละ 80 ขึ้นไป 71 – 80 61 – 70 51 – 60 ต่ากวา่ 50*ที่มา: อา้ งองิ ตามค่าเปา้ หมายแผนกลยุทธม์ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม พ.ศ. 2561 - 2565 เม่ือสิ้นสุดแผน 29

คณะผู้จัดทาคมู่ อื การประเมนิ ตวั ชว้ี ัดแผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ. 2561รองศาสตราจารยส์ ุมาลี ไชยศภุ รากุล อธกิ ารบดี (ท่ีปรกึ ษา)ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์เอนก เทยี นบชู า รองอธิการบดีฝา่ ยนโยบายและแผนนางสาวมณฑารตั น์ ชพู ินจิ ผู้อานวยการกองนโยบายและแผนนางสาวจารดุ า สสี งั ข์ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนนายฐิติวจั น์ ทองแก้ว นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนนายปรชั ญา ลาแพงดี นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนนางสาวแววตา พันธ์งาม นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนนางสาววาสนา ลักขะนตั ิ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนนางพัชริดา บญุ สวสั ดิ์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนนางสาวมาริสา มัสตูล นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนนายคมสัน เพง่ พิศ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนนางสาวชลุ กี ร เทพเฉลิม เจา้ หน้าท่ีบรหิ ารงานทัว่ ไป 30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook