ผิวหนังเป็นเนื้อเยื่อห่อหุ้มร่างกายที่อยู่ชั้นนอกสุด โดยผิวหนังของผู้ใหญ่มีเนื้อท่ี ประมาณ 3,000 ตารางนิ้ว มีความหนา 1 – 4 มิลลิเมตร ภายในชั้นผิวหนังมีปลายประสาทรับ ความรสู้ กึ จำนวนมาก เพื่อรบั รกู้ ารสมั ผัส การกด ความเจ็บ และอุณหภมู ิร้อนเยน็ และหน้าที่สำคัญ ๆ อกี หลายอย่าง โครงสร้างของผิวหนงั ผิวหนังชั้นหนังกำพร้า (Epidermis) เป็นผิวหนังที่อยู่ชั้นบนสุด คลุมอยู่บนหนังแท้ มี ความหนาตั้งแต่ 0.05 ถึง 5 มิลลิเมตร บริเวณที่บางสุดคือรอบดวงตา บริเวณที่หนาสุดคือฝ่าเท้า หนังกำพร้าประกอบด้วยเซลล์เรียงซ้อนกันเป็นชั้นบาง ๆ อีก 5 ชั้นย่อย โดยเซลล์ชั้นในจะเลื่อน ตัวดันเซลล์ชั้นบนหรือชั้นนอกสุด ให้หลุดเป็นขี้ไคลออกไป ผิวหนังชั้นนี้ไม่มีหลอด เลือด เส้นประสาทรวมถึงต่อมต่าง ๆ หากผิวหนังชั้นนี้ได้รับอันตราย เราจะไม่รู้สึกแต่อย่างใด ท้ังนี้หนังกำพร้าจะเป็นทางผ่านของรูเหงื่อ เส้นขนและไขมัน ช้ันน้ีจะมีเซลล์เม็ดสี (Melanin) โดย มีปริมาณมากน้อยแตกต่างกันในแต่ละคน
ผิวหนังชั้นหนังแท้ (Dermis) เป็นผิวหนังที่อยู่ชั้นล่างถัดจากชั้นหนังกำพร้า มี 2 ชั้นย่อย ผิวหนังชั้นนี้ประกอบด้วยเนื้อเยื่อคอลลาเจน (Collagen) อีลาสติน (Elastin) และตัวประสาน เนื้อเยื่อไฮยารูรอน (Hyaluronic acid) ทำให้ผิวหนังมีความแข็งแรง และมีความยืดหยุ่นโดยมีหลอด เลือดฝอย ปลายประสาทรับความรู้สกึ ระบบประสาทอตั โนมตั ิควบคมุ การทำงานของต่อมไขมัน ต่อม เหงือ่ และรากขน/ผม กระจายอยู่ทว่ั ไปในชั้นหนังแท้ ผิวหนังชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutis) อยู่ในสุดของชั้นผิวหนัง ประกอบด้วยไขมัน คอลลา เจน หลอดเลือดที่มาหล่อเลี้ยง ความหนาของชั้นใต้ผิวหนังจะแตกต่างกันไปตามอวัยวะ และเพศ ผิวหนังชั้นนี้ช่วยในการรับแรงกระแทก เป็นฉนวนกันอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง และยึดเหนี่ยวระบบ ผวิ หนังไว้กับรา่ งกาย
หนา้ ที่ของผิวหนงั - ปอ้ งกันและปกปดิ อวัยวะภายในไมใ่ หไ้ ด้รบั อันตราย - ปอ้ งกนั เชอื้ โรคไม่ให้เขา้ สู่รา่ งกายได้โดยตรง - ป้องกนั ไมใ่ ห้น้ำภายนอกซมึ เข้าไปในร่างกาย และน้ำในรา่ งกายระเหยออกไป - ขับเหงอื่ ซึง่ เป็นของเสยี ออกจากร่างกาย ทางตอ่ มเหง่อื - ช่วยรกั ษาอณุ หภมู ขิ องร่างกายให้คงที่ ผ่านทางหลอดเลอื ดฝอยและการระเหยของเหงือ่ - รบั ความรสู้ กึ สัมผัส เชน่ ร้อน หนาว เจ็บ เป็นต้น - ช่วงสรา้ งวติ ามินดีใหแ้ กร่ ่างกาย โดยแสงแดดจะเปล่ียนไขมนั ท่ผี ิวหนงั ใหเ้ ป็นวติ ามินดีได้ สว่ นของผิวหนงั ท่ีเปลย่ี นรูปแบบ เลบ็ พฒั นามาจากหนังกำพร้า เป็นแผ่นแขง็ ยืดหยนุ่ ได้ มลี กั ษณะโปร่งแสง ส่วนท่ียื่นพ้นปลาย นว้ิ ไมม่ ีหลอดเลอื ดและเสน้ ประสาทมาเล้ียง ทำใหส้ ามารถตัดเล็บได้ สว่ นทีฝ่ ังอยใู่ นผวิ หนังเรียก ราก เล็บ ด้านใต้ของเล็บมีปลายประสาทและหลอดเลือดมาเลี้ยงมาก การงอกของเล็บเฉลี่ย 1 มิลลิเมตร ตอ่ สปั ดาห์ โดยเลบ็ เทา้ งอกช้ากวา่ เลบ็ มือ ขนหรือผม พัฒนามาจากหนงั กำพร้าช้ันที่อยู่ลึก โดยอยู่ในรู ขุมขน มีส่วนที่โผล่พ้นผิวหนังขึ้นมาเรียก เส้นขน/ผม และส่วนที่ฝังอยู่ในรูขุมขนเรียก รากขน/ผม ที่ โคนของรากขน/ผม จะมีกระเปาะรากขน/ผม ภายในกระเปาะนี้จะมีเส้นเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยงและมี ปลายประสาทมาควบคุม พร้อมทั้งยังมีการเชื่อมต่อกับต่อมไขมันและกล้ามเนื้อเส้นขน ขน/ผมจะมี เซลล์เม็ดสซี ่ึงแตกตา่ งกันไปในแต่ละเชอื้ ชาติ รวมถึงการมอี ายมุ ากข้นึ เซลล์เมด็ สจี ะมีน้อยลง ทำให้เกิด ขน/ผมหงอกได้ ต่อมที่อยูใ่ นช้นั ของผวิ หนัง ต่อมไขมัน (Sebaceous gland) เป็นต่อมรูปกระเปาะเล็ก ๆ อยู่ในชั้นหนังแท้ พบได้ใน ผิวหนังเกือบทั้งหมดที่มีขน โดยมีมากที่หนังศีรษะ ใบหน้าและรอบๆ รูเปิดต่างๆ เช่น ทวารหนัก จมูก ปาก โดยไม่พบที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ไขมันที่ผลิตจากต่อมไขมันจะเคลือบผิวหนัง ขน/ผมเพื่อให้เกิด ความชุม่ ช้ืน
ต่อมเหง่ือ (Sweat gland) เป็นต่อมอยู่ที่ผิวหนังเกือบทุกแห่งของร่างกาย ยกเว้นที่ริมฝีปาก และบางส่วนของอวัยวะสืบพันธุ์ โดยเส้นเลือดบริเวณต่อมเหงื่อจะส่งของเสียเข้าสู่ท่อของต่อมเหง่ือ ของเสียหรือเหงื่อที่ได้นั้นจะถูกต่อมเหงื่อขับถ่ายออกทางผิวหนังชั้นนอกสุด และมีการระเหยอยู่ ตลอดเวลา ทำให้หลาย ๆ ครั้งร่างกายไม่รู้สึก แต่เมื่ออุณหภูมิภายนอกหรืออุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น จนถึงระดับหนึ่ง ร่างกายจะมีการขับเหงื่อออกมาในปริมาณมากขึ้น เห็นเป็นเหงื่อที่เปียกค้างรอการ ระเหยอยูต่ ามจดุ ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เหง่ือ (Sweat) ประกอบด้วยน้ำถึงร้อยละ 99 และสารอื่น ๆ อีกร้อยละ 1 เช่น เกลือโซเดียม คลอไรด์ สารอินทรีย์พวกยูเรีย แอมโมเนีย กรดอะมิโน น้ำตาล และกรดแลกติก โดยเหงื่อมีสภาวะ เป็นกรดออ่ น ๆ โรคระบบผวิ หนังทพ่ี บบอ่ ย ผิวหนังอักเสบ เป็นภาวะอักเสบของผิวหนัง ทำให้เกิดอาการผื่นคัน บวม แดง อาจมีแผล พุพอง มีหนอง มีการตกสะเก็ด เกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ โดยโรคที่ทำให้ผิวหนังอักเสบ เช่น โรคผนื่ ภมู ิแพ้ผิวหนัง โรคผื่นผิวแหง้ โรคผิวหนังอกั เสบเซบเดริ ์ม ท้ังนโ้ี รคหรือภาวะทเ่ี ป็นไม่ได้เกิดจาก การติดเชื้อ จะไม่มกี ารตดิ ต่อไปยงั ผู้อ่ืน แตจ่ ะทำให้รู้สึกคัน ระคายเคอื ง ปวดหรือเจบ็ ได้ โรคงูสวัด เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลลา ซอสเตอร์ (Varicella zoster virus: VZV) โดยเชื้อไวรัสนี้จะทำให้เกิดโรคอีสุกอีใส ซึ่งจะหายเองได้ภายใน 1-2 สัปดาห์ หลังจากหายแล้ว เชื้อสามารถหลบซ่อนอยู่ตามปมประสาทของร่างกายเป็นระยะเวลานาน ในระหว่างนั้น เมื่อร่างกาย อยู่ในช่วงที่อ่อนแอ เช่น พักผ่อนน้อย อดนอนต่อเนื่อง อายุมากขึ้น เป็นผลทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของ รา่ งกายออ่ นแอลง เช้ือจะเกิดการแบ่งตัวและแสดงอาการในรอบท่ีสอง เปน็ โรคงสู วดั
โรคเริม เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อไวรัสเฮอร์พีส์ ซิมเพล็กซ์ (Herpes Simplex Virus: HSV) ติดต่อจากคนสู่คน ผ่านการสัมผัสเชื้อ สัมผัสกับแผล ใช้ของร่วมกับผู้ติดเชื้อ การมีเพศสัมพันธ์ กับผู้ติดเชื้อ โรคนี้ไม่สามารถรักษาให้หายขาด โดยเชื้อไวรัสจะยังคงอยู่แม้อาการสงบลง และจะ กลบั มาแสดงอาการอีกในชว่ งท่ีภมู คิ มุ้ กนั ทีอ่ ่อนแอ ผื่นภมู แิ พผ้ วิ หนัง เป็นอาการของผิวหนงั อกั เสบเรอ้ื รังจากภูมแิ พ้ ทำใหผ้ ิวแห้ง แดง มีผ่ืนตาม บรเิ วณต่าง ๆ และมีอาการคันอย่างต่อเน่ือง อาการนส้ี ามารถเกดิ ข้ึนได้กับทกุ เพศทุกวัย แต่พบในเด็ก มากกว่าวัยอื่น ปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้โดยตรง แต่อาจรักษาได้โดยบรรเทาอาการ และปอ้ งกันการลกุ ลามไปยงั สว่ นอนื่ ๆของรา่ งกาย
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: