โครงร่างการวิจยั 1.ชอื่ หัวข้อวิจัย การสรา้ งแบบฝึกทกั ษะการใชป้ ระโยคเพ่ือการส่ือสาร สาหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรยี นผาชอ่ วทิ ยา อาเภอแจ้หม่ จงั หวัดลาปาง 2.ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติไทย ภาษาไทยเป็นเครื่องแสดงถึงความเป็นชาติไทย และเปน็ เครอื่ งยึดเหน่ียวจิตใจให้คนไทยในชาตเิ ป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกัน ภาษาไทยยังถือได้ว่าเป็นวัฒนธรรม ท่ีสาคัญท่ีสุด เพราะภาษาเป็นเครื่องแสดงถึงความเจริญของชาติไทย คนไทยทุกคนจะต้องช่วยกันดารง รักษาไว้ให้มีอยู่อย่างมั่นคงตลอดไป ดังพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบันได้ พระราชทานแก่ผู้เข้าประชุมของชุมนุมภาษาไทยตอนหน่ึงว่า “ภาษาไทยเป็นเครื่องมืออย่างหน่ึงของชาติ ... ประเทศไทยนั้นมีภาษาไทยของเราซ่ึงต้องหวงแหน...เรามีโชคดีท่ีมีภาษาของตนเองตั้งแต่คร้ังโบราณ กาล จึงสมควรอย่างย่ิงท่ีจะต้องรักษาไว้” (ชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์ , 2505 :74) และท่ีสาคัญคือภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสาร ทั้งการแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ และการดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม ล้วนแต่ใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องมือในการส่ือสารทาความเข้าใจกัน จงึ จาเป็นอย่างย่ิงท่ีคนไทยทุกคนต้องมีความรู้เก่ียวกับการใช้ประโยคในการส่ือสารได้อย่างถูกต้อง เพ่ือให้ การตดิ ต่อสอ่ื สารเปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิ ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร การอ่านและการฟัง เป็นทักษะของการรับรู้เรื่องราว ความรู้ประสบการณ์ ส่วนการพูดและการเขียน เป็นทักษะของการแสดงออกด้วยความคิด ความเห็น ความรู้ประสบการณ์ การเรียนหลักภาษาไทยจึง เรียนเพ่ือการสื่อสารให้สามารถรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้คา ประโยค มาเรียบเรียงความคิด ความรู้ ใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามกฎเกณฑ์ และเลือกใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสารได้ ถกู ตอ้ งตามความเหมาะสม กาลเทศะ และบคุ คล เพ่ือให้การสื่อสารน้ันเกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ จากการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา ผู้วิจัยพบปัญหาว่านักเรียนใช้ประโยคในการส่ือสารไม่ถูกต้อง ในการแต่งประโยคจากคาศัพท์ในบทเรียน นกั เรียนมักแต่งประโยคไม่ถกู ตอ้ งตามไวยากรณ์ ประโยคท่ีใช้ไมส่ ามารถส่ือสารให้ผอู้ ่านหรือผู้ฟังเข้าใจได้ ชัดเจน ดังน้ันผู้วิจัยจงึ ต้องการพัฒนาหลักการใช้ภาษาไทย เร่ืองประโยคเพ่ือการสอ่ื สาร เพอ่ื ให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องประโยค ท้ัง 5 ประเภท คือ ประโยคบอกเล่า ประโยคคาถาม ประโยคปฏิเสธ ประโยคคาส่ัง และประโยคขอร้องได้ถูกต้องตามแบบท่ีกรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการกาหนด โดย ผู้วิจัยได้สร้างแบบฝึกทักษะ เร่ือง การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร โดยการใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง การใช้ ประโยคเพอ่ื การสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนผา ชอ่ วิทยา อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ภาค เรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 เพ่ือช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะและมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่ดีข้ึน นักเรียนได้พัฒนาทักษะการใช้ประโยคเพื่อการสื่อสารสามารถนาความรู้เร่ืองประโยคไปปรับใช้กับการ
ส่ือสารในชีวิตประจาวันและนาไปใช้ในการเรียนกับวิชาอื่นๆ ได้ พร้อมท้ัง มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนวิชา ภาษาไทย 3.วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 1. เพอ่ื พัฒนาแบบฝึกทักษะ เร่อื ง การใชป้ ระโยคเพื่อการสอ่ื สาร ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ทม่ี ี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นก่อนเรยี นและหลังเรยี นดว้ ยแบบฝึก ทักษะ เรอ่ื ง การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อการจัดการเรยี นรู้โดยใช้ แบบฝกึ ทกั ษะ เร่ือง การใชป้ ระโยคเพ่ือการสื่อสาร 4.สมมตุ ฐิ านของการวจิ ัย ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ก า ร เรี ย น ข อ ง นั ก เรี ย น ด้ ว ย แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ค เพ่ื อ ก า ร ส่ื อ ส า ร ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 หลงั เรยี นสงู กวา่ ก่อนเรยี น 5.ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั 1.ได้แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีมีประสิทธิ ภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 2. ได้แนวทางส่งเสริมการพัฒนาแบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ช้ันประถม ศกึ ษาปีที่ 1 ใหม้ คี ณุ ภาพสาหรบั ครูวิชาภาษาไทยตอ่ ไป 3. เป็นข้อสนเทศแก่ผู้ที่เก่ียวข้องกับการศึกษาในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ซ่ึงจะเป็น แนวทางในการปรบั ปรุงการเรยี นการสอนวชิ าภาษาไทยโดยใชแ้ บบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพอ่ื การสื่อสาร ของโรงเรียนตอ่ ไปในอนาคต 4. เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพื่อการ สอ่ื สาร สาหรบั ครผู ้สู อนทา่ นอ่นื ท่ีสนใจนาไปใชเ้ ป็นส่ือ / นวัตกรรมการเรยี นการสอนวชิ าอนื่ ๆ ตอ่ ไป 6.ขอบเขตของการวจิ ัย 6.1 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ีได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา สงั กัดสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 รวมทั้งส้ิน 24 คน 6.2 ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา ประโยคเพอื่ การส่ือสาร ท่ีมคี วามสัมพนั ธ์สอดคลอ้ งและเหมาะสมตรงตามหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 6.3 ขอบเขตดา้ นระยะเวลา ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 ต้งั แต่ 1 สิงหาคม - 20 กนั ยายน 2561 ใชเ้ วลาใน การทดลอง 17 ชัว่ โมง ไม่รวมเวลาทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
6.4 ตัวแปรทใ่ี ช้ในการวจิ ัย 6.4.1 ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ แบบฝึกทักษะการใชป้ ระโยคเพื่อการสื่อสาร กลุ่มสาระการ เรียนรูภ้ าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 6.4.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ดว้ ยแบบฝึกทกั ษะเรื่อง การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 7.นิยามศัพท์เฉพาะ แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถงึ เอกสารทจ่ี ดั ทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เนน้ ไปในทางการฝกึ ปฏบิ ตั ิ ท่สี ง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นเกิดความแมน่ ยาและเกดิ ความชานาญ ผ้วู ิจัยได้สรา้ งข้ึนใหผ้ เู้ รียนจานวน 5 ชุด ได้แก่ 1. แบบฝกึ การใชป้ ระโยคบอกเลา่ 2. แบบฝกึ การใช้ประโยคคาถาม 3. แบบฝกึ การใช้ประโยคปฏิเสธ 4. แบบฝกึ การใชป้ ระโยคคาสั่ง 5. แบบฝึกการใชป้ ระโยคขอร้อง ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนท่ีนักเรียนได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เร่ือง การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสารโดยใช้แบบฝึกทักษะ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ท่ีผู้วิจัยได้ สรา้ งข้นึ ประสิทธภิ าพของแบบฝึกเสริมทักษะ หมายถงึ กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เร่ือง การใช้ ประโยคเพื่อการสื่อสารโดยใช้แบบฝึกทักษะ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีผู้วิจัยได้สร้างขึ้น ทาให้ผู้เรียนเกิด การเรยี นรตู้ ามเกณฑ์ 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละ 80 ของคะแนนเฉลยี่ ของผู้เรียนท้ังหมดจากการทาแบบ ทดสอบ ยอ่ ยและแบบประเมนิ พฤตกิ รรมได้คะแนนไม่ต่ากว่า รอ้ ยละ 80 80 ตวั หลัง หมายถงึ รอ้ ยละ 80 ของคะแนนเฉลีย่ ของผเู้ รยี นทง้ั หมดจากการทดสอบหลงั เรียน ดว้ ยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การใชป้ ระโยคเพอ่ื การสื่อสาร โดยใช้แบบฝึกทักษะ ชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของผู้เรียนท่ีมีต่อการ จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน เรอื่ ง การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ซึ่งวัดได้จากการ วัดด้วยแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ซ่ึงผู้วิจัยสร้างข้ึน จานวน 10 ข้อ
8. กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ได้แบบฝึ กทักษะ เรื่องการ ใชป้ ระโยคเพ่ือการส่ือสาร แบบฝึกทกั ษะเรื่อง การใช้ ประโยคเพื่อการส่ือสาร - นักเรียนใช้ประโยคเพื่อ การส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ งชดั เจน - นักเรียนมีความพึงพอใจ - นัก เรี ยน มี ผล สั ม ฤ ท ธ์ิ และมีเจตคติที่ดีต่อแบบฝึ ก ทางการเรียนดีข้ึน ทกั ษะ 9.เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง 1. เอกสารเกีย่ วกบั หลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 2. เอกสารเก่ยี วกบั สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย 3. เอกสารเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้ ความเขา้ ใจ หลกั การใช้ภาษาไทย เรอ่ื งประโยค 4. เอกสารเกยี่ วกบั แนวคิดทฤษฎกี ารเรยี นการสอนวิชาภาษาไทย 5. เอกสารเกี่ยวกบั การสร้างแบบฝึก 6. เอกสารเกยี่ วกบั ประสิทธภิ าพ 7. เอกสารเกี่ยวกับการหาค่าดัชนปี ระสทิ ธิผล 8. เอกสารเกี่ยวกับความพงึ พอใจ 9. งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ชื่อเรอ่ื ง ก ชื่อผู้วิจัย กติ ติกรรมประกาศ สาระการเรยี นรู้ แบบฝกึ ทักษะการใช้ประโยคเพอ่ื การสื่อสาร สาหรับนักเรยี น ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นผาช่อวิทยา อาเภอแจห้ ่ม จงั หวัดลาปาง นางสาวกรรณิการ์ ธิวงศ์ ภาษาไทย บทคดั ยอ่ การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง การใช้ประโยคเพื่อการ สื่อสาร กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ รูปแบบหน่ึงท่ีสามารถพัฒนาผู้เรียนด้านการใช้ประโยคชนิดต่างๆ ท้ัง 5 ชนิด คือ ประโยคบอกเล่า ประโยคคาถาม ประโยคปฏิเสธ ประโยคคาส่ัง และประโยคขอร้อง ในการส่ือสารได้อย่างถูกต้องตาม หลักไวยากรณ์ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในระดับสูงขึ้นไป ตลอดจนเป็นการพัฒนาทักษะการใช้ ภาษาเพื่อการสื่อสารให้ถูกตอ้ ง โดยมีความมุง่ หมาย เพ่ือพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ แบบฝึกทักษะ เรื่อง การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ เรื่องการใช้ประโยคเพ่ือ การส่ือสาร และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อ การจัดการเรยี นรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องการใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง สานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 จานวน 24 คน ซ่ึงได้มาโดย การเลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้ามี 4 ชนิด ได้แก่แผนการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ จานวน 1 แผน รวมเวลา 7 ชว่ั โมง แบบฝึกทกั ษะ จานวน 5 ชุด แบบฝกึ แตล่ ะชุดประกอบดว้ ย แบบฝึกทักษะ 3 แบบฝึกย่อย รวมท้ังสิ้น15 แบบฝึกย่อย โดยสอนแต่ละครั้งใช้แบบฝึกทักษะ ครั้งละ 1 แบบฝึกย่อย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ และแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 3 ระดับ จานวน 10 ข้อ สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู คอื รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง การใช้ ประโยคเพื่อการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 93.73/89.25 คา่ ดัชนีประสิทธิผล (E.I) ของการเรียนรู้ มีค่าเท่ากบั 0.8925 หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 89.25 นักเรียนมีคะแนนเฉลย่ี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรยี น และมีความพึงพอใจ ต่อการเรียนรดู้ ว้ ยกจิ กรรมโดยการใชแ้ บบฝกึ ทักษะอยู่ในระดับมาก
ข โดยสรุป การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง การใช้ประโยคเพ่ือการ สื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เหมาะสมช่วยพัฒนาการเรียนรู้ด้านการเขียนประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถนาไปใช้เป็นความรู้ พื้นฐานในการเรยี นรู้ในระดบั สูงขนึ้ ไปและเรยี นร้กู บั วชิ าอ่ืน เพอ่ื ใหบ้ รรลุความมุ่งหมายของหลกั สูตรได้
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรศกึ ษำคน้ ควำ้ การวิจัย เรื่อง แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร สาหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ โรงเรียนผาช่อวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ในครัง้ น้ี ผ้วู จิ ัยไดด้ าเนนิ การศึกษาคน้ คว้าตามขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 2. ระยะเวลาการศึกษา 3. เน้อื หาท่ใี ช้ในการศึกษา 4. เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา 5. การสรา้ งเครือ่ งมือและหาคุณภาพของเคร่อื งมือ 6. วธิ ีดาเนนิ การศกึ ษา 7. ขน้ั ตอนในการดาเนินการศกึ ษา 8. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการวิเคราะห์ข้อมลู 9. สถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ประชำกรและกล่มุ ตวั อยำ่ ง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 รวมท้งั สน้ิ 25 คน ระยะเวลำกำรศึกษำ ระยะเวลาในการศึกษาคอื ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 20 กันยายน 2561 ใช้เวลาในการทดลอง 17 ช่ัวโมงรวมเวลาท่ีทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre - test) และหลังเรียน (Post - test) เนอ้ื หำทีใ่ ชใ้ นกำรศึกษำ เนื้อหาท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จากหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน แบ่งเนื้อหาไดด้ งั นี้ 1. แบบฝึกประโยคบอกเลา่ 2. แบบฝกึ ประโยคคาถาม
- 51 - 3. แบบฝกึ ประโยคปฏิเสธ 4. แบบฝกึ ประโยคคาส่ัง 5. แบบฝกึ ประโยคขอร้อง เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นกำรศกึ ษำ เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษาคน้ ควา้ ประกอบดว้ ย ดังน้ี 1. แผนการจัดการเรยี นรู้ จานวน 1 แผน 2. แบบฝกึ ทกั ษะการเขียนเพ่อื พฒั นาความคิดสร้างสรรค์ จานวน 1 ชดุ 3. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น แบบเลอื กตอบ ชนดิ 3 ตัวเลือก จานวน 20 ขอ้ 4. แบบประเมนิ แบบฝึกทักษะ สาหรบั ผเู้ ชี่ยวชาญ 5. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ีมีต่อการใช้แบบ ฝึกทักษะ เป็นส่ือประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เร่ือง การเขียนเพ่ือพัฒนาความคิด สรา้ งสรรค์ กำรสรำ้ งเครอ่ื งมือและกำรหำคุณภำพของเคร่อื งมือ ผู้วจิ ยั ได้ดาเนินการสรา้ งและหาคุณภาพของเคร่อื งมอื ดังน้ี 1. กำรสร้ำงแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เร่ือง การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 1 (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3) มี ขน้ั ตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร ประกอบด้วย หลักการ จุดมุ่งหมายของ หลกั สูตร สาระหลกั มาตรฐานตามสาระหลัก มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ัน สาระการเรียนรู้ช่วงชัน้ ท่ี 1 (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โครงสร้างหลักสูตร แนว ดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 2 กาหนดผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง ผู้วิจยั ทาโดยการวเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ชว่ งชัน้ เป็นการกาหนดสิ่งท่ตี อ้ งการให้ผเู้ รยี นมีหรือบรรลทุ ั้งทางดา้ นความรู้ทักษะและเจตคติ ขัน้ ที่ 3 กาหนดสาระการเรียนรู้ โดยจัดทาเปน็ หนว่ ยการเรียนรู้ ข้ันท่ี 4 กาหนดแนวการจดั การเรียนรู้ โดยพิจารณาว่าการจัดการเรียนรู้ในแผนการจัด การเรียนรู้แต่ละแผนมีจุดเน้นและสาระสาคัญอะไร จะต้องจัดกระบวนการเรียนรู้เน้ือหาใดจึงจะ ครอบคลุมครบถ้วน จะเลือกใช้เทคนิคหรือวิธีสอนใดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จึงจะทาให้ผู้เรียน บรรลุผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง และจะใช้ส่ือ/นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ใดจึงจะสอดคล้องเหมาะสม กับกิจกรรมการเรยี นรู้ทกี่ าหนด ขั้นท่ี 5 กาหนดวิธีการวดั ผลและประเมนิ ผล ซง่ึ เปน็ กิจกรรมทส่ี าคัญทสี่ อดแทรกอยูใ่ น ทุกขั้นตอนของกระบวนการจัดการเรียนรู้ เริ่มตั้งแต่ก่อนเรียนจะเป็นการประเมินเพ่ือตรวจสอบ ความรู้พื้นฐานของผู้เรียนระหว่างเรียนเป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงผลการเรียนและเพ่ือให้ผู้เรียน
- 52 - ทราบผลการเรยี นของตนเปน็ ระยะ ๆ เมื่อสน้ิ สุดการเรียนจะเป็นการประเมนิ เพอ่ื ตัดสนิ ผลการเรียนว่า ผู้เรียนบรรลุผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั ไวห้ รือไม่ ข้ันที่ 6 ดาเนินการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ โดยการปรับรูปแบบของกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (กรมวิชาการ, 2545 : 187 - 193) ขั้นที่ 7 นาแผนการจัดการเรียนรู้มาปรับปรุงแก้ไขด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การใช้ ภาษา รวมท้งั การวดั ผลประเมนิ ผลตามที่ผเู้ ช่ียวชาญแนะนา ข้ันท่ี 8 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้รับการปรับแก้ไขแล้วเสนอให้ผู้เช่ียวชาญชุดเดิม ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมท้ังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จุดประสงค์การเรียนรู้ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล อีกคร้ังหนึ่ง แล้วนาไปปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องโดยใช้ แบบประเมินคณุ ภาพของแผนการจดั การเรียนรทู้ ีผ่ ูศ้ ึกษาสร้างข้ึนให้ผูเ้ ชี่ยวชาญประเมนิ ขั้นท่ี 9 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการตรวจสอบหาค่าประสิทธิภาพสมบูรณ์แล้วไป จัดทาเป็นรูปเลม่ เพื่อนาไปทดลองใชก้ ับกลมุ่ ตวั อย่างตอ่ ไป 2. กำรสร้ำงแบบฝึกเสริมทักษะ กำรใช้ประโยคเพื่อกำรส่ือสำร สำหรับนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษำปที ี่ 1 ผู้วิจยั ไดด้ าเนนิ การสรา้ งตามลาดบั ขนั้ ตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับหลักการและวิธีการสร้างแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยค เพื่อการส่ือสาร จากเอกสารตาราของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครู (2534 : 10 - 14) เพอ่ื เปน็ แนวทางในการจดั เนอ้ื หาสาระและสรา้ งแบบฝึกทกั ษะอยา่ งถูกต้อง ขั้นท่ี 2 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครู แบบเรียน และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ัน สาระ การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อคัดเลือกและกาหนดเน้ือหา สาระของบทเรยี น ขัน้ ที่ 3 เลือกสาระการเรียนรู้ เรอ่ื ง การใชป้ ระโยคเพื่อการส่อื สาร ระดับชน้ั ประถมศึกษา ปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นท่ี 1 (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3) ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มาใช้ในการทดลองและจัดทาหน่วยการจัดการเรียนรู้และ สาระการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 4 สาระโดยกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรมเพ่ือเป็น แนวทางในการจดั ทาแบบฝกึ ทกั ษะ ข้ันที่ 4 วิเคราะห์หลักสูตร สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อสร้างแบบฝึก เสริมทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร โดยแบ่งสาระการเรียนรู้ออกเป็น 5 สาระ สร้างแบบฝึก ทักษะ การเขียนเพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ จานวน 1 เล่ม ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน 10 ช่วั โมง ข้ันท่ี 5 นาแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร มาปรับปรุงแก้ไขด้านการใช้ ภาษา ลกั ษณะตวั อักษร การเน้นสาระการเรยี นรู้ และการเชือ่ มโยงเน้ือหาระหวา่ งกรอบแต่ละกรอบ ตามท่ผี ู้เช่ียวชาญเสนอแนะ ขั้นท่ี 6 นาแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ท่ีได้รับการปรับแก้ไขแล้วเสนอ ให้ผู้เชี่ยวชาญชุดเดิมตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมท้ังผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง ด้านเน้ือหา
- 53 - รูปแบบ การนาเสนอกิจกรรมการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล อีกครั้งหน่ึง แล้วนาไป ปรบั ปรงุ แก้ไขข้อบกพร่อง การทดลอง ทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา ท่ีไม่ใช่กลุ่ม ตัวอย่างในการทดลอง จานวน 3 คน คือ นักเรียนท่ีเรียนเก่ง 1 คน เรียนปานกลาง 1 คนและ เรียนอ่อน 1 คน โดยใช้แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร เพื่อหาข้อบกพร่องของแบบฝึก ทักษะเก่ียวกับขนาดของตัวอักษร ภาพประกอบ การใช้ภาษา ด้านเนื้อหา และความเหมาะสม เกี่ยวกับเวลาจากการสอบถามและการสังเกตได้รับคาตอบว่า แบบฝึกทักษะ การเขียนเพ่ือพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ น่าสนใจดีและนักเรียนไม่เคยเห็นมาก่อน เรียนง่าย เข้าใจดีในเวลาท่ีเหมาะสม แต่ก็มีบางชุดยังมีข้อบกพร่อง เช่น คาถามไม่ชัดเจน คาถามยาวเกินไป ขนาดของตัวอักษรเล็ก เกินไป รูปภาพไม่สวยและได้แก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องให้ถูกต้องสมบูรณ์ นาเสนอให้ผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพอีกคร้งั หนงึ่ ตามแบบประเมนิ ท่ีผ้ศู ึกษาสร้างขนึ้ ขั้นท่ี 7 นาผลการประเมินแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพอ่ื การสื่อสาร ที่ไดม้ าวเิ คราะหห์ า คา่ เฉลย่ี แล้วนาค่าเฉลี่ยไปเปรยี บเทยี บเกณฑ์ตามวิธกี ารของ Likert (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 102 - 103) ผลการประเมินพบว่า แบบฝึกเสรมิ ทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร มรี ะดบั คะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 4.76 แสดงวา่ มีความเหมาะสมมากทสี่ ุด ใหค้ วามหมายของค่าเฉลยี่ กาหนดตามเกณฑ์ของบุญชม ศรีสะอาด (2545, 103) มีดังน้ี คะแนนเฉลย่ี การแปลผล 4.51 – 5.00 เหมาะสมมากทีส่ ดุ 3.51 – 4.50 เหมาะสมมาก 2.51 – 3.50 เหมาะสมปานกลาง 1.51 – 2.50 เหมาะสมน้อย 1.00 – 1.50 เหมาะสมน้อยท่สี ุด ขั้นที่ 8 นาแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ท่ีได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้วไป จดั ทาเปน็ รปู เลม่ สมบรู ณ์เพื่อนาไปทดลองใชก้ บั กลุ่มตัวอยา่ ง 3. กำรสร้ำงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน เรื่อง การใช้ประโยคเพ่ือการ สื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงช้ันท่ี 1 (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3) ระดับช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 1 เปน็ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบชนดิ 3 ตัวเลอื ก จานวน 20 ขอ้ ดงั นี้ ขั้นท่ี 1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครู แบบเรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น สาระ การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อคัดเลือกและกาหนดเนื้อหา สาระของบทเรียน วธิ ีสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของ สมนึก ภทั ทิยธนี, (2544 : 73 – 154) ขนั้ ท่ี 2 วิเคราะห์หลักสูตร สาระการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั เรื่อง หลักภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชว่ งชัน้ ที่ 1 (ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3) ระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1
- 54 - ข้ันท่ี 3 ศึกษาวิธีเขียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบเลือกตอบจากเอกสาร ตารา (สมนึก ภัททิยธนี, 2544 : 82 – 91) สรา้ งข้อสอบให้ครอบคุลมตามผลการเรียนรู้ท่ีคาด หวงั และเนื้อหาสาระ จานวน 40 ข้อ ต้องการใช้จรงิ จานวน 20 ข้อ ตามตารางแสดงจานวน แบบทดสอบที่กาหนดไว้ ตาราง 1 จานวนแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนท่อี อกและแบบทดสอบทีต่ ้องการ เร่ือง จานวนแบบทดสอบ จานวนแบบทดสอบ ทอี่ อก ท่ตี ้องการ ชดุ ท่ี 1 เรอ่ื ง ประโยคบอกเล่า ชุดท่ี 2 เรื่อง ประโยคคาถาม 8 4 ชุดท่ี 3 เร่ือง ประโยคปฏิเสธ 8 4 ชดุ ท่ี 4 เร่อื ง ประโยคคาส่งั 8 4 ชดุ ที่ 5 เร่อื ง ประโยคขอรอ้ ง 8 4 8 4 รวม 40 20 ขน้ั ที่ 4 นาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทสี่ รา้ งขึ้นเสนอต่อผ้เู ชยี่ วชาญชุดเดิม ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างเน้ือหากับจุดประสงค์การเรยี นรู้ว่าสามารถวัดได้ครอบคลุมเน้ือ หา หรือไม่โดยใชว้ ิธีของโรวิเนลลี (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (R.K. Hambleton) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 63 - 65) หลังจากผู้เช่ียวชาญพิจารณาเรียบร้อยแล้ว นามาหาค่าเฉลี่ยและเทียบเกณฑ์ท่ีกาหนด ถ้าค่าเฉล่ียคะแนนต้ังแต่ 0.5 ถึง 1.00 ถือว่าแบบทดสอบน้ันสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่ี คาดหวัง ขั้นที่ 5 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิท่ีผ่านการพิจารณาจากผู้เช่ียวชาญมาทาการพิมพ์ เป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฉบับจริงแล้วนาไปทดลองทดสอบ (Try - out) กับ ผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 3 ที่ไมใ่ ช่กลมุ่ ตวั อย่างจานวน 15 คน นาผลการทดลองที่ไดไ้ ปหาคณุ ภาพของข้อสอบ ข้นั ท่ี 6 นากระดาษคาตอบท่ีได้มาตรวจให้คะแนนข้อละ 1 คะแนน สาหรับคาตอบทถี่ ูก และให้ 0 สาหรับคาตอบท่ีผิดหรือไม่ตอบเลย นามาวิเคราะห์หาค่าความยากง่ายและค่าอานาจ จาแนกของแบบทดสอบรายข้อ โดยใช้สตู รของ Brennan (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545 : 90) ขั้นท่ี 7 คัดเลอื กข้อสอบท่เี ขา้ เกณฑ์ คือ ข้อสอบทมี่ ีคา่ ความยากง่ายระหวา่ ง 0.26 ถึง 0.98 และค่าอานาจจาแนกต้ังแต่ 0.22 ถึง 0.98 พบวา่ ได้ข้อสอบตามเกณฑ์ จานวน 20 ขอ้ ขั้นท่ี 8 นาแบบทดสอบที่คัดเลือกไว้แล้วมาวิเคราะห์หาค่าความเช่ือม่ันโดยใช้วิธีของ Lovett (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 96) ผลปรากฏว่า ได้ค่าความเช่ือม่ันเท่ากับ 0.81 ซึ่งอยู่ ในเกณฑส์ ูง สามารถนาแบบทดสอบชดุ นี้ไปใช้ได้ ข้ันท่ี 9 จัดพิมพ์แบบทดสอบที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว จานวน 20 ข้อ เพื่อ นาไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง
- 55 - 4. กำรสร้ำงแบบประเมินแบบฝึกทักษะ เร่ือง การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 มีลาดับขัน้ ตอน ดงั ต่อไปน้ี ข้ันที่ 1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบประเมินจากหนังสือ เอกสารและตาราท่ีเก่ียวข้องกับ วิธีการสร้างแบบประเมินแบบฝึกเสริมทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 102 - 103) ข้ันที่ 2 สร้างแบบประเมินแบบฝึกทักษะ การเขียนเพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้ สูตรดัชนีหาค่าความสอดคล้อง IOC (Index Of Ltem Objective Congrucnce) ของ สมนึก ภทั ทยิ ธนี (2546 : 166 – 167) มีเกณฑ์ ดังนี้ ใหค้ ะแนน + 1 เมือ่ แน่ใจวา่ มเี นอื้ หาสาระตรงตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ ให้คะแนน 0 เม่อื ไมแ่ นใ่ จวา่ เนอ้ื หาสาระตรงตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ ใหค้ ะแนน -1 เมือ่ แน่ใจวา่ มีเนอ้ื หาสาระไมต่ รงตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ขั้นท่ี 3 นาแบบประเมินท่ีสร้างขึ้นเสนอต่อผู้เช่ียวชาญชุดเดิมพิจารณาความถูกต้องด้าน การสร้างแบบประเมิน ด้านพฤติกรรมท่ีต้องการประเมิน พิจารณาความเหมาะสมของข้อความและ ความเท่ียงของแบบประเมิน แล้วนามาปรับปรุงแก้ไขความถูกต้อง หลังจากน้ันนาเสนอผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งใหเ้ หมาะสมอกี รอบก่อนท่ีจะนาไปใช้กับกลุ่มตวั อย่าง ข้ันท่ี 4 เมื่อแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมแล้ว จึงดาเนินการจัดพิมพ์แบบประเมินแบบฝึก ทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ที่ สมบูรณ์ไปทดลองใช้และนาผลที่ได้มาวิเคราะห์ค่าความสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแล้วคัดเลือก ข้อคาถามท่ีมีอานาจจาแนกต้ังแต่ 0.30 ถึง 1.00 นามาหาค่าความเชื่อมั่น โดยแบบประเมินแบบ ฝกึ เสริมทกั ษะ การเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ ทผี่ ้ศู ึกษาสรา้ งข้นึ มีค่าความเชอื่ มนั่ เท่ากับ 0.65 ขน้ั ท่ี 5 พมิ พแ์ บบประเมนิ หรอื แบบสอบถามฉบบั จรงิ ไปใหผ้ ู้เชย่ี วชาญทาการประเมิน 5. กำรสร้ำงแบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกำรจัดกำรเรียนรู้ โดยใช้ แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยดาเนินการตามลาดับ ข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี ขั้นท่ี 1 วิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ โดยวิเคราะห์จาก จดุ ประสงค์ในการศึกษาแล้วกาหนดโครงสรา้ งเน้ือหาของแบบสอบถาม ขั้นที่ 2 ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามและกาหนดรูปแบบของแบบสอบถามโดยยึด หลักการและทฤษฎีของ บุญชม ศรสี ะอาด (2545 : 69 -72, 102 - 103) ขั้นที่ 3 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน โดยมีลักษณะเป็นมาตราส่วน ประมาณค่าตามวิธีการของลิคอร์ท (Likert) มี 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากท่ีสุด เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมน้อย เหมาะสมนอ้ ยทีส่ ดุ (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 102 - 103) ดงั นี้
- 56 - เหมาะสมมากทส่ี ดุ ให้ 5 คะแนน เหมาะสมมาก ให้ 4 คะแนน เหมาะสมปานกลาง ให้ 3 คะแนน เหมาะสมนอ้ ย ให้ 2 คะแนน เหมาะสมนอ้ ยทีส่ ดุ ให้ 1 คะแนน ข้ันที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นโดยมีคาถามท่ี ครอบคลมุ องค์ประกอบของแบบฝึกทักษะ การใชป้ ระโยคเพื่อการส่อื สาร ดา้ นดงั นี้ 1. ลักษณะรปู เลม่ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3. สาระการเรียนรู้ 4. กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ 5. การวดั ผลและการประเมนิ ผล ข้ันท่ี 5 นาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยวิธีใช้ แผนการจัดการเรียนรู้และบทเรียนสาเร็จรูปท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนไปให้ผู้เช่ียวชาญชุดเดิมจานวน 5 ท่าน ตรวจสอบและพิจารณาความเหมาะสมของข้อความและความเที่ยงของแบบสอบถามเพื่อปรับปรุง แก้ไขใหเ้ หมาะสมก่อนนาไปใช้ ด้านการใชภ้ าษาของคาถามและจานวนขอ้ ของแบบสอบถาม ขั้นท่ี 6 ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามตามท่ีผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะแล้วนาไปทดลองใช้กับ ผู้เรียนที่ไมใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 คน แล้วนาผลการทดลองใช้แบบสอบถามมาหาคุณภาพ พร้อมกับเคร่ืองมอื อ่นื ๆ ขั้นท่ี 7 หาคุณภาพของแบบสอบถามรายข้อ โดยวิธี Item – total Correlation ใช้สูตร สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน (Simple Correlation Coeffieient) แล้วคัดเลือกข้อที่มีอานาจจาแนก ระหว่าง 0.30 ถงึ 1.00 ไว้ ข้ันที่ 8 นาแบบสอบถามทค่ี ัดเลือกไว้มาหาค่าความเชอ่ื มั่นท้ังฉบบั ตามวธิ ีของ ครอนบาค (Cronbach) ซง่ึ ได้ค่าความเช่ือมั่นทง้ั ฉบับเทา่ กบั 0.91 ขนั้ ท่ี 9 จัดพิมพ์แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี นฉบับสมบรู ณเ์ พอื่ นาไปเก็บขอ้ มูล ต่อไป
- 57 - วิธีดำเนินกำรศกึ ษำ การวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้รูปแบบของการทดลองแบบ One Group Pre – test Post – test Design (พวงรตั น์ ทวรี ัตน์, 2540 : 60) ปรากฏดังตาราง 2 ตาราง 2 แบบแผนการทดลอง One Group Pre – test Post – test Design กลุม่ ทดลอง Pre – test Treatment Post – test N T1 X1 T2 T1 หมายถึง การทดสอบก่อนการใชก้ ารทดลอง T2 หมายถงึ การทดสอบหลงั การใช้การทดลอง X1 หมายถึง การเรียนจากแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่อื การสือ่ สาร ขนั้ ตอนในกำรดำเนนิ กำรศึกษำ ในการวจิ ยั ครัง้ นี้ผู้วจิ ัยดาเนินการศึกษาตามลาดบั ขัน้ ตอน ดังตอ่ ไปน้ี 1. การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ก่อน เรียน (Pre – test ) กับผู้เรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จานวน 20 ข้อ ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 30 นาที แล้วทาการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จาก การทาแบบทดสอบไว้เพ่อื วเิ คราะหข์ ้อมลู ในขั้นตอนต่อไป 2. ดาเนินการทดลองสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 1 ระยะเวลาในการศกึ ษาคือ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 1 สิงหาคม - 20 กันยายน 2561 โดยใช้เวลา 17 ช่ัวโมง รวมเวลาที่ทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre - test) และหลัง เรยี น (Post - test) ปรากฏดงั ตาราง 3 ตาราง 3 การจัดการเรียนรู้ตามช่ัวโมงเวลาสอนในการทดลอง วนั เดือน ปี รำยกำรท่ที ดลอง ชว่ั โมง 1 กนั ยายน 2561 1 2 กนั ยายน 2561 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องประโยคเพ่ือการส่อื สาร 1 สอนเรื่องประโยคเพ่ือการสื่อสาร เรื่อง ประโยคบอกเล่า 5 กนั ยายน 2561 ทาแบบฝกึ ทกั ษะเร่ืองประโยคบอกเลา่ แบบฝึกท่ี 1-3 1 สอนเรือ่ งประโยคเพือ่ การสอ่ื สาร เรือ่ ง ประโยคคาถาม 6 กนั ยายน 2561 ทาแบบฝกึ ทกั ษะเรอื่ งประโยคคาถาม แบบฝกึ ที่ 1-3 1 สอนเรอื่ งประโยคเพอื่ การส่อื สาร เร่อื ง ประโยคปฏิเสธ ทาแบบฝึกทักษะเร่ืองประโยคปฏิเสธ แบบฝึกที่ 1-3
- 58 - 7 กนั ยายน 2561 สอนเรอ่ื งประโยคเพอื่ การสื่อสาร เรื่อง ประโยคคาสั่ง 1 8 กันยายน 2561 ทาแบบฝกึ ทักษะเรื่องประโยคคาสง่ั แบบฝกึ ที่ 1-3 9 กันยายน 2561 1 สอนเรือ่ งประโยคเพื่อการสื่อสาร เร่ือง ประโยคขอรอ้ ง ทาแบบฝกึ ทกั ษะเรือ่ งประโยคขอร้อง แบบฝึกที่ 1-3 1 7 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เรือ่ งประโยคเพ่อื การสอ่ื สาร รวม การดาเนินการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ได้ดาเนินการตามแผนการจดั การเรียนรู้ โดยในบางแผนการจัดการเรียนรู้อาจใช้ แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ในข้ันการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หรือในข้ันสรปุ ผลการ เรียนรู้ แต่การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 จน ครบ 3. การทดสอบหลังเรยี น (Post – test) เมื่อส้ินสุดการดาเนินการทดลองแล้วให้ผู้เรียนทา การสอบหลงั เรยี น (Post – test ) โดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรือ่ ง การใช้ประโยค เพ่ือการส่ือสาร ซ่ึงเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิฉบับเดียวกับที่ทดสอบก่อนเรียน (Pre – test ) 4. นาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยแบบฝึกทักษะ การใชป้ ระโยคเพอื่ การสื่อสาร ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น กำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู และกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู ในการวิเคราะห์ข้อมูลในคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมสาเร็จรูป (Statistical Package for the Social Sciences (SPSS for windows Version10) วิเคราะห์ ข้อมูล ดงั นี้ 1. วิเคราะห์หาคณุ ภาพของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 1.1 หาคา่ ความยาก (Difficulty) (P) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นรายขอ้ 1.2 ห าค่ า อ า น าจ จ าแ น ก โด ย วิ ธี ข อ ง Brennan (Discrimination) (B) ข อ ง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรายข้อ 1.3 หาค่าความเช่ือม่ัน (Reliability) (r∞) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นตามวธิ ขี อง Lovett 1.4 หาค่าความเที่ยง (Validity) ของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น โดยใช้สตู รดัชนีความสอดคล้อง IOC 2. การหาคา่ คณุ ภาพของแบบประเมินหรือแบบสอบถาม 2.1 หาอานาจจาแนกโดยใชส้ ัมประสทิ ธิ์สหสัมพันธ์อย่างงา่ ยแบบ Pearson ระหวา่ งคะแนนแต่ละข้อกบั คะแนนรวม (Item – total C0rrelation) 2.2 หาความเชอ่ื มนั่ ของแบบสอบถามทั้งฉบบั โดยใชว้ ธิ ขี อง Cronbach
- 59 - (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 99) 3. การวิเคราะห์แบบประเมินแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 สาหรับผู้เช่ียวชาญโดยใช้ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน โดยกาหนด เกณฑก์ ารประเมนิ (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2545 : 103) ดงั นี้ 5 เหมาะสมมากท่สี ดุ ระดับคะแนนเฉล่ีย 4.51 – 5.00 4 เหมาะสมมาก ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 3 เหมาะสมปานกลาง ระดบั คะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.50 2 เหมาะสมน้อย ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 1 เหมาะสมนอ้ ยทีส่ ุด ระดบั คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 4. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใชส้ ถติ ิพ้ืนฐานดงั นี้ 4.1 รอ้ ยละ (Percentage) 4.2 ค่าเฉลยี่ (Mean) 4.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 4.4 การคานวณหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการ ส่ือสาร ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80 5. การวิเคราะห์ดชั นปี ระสทิ ธผิ ล IOC 6. การวิเคราะห์แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) กาหนดเกณฑ์ในการให้คะแนนความพึงพอใจของ นกั เรยี นที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑก์ ารประเมิน (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545 : 102 - 103) ดังน้ี 5 เหมาะสมมากทส่ี ดุ ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 4 เหมาะสมมาก ระดบั คะแนนเฉล่ยี 3.51 – 4.50 3 เหมาะสมปานกลาง ระดบั คะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.50 2 เหมาะสมนอ้ ย ระดบั คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 1 เหมาะสมนอ้ ยทสี่ ุด ระดบั คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 สถิติทีใ่ ช้ในกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู 1. คา่ สถิตพิ ้ืนฐาน 1.1 ร้อยละ (Percentage) (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2545 : 104) สูตร P = f x100 N เมอ่ื P แทน ร้อยละ f แทน ความถ่ีท่ตี อ้ งการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จานวนความถีท่ ้งั หมด
- 60 - 1.2 ค่าเฉล่ีย (Mean) จากสูตร (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 105) สตู ร X = x N X แทน คา่ เฉล่ยี X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดในกลุม่ N แทน จานวนคะแนนในกลุ่ม 1.3 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) จากสูตร (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 106 - 108) สูตร S.D. = N X 2 − (X )2 N (N −1) เมอ่ื S.D. แทน สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตวั N แทน จานวนคะแนนในกลมุ่ X แทน ผลรวม 2. สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 2.1 การวิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนกแบบทดสอบ โดยวิธีของ Brennan (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 90) สูตร B = U − L n1 n2 เมื่อ B แทน ค่าอานาจการจาแนก U แทน จานวนผู้สอบผา่ นเกณฑ์ที่ตอบถกู L แทน จานวนผสู้ อบไม่ผ่านเกณฑท์ ต่ี อบถกู n1 แทน จานวนผสู้ อบผา่ นเกณฑ์ n2 แทน จานวนผสู้ อบไม่ผ่าน 2.2 หาค่าความยากง่ายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 84) สูตร P = Ru + Rl 2f เมอื่ P แทน ระดบั ความยาก Ru แทน จานวนคนกล่มุ สูงท่ีตอบถกู Rl แทน จานวนคนกลุม่ ตา่ ที่ตอบถูก 2f แทน จานวนคนในกล่มุ สูงหรอื กลุ่มตา่ ซึง่ เทา่ กนั 2.3 หาค่าความเช่ือมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอิงเกณฑ์โดย ใช้วธิ กี าร Lovett (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 96)
- 61 - สตู ร rcc = 1 - k x1− k x12 (k −1) (x1 − C)2 เมื่อ r cc แทน ความเช่ือม่ันแบบทดสอบ K แทน จานวนขอ้ สอบ X1 แทน คะแนนของแตล่ ะกล่มุ C แทน คะแนนเกณฑห์ รอื จดุ ตดั ของแบบทดสอบ 2.4 หาค่าความเท่ียงตรง ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้สูตร ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง IOC (สมนกึ ภทั ทยิ ธนี, 2546 : 221) สตู ร IOC = R N เมือ่ IOC แทน ดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหว่างข้อสอบกับวตั ถุประสงค์ R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผ้เู ชี่ยวชาญเนอ้ื หาวชิ าทงั้ หมด N แทน จานวนผเู้ ช่ยี วชาญ 3. สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการหาคณุ ภาพของเครื่องมอื 3.1 การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 3 ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใชส้ ตู ร E1/E2 ดังน้ี (เผชญิ กจิ ระการ, 2544 : 49-81) สตู ร E1 = X x100 N A เม่ือ E1 แทน ประสิทธภิ าพของกระบวนการเรียนการสอน X แทน คะแนนของแบบฝึกหรอื แบบทดสอบย่อย A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกึ เสริมทักษะทุกชดุ รวมกัน N แทน จานวนนกั เรียนทง้ั หมด สูตร E2 = X x100 N B เมื่อ E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลสมั ฤทธิ์ X แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียน B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลังเรียน N แทน จานวนนักเรยี นทง้ั หมด 3.2 คานวณค่าดัชนีประสิทธิผล แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 3 ตามวิธีของกูดแมน, เฟลทเชอร์ และ ชไนเดอร์ (Goodman, Fletcher and Schneider. 1980 : 30-40)
- 62 - ดชั นปี ระสิทธิผล = ผลรวมคะแนนทดสอบหลงั เรียน - ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน (จำนวนนกั เรียน x คะแนนเตม็ ) - ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน 3.3 วิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อแบบฝึก ทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ีผู้ศึกษาสร้างขึ้นโดยใช้เกณฑ์ การประเมนิ ความพงึ พอใจตามวธิ ีของลิเคอร์ท ซงึ่ มี 5 ระดบั ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 67) ค่าเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจมากทสี่ ุด ค่าเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก ค่าเฉล่ยี 2.51 – 3.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อย คา่ เฉล่ยี 1.00 – 1.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ดุ 4. สถติ ิทใ่ี ช้ทดสอบสมมติฐาน (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545 : 112) D สตู ร t = n D2 − ( D)2 (n −1) เม่ือ t แทน ค่าสถติ ิทจ่ี ะใชเ้ ปรยี บเทยี บกับค่าวิกฤต เพื่อทราบ ความมนี ยั สาคัญ D n แทน คา่ ผลตา่ งระหว่างคคู่ ะแนน แทน จานวนกลุม่ ตวั อย่างหรอื จานวนคู่คะแนน
บทท่ี 1 บทนำ ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปัญหำ ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติไทย ภาษาไทยเป็นเคร่ืองแสดงถึงความเป็นชาติไทย และเป็นเครื่องยึดเหน่ยี วจติ ใจให้คนไทยในชาตเิ ป็นอันหนึ่งอันเดียวกนั ภาษาไทยยงั ถอื ได้วา่ เปน็ วัฒนธรรม ที่สาคัญที่สุด เพราะภาษาเป็นเคร่ืองแสดงถึงความเจริญของชาติไทย คนไทยทุกคนจะต้องช่วยกันดารง รักษาไว้ให้มีอยู่อย่างม่ันคงตลอดไป ดังพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบันได้ พระราชทานแก่ผู้เข้าประชุมของชุมนุมภาษาไทยตอนหน่ึงว่า “ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมืออย่างหนึ่งของชาติ ... ประเทศไทยน้ันมีภาษาไทยของเราซึ่งต้องหวงแหน...เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองต้ังแต่ครั้งโบราณ กาล จึงสมควรอย่างย่ิงท่ีจะต้องรักษาไว้” (ชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์ , 2505 :74) และท่ีสาคัญคือภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสาร ทั้งการแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ และการดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม ล้วนแต่ใชภ้ าษาไทยเป็นเครื่องมือในการส่ือสารทาความเข้าใจกัน จงึ จาเป็นอย่างย่ิงที่คนไทยทุกคนต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยคในการส่ือสารได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้ การตดิ ตอ่ สอ่ื สารเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิ ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การอ่านและการฟัง เป็นทักษะของการรับรู้เร่ืองราว ความรู้ประสบการณ์ ส่วนการพูดและการเขียน เป็นทักษะของการแสดงออกด้วยความคิด ความเห็น ความรู้ประสบการณ์ การเรียนหลักภาษาไทยจึง เรียนเพ่ือการส่ือสารให้สามารถรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้คา ประโยค มาเรียบเรียงความคิด ความรู้ ใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามกฎเกณฑ์ และเลือกใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสารได้ ถูกตอ้ งตามความเหมาะสม กาลเทศะ และบคุ คล เพอ่ื ให้การส่ือสารนน้ั เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ จากการเรยี นการสอนในรายวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นผาช่อวิทยา ผวู้ จิ ัย พบปัญหาว่านักเรียนใช้ประโยคในการสื่อสารไม่ถูกต้อง ในการแต่งประโยคจากคาศัพท์ในบทเรียน นักเรียนมักแต่งประโยคไม่ถกู ต้องตามไวยากรณ์ ประโยคที่ใช้ไมส่ ามารถส่ือสารให้ผอู้ ่านหรอื ผู้ฟังเข้าใจได้ ชดั เจน ดังน้ันผู้วิจัยจึงต้องการพัฒนาหลักการใช้ภาษาไทย เรื่องการใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร เป็น การฝึกให้นักเรียนแสดงความคิด ความรู้สึก การจินตนาการผ่านการเขียนบรรยายหรือพรรณนาให้เห็น ภาพชัดเจน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเขียนได้ถูกต้องตามแบบท่ีกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการกาหนด โดยผู้วิจัยได้สร้างแบบฝึกทักษะ เร่ือง การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร โดย การใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง การใช้ประโยคเพอ่ื การสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะ และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดีขึ้น นักเรียนได้พัฒนาทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร เพื่อพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ สามารถนาความรู้เร่ืองประโยคไปปรับใช้กับการส่ือสารในชีวิตประจาวันและนาไปใช้ ในการเรียนกับวชิ าอ่นื ๆ ได้ พรอ้ มทั้ง มีเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเรยี นวิชาภาษาไทย
-2- วัตถปุ ระสงคข์ องกำรวิจัย 1. เพ่ือพัฒนาแบบฝึกทักษะ เร่ือง การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มี ประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึก ทักษะ เรื่อง การใช้ประโยคเพือ่ การสอื่ สาร ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ แบบฝึกทกั ษะ เรื่อง การใชป้ ระโยคเพ่อื การสื่อสาร สมมตุ ิฐำนของกำรวิจยั ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ก า ร เรี ย น ข อ ง นั ก เรี ย น ด้ ว ย แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร ใช้ ป ร ะ โย ค เพ่ื อ ก า ร สื่ อ ส า ร ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 หลงั เรยี นสงู กว่าก่อนเรยี น ประโยชนท์ ่คี ำดวำ่ จะไดร้ ับ 1.ได้แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ีมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 2. ได้แนวทางส่งเสริมการพัฒนาแบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ให้มีคณุ ภาพสาหรับครูวชิ าภาษาไทยต่อไป 3. เป็นข้อสนเทศแก่ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งจะเป็น แนวทางในการปรบั ปรุงการเรยี นการสอนวิชาภาษาไทยโดยใช้แบบฝึกทกั ษะการใช้ประโยคเพื่อการสือ่ สาร ของโรงเรยี นตอ่ ไปในอนาคต 4. เป็นแนวทางในการพัฒนาการจดั การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพื่อการ ส่ือสาร สาหรับครูผสู้ อนท่านอ่ืนท่ีสนใจนาไปใช้เป็นสือ่ / นวัตกรรมการเรยี นการสอนวิชาอนื่ ๆ ตอ่ ไป ขอบเขตของกำรวิจยั 6.1 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2561 รวมทั้งสิ้น 24 คน 6.2 ขอบเขตด้านเนื้อหา การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ท่ีมีความสัมพันธ์สอดคล้องและเหมาะสมตรงตาม หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 6.3 ขอบเขตดา้ นระยะเวลา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ต้ังแต่ 1 สิงหาคม - 20 กันยายน 2561 ใช้เวลาใน การทดลอง 17 ช่วั โมง รวมเวลาทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น 6.4 ตัวแปรที่ใช้ในการวจิ ยั
-3- 6.4.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ แบบฝึกการใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 6.4.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยแบบฝึกทักษะเร่ือง การเขียนเพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 1 นยิ ำมศพั ท์เฉพำะ แบบฝึกเสริมทกั ษะ หมายถึง เอกสารทจ่ี ัดทาข้ึนโดยมวี ัตถปุ ระสงค์เน้นไปในทางการฝึก ปฏิบัติ ทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดความแม่นยาและเกดิ ความชานาญ ผ้วู ิจยั ได้สร้างข้ึนใหผ้ ู้เรยี นจานวน 5 ชุด ได้แก่ 1. แบบฝึกการใช้ประโยคบอกเล่า 2. แบบฝึกการใชป้ ระโยคคาถาม 3. แบบฝกึ การใช้ประโยคปฏิเสธ 4. แบบฝึกการใช้ประโยคคาสง่ั 5. แบบฝกึ การใชป้ ระโยคขอร้อง ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน หมายถึง คะแนนที่นักเรียนได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรอื่ ง การใช้ประโยคเพอ่ื การสอ่ื สาร ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ทีผ่ ูว้ จิ ัยได้สร้างขึน้ ประสิทธิภำพของแบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง การ ใช้ประโยคเพื่อการส่อื สาร ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ทผี่ ู้วิจยั ไดส้ ร้างขนึ้ ทาให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ตามเกณฑ์ 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละ 80 ของคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนทั้งหมดจากการทาแบบทดสอบ ย่อยและแบบประเมนิ พฤตกิ รรมได้คะแนนไมต่ ่ากว่า รอ้ ยละ 80 80 ตวั หลัง หมายถงึ ร้อยละ 80 ของคะแนนเฉลีย่ ของผูเ้ รียนทั้งหมดจากการทดสอบหลงั เรยี น ดว้ ยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่อื ง การใชป้ ระโยคเพื่อการส่ือสาร โดยใช้แบบฝึกทักษะ ช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 1 ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ควำมพึงพอใจต่อกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของผู้เรียนที่มีต่อ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน เรื่อง การใช้ประโยคเพ่อื การสือ่ สาร ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ซ่ึงวดั ได้จาก การวัดด้วยแบบวัดความพึงพอใจท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น จานวน 10 ขอ้ ควำมสำคัญของกำรวิจยั 1. ได้แบบฝึกการใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ที่มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 2. ได้แนวทางส่งเสริมการพัฒนาแบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ช้ันประถม ศึกษาปีที่ 1 ใหม้ ีคุณภาพสาหรบั ครูวิชาภาษาไทยต่อไป 3. เป็นข้อสนเทศแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ซ่ึงจะเป็น แนวทางในการปรบั ปรุงการเรยี นการสอนวิชาภาษาไทยโดยใช้แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ของโรงเรียนตอ่ ไปในอนาคต
-4- 4. เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพื่อ การส่อื สาร สาหรับครผู ู้สอนทา่ นอนื่ ทสี่ นใจนาไปใชเ้ ปน็ ส่อื / นวัตกรรมการเรียนการสอนวิชาอน่ื ๆ ต่อไป
บททที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง เอกสารเกย่ี วกบั การพฒั นาความรู้ ความเข้าใจ หลกั การใช้ภาษาไทย เร่ืองประโยค ความหมายของประโยค เรืองอุไร อินทรประเสริฐ และสมหมาย ทตั ิวงษ์ ( 2544 : 72-85 ) ไดก้ ล่าวไวเ้ ก่ียวกบั เร่ือง ประโยคไวว้ า่ ประโยค คือ กลุ่มคาท่ีเรียงติดตอ่ กนั อยา่ งมีระเบียบ มีความหมายเขา้ ใจไดว้ า่ ใคร ทา อะไร สันต์ สุวทันพรกูล (2545 : 49-95) ได้กล่าวถึงเรื่องกลุ่มคาและประโยค โดยสรุปดังน้ี กลุ่มคา หรือ วลี คือ การเอาคา 2 คาข้ึนไปมาเรียงกัน แล้วเกิดความหมายแต่ยงั ไม่ได้ใจความ สมบูรณ์ เหมือนประโยค แต่ จะเป็ นประโยคไดน้ ้ัน คาท่ีมาเรียงกนั แล้วเป็ นขอ้ ความท่ีมีใจความ สมบูรณ์ชดั เจน ส่ือสารไดเ้ ขา้ ใจ โดยสรุป ประโยค คือ ขอ้ ความที่มีใจความสมบูรณ์ชดั เจนสื่อสารไดเ้ ขา้ ใจวา่ ใครทา อะไร คิดอยา่ งไร รู้สึกอยา่ งไร หรือมีสภาพอยา่ งไร ส่วนประกอบ หรือ โครงสร้างของประโยค เรืองอุไร อินทรประเสริฐ และ สมหมาย ทตั ิวงษ์ (2544 :73-85) ไดก้ ล่าวถึงส่วนประกอบ ของประโยค ไวว้ า่ ประโยคประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 2 ส่วน คือ 1. ภาคประธาน คือ ส่วนท่ีเป็ นผแู้ สดงอาการ อาจมีส่วนขยายหรือไม่มีกไ็ ด้ 2. ภาคแสดง คือ อาการท่ีประธานของประโยคแสดงออกมา อาจมีส่วนขยายหรือไมม่ ีกไ็ ด้ กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ (2548 : 48-49) ไดก้ ล่าวไวเ้ ก่ียวกบั ส่วนประกอบของ ประโยค ดงั น้ี ประโยคโดยทว่ั ไปประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 2 ส่วน ดงั น้ี 1. ประธาน ไดแ้ ก่ นาม หรือ สรรพนาม ทาหนา้ ท่ีประธาน 2. ภาคแสดง ไดแ้ ก่ กริยา คากริยา ทาหนา้ ท่ีภาคแสดง จากท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ พอสรุปไดด้ งั วา่ ส่วนประกอบของประโยค ประกอบดว้ ย 2 ส่วนคือ ภาคประธานที่ทาหนา้ เป็นผแู้ สดง และภาคแสดง เป็นอาการที่ผแู้ สดงไดก้ ระทา ชนิดของประโยคในภาษาไทย ประโยคในภาษาไทยที่ใชใ้ นการส่ือสาร สนั ต์ สุวทนั พรกลู (2545 : 101-112)ไดแ้ บง่ ประโยคตามลกั ษณะโครงสร้างออกเป็ น 3 ชนิด โดยสรุปดงั น้ี 1. ประโยคความเดียว คือ ประโยคท่ีมีใจความสาคญั เพียงใจความเดียว กล่าวคือ กล่าวถึงสิ่งหน่ึงเพยี งส่ิงเดียว
2. ประโยคความรวม คือ ประโยคท่ีประกอบดว้ ยประโยคความเดียวต้งั แต่ 2 ประโยค ข้ึนไป มารวมเป็ นประโยคเดียวกนั โดยมีคาสันธานเป็ นตวั เช่ือม เมื่อแยกประโยคออกจากกนั แลว้ จะไดป้ ระโยคความเดียวที่มีเน้ือความเป็นอิสระต่อกนั เรียกวา่ ประโยคยอ่ ย และประโยค ความรวมแบ่งไดเ้ ป็น 4 ประเภท ดงั น้ี 2.1 ประโยคที่มีใจความคลอ้ ยตามกนั มีคาสนั ธาน ไดแ้ ก่ ท้งั และ กบั ฯลฯ 2.2 ประโยคความรวมที่มีใจความขดั แยง้ กนั มีคาสนั ธาน ไดแ้ ก่ แต่ ส่วน ฯลฯ 2.3 ประโยคความรวมท่ีมีใจความให้เลือกเอาอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง มีคาสันธานไดแ้ ก่ หรือ ไม่..ก็ หรือไมก่ ็ ฯลฯ 2.4 ประโยคความรวมที่มีใจความเป็ นเหตุเป็ นผลกนั มีคาสันธานไดแ้ ก่ ฉะน้นั จึง เพราะฉะน้นั ดงั น้นั ฯลฯ 3. ประโยคความซ้อน คือ ประโยคที่ประกอบด้วยประโยคความเดียว 1 ประโยคเป็ น ประโยคหลกั (มุขยประโยค) และมีประโยคย่อย (อนุประโยค) ซ่ึงเป็ นประโยคความเดียว อ่ืน ๆ เสริมออกมา อาจทาหนา้ ท่ีขยายประธาน ขยายกริยา หรือขยายกรรมกไ็ ด้ ประเภทของประโยคในภาษาไทย กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ (2548 : 120-121) ไดแ้ บง่ ประเภทประโยคในการสื่อสาร ไวด้ งั น้ี 1. ประโยคบอกเล่า ใชบ้ อกเร่ืองราวตา่ ง ๆ ใหผ้ อู้ ่ืนรู้เร่ือง 2. ประโยคปฏิเสธ ใชบ้ อกเรื่องราวน้นั ๆ ไมใ่ ช่ ไมต่ อ้ งการ หรือ ไม่จริง มกั มีคาวา่ ไม่ ไม่ใช่ ไมไ่ ด้ อยดู่ ว้ ย 3. ประโยคคาถาม ใช้ถามผอู้ ื่นเม่ือตอ้ งการคาตอบ มกั มีคาแสดงคาถาม ใคร อะไร ที่ไหน เม่ือไร ทาไม 4. ประโยคขอร้อง ขอ้ ความท่ีใชข้ อร้องใหผ้ อู้ ่ืนทาอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด มกั มีคาวา่ กรุณา โปรด ช่วยอยดู่ ว้ ย 5. ประโยคแสดงความตอ้ งการ ใช้บอกความต้องการของตนเองให้ผูอ้ ่ืนรับรู้ มกั มีคาว่า อยาก ตอ้ งการ ประสงค์ อยดู่ ว้ ย 6. ประโยคคาส่งั ใชส้ ง่ั ใหผ้ อู้ ่ืนทาอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง อาจเป็นการใหท้ า หรือหา้ มมิใดทากไ็ ด้ โดยสรุป ประโยคในภาษาไทยที่ใช้ในการส่ือสาร สนทนา พูดคุยโดยท่ัวไป สามารถ จาแนกประโยคตามเจตนาของผสู้ ่งสารตอ้ งเลือกใชใ้ หถ้ ูกวตั ถุประสงค์
กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). การจัดการเรียนรู้กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว. กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2544ก). คู่มือการจัดการเรียนรู้กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว. กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2544ข). เอกสารประกอบหลกั สูตรข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 คู่มอื การ จัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ องคก์ ารรับส่งสินคา้ และพสั ดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ. ).
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรศกึ ษำคน้ ควำ้ การวิจัย เรื่อง แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร สาหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ โรงเรียนผาช่อวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ในครัง้ น้ี ผ้วู จิ ัยไดด้ าเนนิ การศึกษาคน้ คว้าตามขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 2. ระยะเวลาการศึกษา 3. เน้อื หาท่ใี ช้ในการศึกษา 4. เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา 5. การสรา้ งเครือ่ งมือและหาคุณภาพของเคร่อื งมือ 6. วธิ ีดาเนนิ การศกึ ษา 7. ขน้ั ตอนในการดาเนินการศกึ ษา 8. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการวิเคราะห์ข้อมลู 9. สถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ประชำกรและกล่มุ ตวั อยำ่ ง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 รวมท้งั สน้ิ 25 คน ระยะเวลำกำรศึกษำ ระยะเวลาในการศึกษาคอื ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 20 กันยายน 2561 ใช้เวลาในการทดลอง 17 ช่ัวโมงรวมเวลาท่ีทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre - test) และหลังเรียน (Post - test) เนอ้ื หำทีใ่ ชใ้ นกำรศึกษำ เนื้อหาท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จากหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน แบ่งเนื้อหาไดด้ งั นี้ 1. แบบฝึกประโยคบอกเลา่ 2. แบบฝกึ ประโยคคาถาม
- 51 - 3. แบบฝกึ ประโยคปฏิเสธ 4. แบบฝกึ ประโยคคาส่ัง 5. แบบฝกึ ประโยคขอร้อง เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นกำรศกึ ษำ เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษาคน้ ควา้ ประกอบดว้ ย ดังน้ี 1. แผนการจัดการเรยี นรู้ จานวน 1 แผน 2. แบบฝกึ ทกั ษะการเขียนเพ่อื พฒั นาความคิดสร้างสรรค์ จานวน 1 ชดุ 3. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น แบบเลอื กตอบ ชนดิ 3 ตัวเลือก จานวน 20 ขอ้ 4. แบบประเมนิ แบบฝึกทักษะ สาหรบั ผเู้ ชี่ยวชาญ 5. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ีมีต่อการใช้แบบ ฝึกทักษะ เป็นส่ือประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เร่ือง การเขียนเพ่ือพัฒนาความคิด สรา้ งสรรค์ กำรสรำ้ งเครอ่ื งมือและกำรหำคุณภำพของเคร่อื งมือ ผู้วจิ ยั ได้ดาเนินการสรา้ งและหาคุณภาพของเคร่อื งมอื ดังน้ี 1. กำรสร้ำงแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เร่ือง การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 1 (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3) มี ขน้ั ตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร ประกอบด้วย หลักการ จุดมุ่งหมายของ หลกั สูตร สาระหลกั มาตรฐานตามสาระหลัก มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ัน สาระการเรียนรู้ช่วงชัน้ ท่ี 1 (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โครงสร้างหลักสูตร แนว ดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 2 กาหนดผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง ผู้วิจยั ทาโดยการวเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ชว่ งชัน้ เป็นการกาหนดสิ่งท่ตี อ้ งการให้ผเู้ รยี นมีหรือบรรลทุ ั้งทางดา้ นความรู้ทักษะและเจตคติ ขัน้ ที่ 3 กาหนดสาระการเรียนรู้ โดยจัดทาเปน็ หนว่ ยการเรียนรู้ ข้ันท่ี 4 กาหนดแนวการจดั การเรียนรู้ โดยพิจารณาว่าการจัดการเรียนรู้ในแผนการจัด การเรียนรู้แต่ละแผนมีจุดเน้นและสาระสาคัญอะไร จะต้องจัดกระบวนการเรียนรู้เน้ือหาใดจึงจะ ครอบคลุมครบถ้วน จะเลือกใช้เทคนิคหรือวิธีสอนใดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จึงจะทาให้ผู้เรียน บรรลุผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง และจะใช้ส่ือ/นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ใดจึงจะสอดคล้องเหมาะสม กับกิจกรรมการเรยี นรู้ทกี่ าหนด ขั้นท่ี 5 กาหนดวิธีการวดั ผลและประเมนิ ผล ซง่ึ เปน็ กิจกรรมทส่ี าคัญทสี่ อดแทรกอยูใ่ น ทุกขั้นตอนของกระบวนการจัดการเรียนรู้ เริ่มตั้งแต่ก่อนเรียนจะเป็นการประเมินเพ่ือตรวจสอบ ความรู้พื้นฐานของผู้เรียนระหว่างเรียนเป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงผลการเรียนและเพ่ือให้ผู้เรียน
- 52 - ทราบผลการเรยี นของตนเปน็ ระยะ ๆ เมื่อสน้ิ สุดการเรียนจะเป็นการประเมนิ เพอ่ื ตัดสนิ ผลการเรียนว่า ผู้เรียนบรรลุผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั ไวห้ รือไม่ ข้ันที่ 6 ดาเนินการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ โดยการปรับรูปแบบของกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (กรมวิชาการ, 2545 : 187 - 193) ขั้นที่ 7 นาแผนการจัดการเรียนรู้มาปรับปรุงแก้ไขด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การใช้ ภาษา รวมท้งั การวดั ผลประเมนิ ผลตามที่ผเู้ ช่ียวชาญแนะนา ข้ันท่ี 8 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้รับการปรับแก้ไขแล้วเสนอให้ผู้เช่ียวชาญชุดเดิม ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมท้ังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จุดประสงค์การเรียนรู้ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล อีกคร้ังหนึ่ง แล้วนาไปปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องโดยใช้ แบบประเมินคณุ ภาพของแผนการจดั การเรียนรทู้ ีผ่ ูศ้ ึกษาสร้างข้ึนให้ผูเ้ ชี่ยวชาญประเมนิ ขั้นท่ี 9 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการตรวจสอบหาค่าประสิทธิภาพสมบูรณ์แล้วไป จัดทาเป็นรูปเลม่ เพื่อนาไปทดลองใชก้ ับกลมุ่ ตวั อย่างตอ่ ไป 2. กำรสร้ำงแบบฝึกเสริมทักษะ กำรใช้ประโยคเพื่อกำรส่ือสำร สำหรับนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษำปที ี่ 1 ผู้วิจยั ไดด้ าเนนิ การสรา้ งตามลาดบั ขนั้ ตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับหลักการและวิธีการสร้างแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยค เพื่อการส่ือสาร จากเอกสารตาราของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครู (2534 : 10 - 14) เพอ่ื เปน็ แนวทางในการจดั เนอ้ื หาสาระและสรา้ งแบบฝึกทกั ษะอยา่ งถูกต้อง ขั้นท่ี 2 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครู แบบเรียน และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ัน สาระ การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อคัดเลือกและกาหนดเน้ือหา สาระของบทเรยี น ขัน้ ที่ 3 เลือกสาระการเรียนรู้ เรอ่ื ง การใชป้ ระโยคเพื่อการส่อื สาร ระดับชน้ั ประถมศึกษา ปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นท่ี 1 (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3) ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มาใช้ในการทดลองและจัดทาหน่วยการจัดการเรียนรู้และ สาระการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 4 สาระโดยกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรมเพ่ือเป็น แนวทางในการจดั ทาแบบฝกึ ทกั ษะ ข้ันที่ 4 วิเคราะห์หลักสูตร สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อสร้างแบบฝึก เสริมทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร โดยแบ่งสาระการเรียนรู้ออกเป็น 5 สาระ สร้างแบบฝึก ทักษะ การเขียนเพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ จานวน 1 เล่ม ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน 10 ช่วั โมง ข้ันท่ี 5 นาแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร มาปรับปรุงแก้ไขด้านการใช้ ภาษา ลกั ษณะตวั อักษร การเน้นสาระการเรยี นรู้ และการเชือ่ มโยงเน้ือหาระหวา่ งกรอบแต่ละกรอบ ตามท่ผี ู้เช่ียวชาญเสนอแนะ ขั้นท่ี 6 นาแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ท่ีได้รับการปรับแก้ไขแล้วเสนอ ให้ผู้เชี่ยวชาญชุดเดิมตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมท้ังผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง ด้านเน้ือหา
- 53 - รูปแบบ การนาเสนอกิจกรรมการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล อีกครั้งหน่ึง แล้วนาไป ปรบั ปรงุ แก้ไขข้อบกพร่อง การทดลอง ทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา ท่ีไม่ใช่กลุ่ม ตัวอย่างในการทดลอง จานวน 3 คน คือ นักเรียนท่ีเรียนเก่ง 1 คน เรียนปานกลาง 1 คนและ เรียนอ่อน 1 คน โดยใช้แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร เพื่อหาข้อบกพร่องของแบบฝึก ทักษะเก่ียวกับขนาดของตัวอักษร ภาพประกอบ การใช้ภาษา ด้านเนื้อหา และความเหมาะสม เกี่ยวกับเวลาจากการสอบถามและการสังเกตได้รับคาตอบว่า แบบฝึกทักษะ การเขียนเพ่ือพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ น่าสนใจดีและนักเรียนไม่เคยเห็นมาก่อน เรียนง่าย เข้าใจดีในเวลาท่ีเหมาะสม แต่ก็มีบางชุดยังมีข้อบกพร่อง เช่น คาถามไม่ชัดเจน คาถามยาวเกินไป ขนาดของตัวอักษรเล็ก เกินไป รูปภาพไม่สวยและได้แก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องให้ถูกต้องสมบูรณ์ นาเสนอให้ผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพอีกคร้งั หนงึ่ ตามแบบประเมนิ ท่ีผ้ศู ึกษาสร้างขนึ้ ขั้นท่ี 7 นาผลการประเมินแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพอ่ื การสื่อสาร ที่ไดม้ าวเิ คราะหห์ า คา่ เฉลย่ี แล้วนาค่าเฉลี่ยไปเปรยี บเทยี บเกณฑ์ตามวิธกี ารของ Likert (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 102 - 103) ผลการประเมินพบว่า แบบฝึกเสรมิ ทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร มรี ะดบั คะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 4.76 แสดงวา่ มีความเหมาะสมมากทสี่ ุด ใหค้ วามหมายของค่าเฉลยี่ กาหนดตามเกณฑ์ของบุญชม ศรีสะอาด (2545, 103) มีดังน้ี คะแนนเฉลย่ี การแปลผล 4.51 – 5.00 เหมาะสมมากทีส่ ดุ 3.51 – 4.50 เหมาะสมมาก 2.51 – 3.50 เหมาะสมปานกลาง 1.51 – 2.50 เหมาะสมน้อย 1.00 – 1.50 เหมาะสมน้อยท่สี ุด ขั้นที่ 8 นาแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ท่ีได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้วไป จดั ทาเปน็ รปู เลม่ สมบรู ณ์เพื่อนาไปทดลองใชก้ บั กลุ่มตัวอยา่ ง 3. กำรสร้ำงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน เรื่อง การใช้ประโยคเพ่ือการ สื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงช้ันท่ี 1 (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3) ระดับช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 1 เปน็ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบชนดิ 3 ตัวเลอื ก จานวน 20 ขอ้ ดงั นี้ ขั้นท่ี 1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครู แบบเรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น สาระ การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อคัดเลือกและกาหนดเนื้อหา สาระของบทเรียน วธิ ีสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของ สมนึก ภทั ทิยธนี, (2544 : 73 – 154) ขนั้ ท่ี 2 วิเคราะห์หลักสูตร สาระการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั เรื่อง หลักภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชว่ งชัน้ ที่ 1 (ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3) ระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1
- 54 - ข้ันท่ี 3 ศึกษาวิธีเขียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบเลือกตอบจากเอกสาร ตารา (สมนึก ภัททิยธนี, 2544 : 82 – 91) สรา้ งข้อสอบให้ครอบคุลมตามผลการเรียนรู้ท่ีคาด หวงั และเนื้อหาสาระ จานวน 40 ข้อ ต้องการใช้จรงิ จานวน 20 ข้อ ตามตารางแสดงจานวน แบบทดสอบที่กาหนดไว้ ตาราง 1 จานวนแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนท่อี อกและแบบทดสอบทีต่ ้องการ เร่ือง จานวนแบบทดสอบ จานวนแบบทดสอบ ทอี่ อก ท่ตี ้องการ ชดุ ท่ี 1 เรอ่ื ง ประโยคบอกเล่า ชุดท่ี 2 เรื่อง ประโยคคาถาม 8 4 ชุดท่ี 3 เร่ือง ประโยคปฏิเสธ 8 4 ชดุ ท่ี 4 เร่อื ง ประโยคคาส่งั 8 4 ชดุ ที่ 5 เร่อื ง ประโยคขอรอ้ ง 8 4 8 4 รวม 40 20 ขน้ั ที่ 4 นาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทสี่ รา้ งขึ้นเสนอต่อผ้เู ชยี่ วชาญชุดเดิม ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างเน้ือหากับจุดประสงค์การเรยี นรู้ว่าสามารถวัดได้ครอบคลุมเน้ือ หา หรือไม่โดยใชว้ ิธีของโรวิเนลลี (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (R.K. Hambleton) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 63 - 65) หลังจากผู้เช่ียวชาญพิจารณาเรียบร้อยแล้ว นามาหาค่าเฉลี่ยและเทียบเกณฑ์ท่ีกาหนด ถ้าค่าเฉล่ียคะแนนต้ังแต่ 0.5 ถึง 1.00 ถือว่าแบบทดสอบน้ันสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่ี คาดหวัง ขั้นที่ 5 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิท่ีผ่านการพิจารณาจากผู้เช่ียวชาญมาทาการพิมพ์ เป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฉบับจริงแล้วนาไปทดลองทดสอบ (Try - out) กับ ผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนผาช่อวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 3 ที่ไมใ่ ช่กลมุ่ ตวั อย่างจานวน 15 คน นาผลการทดลองที่ไดไ้ ปหาคณุ ภาพของข้อสอบ ข้นั ท่ี 6 นากระดาษคาตอบท่ีได้มาตรวจให้คะแนนข้อละ 1 คะแนน สาหรับคาตอบทถี่ ูก และให้ 0 สาหรับคาตอบท่ีผิดหรือไม่ตอบเลย นามาวิเคราะห์หาค่าความยากง่ายและค่าอานาจ จาแนกของแบบทดสอบรายข้อ โดยใช้สตู รของ Brennan (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545 : 90) ขั้นท่ี 7 คัดเลอื กข้อสอบท่เี ขา้ เกณฑ์ คือ ข้อสอบทมี่ ีคา่ ความยากง่ายระหวา่ ง 0.26 ถึง 0.98 และค่าอานาจจาแนกต้ังแต่ 0.22 ถึง 0.98 พบวา่ ได้ข้อสอบตามเกณฑ์ จานวน 20 ขอ้ ขั้นท่ี 8 นาแบบทดสอบที่คัดเลือกไว้แล้วมาวิเคราะห์หาค่าความเช่ือม่ันโดยใช้วิธีของ Lovett (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 96) ผลปรากฏว่า ได้ค่าความเช่ือม่ันเท่ากับ 0.81 ซึ่งอยู่ ในเกณฑส์ ูง สามารถนาแบบทดสอบชดุ นี้ไปใช้ได้ ข้ันท่ี 9 จัดพิมพ์แบบทดสอบที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว จานวน 20 ข้อ เพื่อ นาไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง
- 55 - 4. กำรสร้ำงแบบประเมินแบบฝึกทักษะ เร่ือง การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 มีลาดับขัน้ ตอน ดงั ต่อไปน้ี ข้ันที่ 1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบประเมินจากหนังสือ เอกสารและตาราท่ีเก่ียวข้องกับ วิธีการสร้างแบบประเมินแบบฝึกเสริมทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 102 - 103) ข้ันที่ 2 สร้างแบบประเมินแบบฝึกทักษะ การเขียนเพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้ สูตรดัชนีหาค่าความสอดคล้อง IOC (Index Of Ltem Objective Congrucnce) ของ สมนึก ภทั ทยิ ธนี (2546 : 166 – 167) มีเกณฑ์ ดังนี้ ใหค้ ะแนน + 1 เมือ่ แน่ใจวา่ มเี นอื้ หาสาระตรงตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ ให้คะแนน 0 เม่อื ไมแ่ นใ่ จวา่ เนอ้ื หาสาระตรงตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ ใหค้ ะแนน -1 เมือ่ แน่ใจวา่ มีเนอ้ื หาสาระไมต่ รงตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ขั้นท่ี 3 นาแบบประเมินท่ีสร้างขึ้นเสนอต่อผู้เช่ียวชาญชุดเดิมพิจารณาความถูกต้องด้าน การสร้างแบบประเมิน ด้านพฤติกรรมท่ีต้องการประเมิน พิจารณาความเหมาะสมของข้อความและ ความเท่ียงของแบบประเมิน แล้วนามาปรับปรุงแก้ไขความถูกต้อง หลังจากน้ันนาเสนอผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งใหเ้ หมาะสมอกี รอบก่อนท่ีจะนาไปใช้กับกลุ่มตวั อย่าง ข้ันท่ี 4 เมื่อแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมแล้ว จึงดาเนินการจัดพิมพ์แบบประเมินแบบฝึก ทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ที่ สมบูรณ์ไปทดลองใช้และนาผลที่ได้มาวิเคราะห์ค่าความสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแล้วคัดเลือก ข้อคาถามท่ีมีอานาจจาแนกต้ังแต่ 0.30 ถึง 1.00 นามาหาค่าความเชื่อมั่น โดยแบบประเมินแบบ ฝกึ เสริมทกั ษะ การเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ ทผี่ ้ศู ึกษาสรา้ งข้นึ มีค่าความเชอื่ มนั่ เท่ากับ 0.65 ขน้ั ท่ี 5 พมิ พแ์ บบประเมนิ หรอื แบบสอบถามฉบบั จรงิ ไปใหผ้ ู้เชย่ี วชาญทาการประเมิน 5. กำรสร้ำงแบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกำรจัดกำรเรียนรู้ โดยใช้ แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยดาเนินการตามลาดับ ข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี ขั้นท่ี 1 วิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ โดยวิเคราะห์จาก จดุ ประสงค์ในการศึกษาแล้วกาหนดโครงสรา้ งเน้ือหาของแบบสอบถาม ขั้นที่ 2 ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามและกาหนดรูปแบบของแบบสอบถามโดยยึด หลักการและทฤษฎีของ บุญชม ศรสี ะอาด (2545 : 69 -72, 102 - 103) ขั้นที่ 3 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน โดยมีลักษณะเป็นมาตราส่วน ประมาณค่าตามวิธีการของลิคอร์ท (Likert) มี 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากท่ีสุด เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมน้อย เหมาะสมนอ้ ยทีส่ ดุ (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 102 - 103) ดงั นี้
- 56 - เหมาะสมมากทส่ี ดุ ให้ 5 คะแนน เหมาะสมมาก ให้ 4 คะแนน เหมาะสมปานกลาง ให้ 3 คะแนน เหมาะสมนอ้ ย ให้ 2 คะแนน เหมาะสมนอ้ ยทีส่ ดุ ให้ 1 คะแนน ข้ันที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นโดยมีคาถามท่ี ครอบคลมุ องค์ประกอบของแบบฝึกทักษะ การใชป้ ระโยคเพื่อการส่อื สาร ดา้ นดงั นี้ 1. ลักษณะรปู เลม่ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3. สาระการเรียนรู้ 4. กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ 5. การวดั ผลและการประเมนิ ผล ข้ันท่ี 5 นาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยวิธีใช้ แผนการจัดการเรียนรู้และบทเรียนสาเร็จรูปท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนไปให้ผู้เช่ียวชาญชุดเดิมจานวน 5 ท่าน ตรวจสอบและพิจารณาความเหมาะสมของข้อความและความเที่ยงของแบบสอบถามเพื่อปรับปรุง แก้ไขใหเ้ หมาะสมก่อนนาไปใช้ ด้านการใชภ้ าษาของคาถามและจานวนขอ้ ของแบบสอบถาม ขั้นท่ี 6 ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามตามท่ีผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะแล้วนาไปทดลองใช้กับ ผู้เรียนที่ไมใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 คน แล้วนาผลการทดลองใช้แบบสอบถามมาหาคุณภาพ พร้อมกับเคร่ืองมอื อ่นื ๆ ขั้นท่ี 7 หาคุณภาพของแบบสอบถามรายข้อ โดยวิธี Item – total Correlation ใช้สูตร สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน (Simple Correlation Coeffieient) แล้วคัดเลือกข้อที่มีอานาจจาแนก ระหว่าง 0.30 ถงึ 1.00 ไว้ ข้ันที่ 8 นาแบบสอบถามทค่ี ัดเลือกไว้มาหาค่าความเชอ่ื มั่นท้ังฉบบั ตามวธิ ีของ ครอนบาค (Cronbach) ซง่ึ ได้ค่าความเช่ือมั่นทง้ั ฉบับเทา่ กบั 0.91 ขนั้ ท่ี 9 จัดพิมพ์แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี นฉบับสมบรู ณเ์ พอื่ นาไปเก็บขอ้ มูล ต่อไป
- 57 - วิธีดำเนินกำรศกึ ษำ การวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้รูปแบบของการทดลองแบบ One Group Pre – test Post – test Design (พวงรตั น์ ทวรี ัตน์, 2540 : 60) ปรากฏดังตาราง 2 ตาราง 2 แบบแผนการทดลอง One Group Pre – test Post – test Design กลุม่ ทดลอง Pre – test Treatment Post – test N T1 X1 T2 T1 หมายถึง การทดสอบก่อนการใชก้ ารทดลอง T2 หมายถงึ การทดสอบหลงั การใช้การทดลอง X1 หมายถึง การเรียนจากแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่อื การสือ่ สาร ขนั้ ตอนในกำรดำเนนิ กำรศึกษำ ในการวจิ ยั ครัง้ นี้ผู้วจิ ัยดาเนินการศึกษาตามลาดบั ขัน้ ตอน ดังตอ่ ไปน้ี 1. การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ก่อน เรียน (Pre – test ) กับผู้เรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จานวน 20 ข้อ ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 30 นาที แล้วทาการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จาก การทาแบบทดสอบไว้เพ่อื วเิ คราะหข์ ้อมลู ในขั้นตอนต่อไป 2. ดาเนินการทดลองสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 1 ระยะเวลาในการศกึ ษาคือ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 1 สิงหาคม - 20 กันยายน 2561 โดยใช้เวลา 17 ช่ัวโมง รวมเวลาที่ทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre - test) และหลัง เรยี น (Post - test) ปรากฏดงั ตาราง 3 ตาราง 3 การจัดการเรียนรู้ตามช่ัวโมงเวลาสอนในการทดลอง วนั เดือน ปี รำยกำรท่ที ดลอง ชว่ั โมง 1 กนั ยายน 2561 1 2 กนั ยายน 2561 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องประโยคเพ่ือการส่อื สาร 1 สอนเรื่องประโยคเพ่ือการสื่อสาร เรื่อง ประโยคบอกเล่า 5 กนั ยายน 2561 ทาแบบฝกึ ทกั ษะเร่ืองประโยคบอกเลา่ แบบฝึกท่ี 1-3 1 สอนเรือ่ งประโยคเพือ่ การสอ่ื สาร เรือ่ ง ประโยคคาถาม 6 กนั ยายน 2561 ทาแบบฝกึ ทกั ษะเรอื่ งประโยคคาถาม แบบฝกึ ที่ 1-3 1 สอนเรอื่ งประโยคเพอื่ การส่อื สาร เร่อื ง ประโยคปฏิเสธ ทาแบบฝึกทักษะเร่ืองประโยคปฏิเสธ แบบฝึกที่ 1-3
- 58 - 7 กนั ยายน 2561 สอนเรอ่ื งประโยคเพอื่ การสื่อสาร เรื่อง ประโยคคาสั่ง 1 8 กันยายน 2561 ทาแบบฝกึ ทักษะเรื่องประโยคคาสง่ั แบบฝกึ ที่ 1-3 9 กันยายน 2561 1 สอนเรือ่ งประโยคเพื่อการสื่อสาร เร่ือง ประโยคขอรอ้ ง ทาแบบฝกึ ทกั ษะเรือ่ งประโยคขอร้อง แบบฝึกที่ 1-3 1 7 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เรือ่ งประโยคเพ่อื การสอ่ื สาร รวม การดาเนินการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร ชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ได้ดาเนินการตามแผนการจดั การเรียนรู้ โดยในบางแผนการจัดการเรียนรู้อาจใช้ แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ในข้ันการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หรือในข้ันสรปุ ผลการ เรียนรู้ แต่การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 จน ครบ 3. การทดสอบหลังเรยี น (Post – test) เมื่อส้ินสุดการดาเนินการทดลองแล้วให้ผู้เรียนทา การสอบหลงั เรยี น (Post – test ) โดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรือ่ ง การใช้ประโยค เพ่ือการส่ือสาร ซ่ึงเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิฉบับเดียวกับที่ทดสอบก่อนเรียน (Pre – test ) 4. นาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยแบบฝึกทักษะ การใชป้ ระโยคเพอื่ การสื่อสาร ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น กำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู และกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู ในการวิเคราะห์ข้อมูลในคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมสาเร็จรูป (Statistical Package for the Social Sciences (SPSS for windows Version10) วิเคราะห์ ข้อมูล ดงั นี้ 1. วิเคราะห์หาคณุ ภาพของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 1.1 หาคา่ ความยาก (Difficulty) (P) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นรายขอ้ 1.2 ห าค่ า อ า น าจ จ าแ น ก โด ย วิ ธี ข อ ง Brennan (Discrimination) (B) ข อ ง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรายข้อ 1.3 หาค่าความเช่ือม่ัน (Reliability) (r∞) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นตามวธิ ขี อง Lovett 1.4 หาค่าความเที่ยง (Validity) ของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น โดยใช้สตู รดัชนีความสอดคล้อง IOC 2. การหาคา่ คณุ ภาพของแบบประเมินหรือแบบสอบถาม 2.1 หาอานาจจาแนกโดยใชส้ ัมประสทิ ธิ์สหสัมพันธ์อย่างงา่ ยแบบ Pearson ระหวา่ งคะแนนแต่ละข้อกบั คะแนนรวม (Item – total C0rrelation) 2.2 หาความเชอ่ื มนั่ ของแบบสอบถามทั้งฉบบั โดยใชว้ ธิ ขี อง Cronbach
- 59 - (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 99) 3. การวิเคราะห์แบบประเมินแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 สาหรับผู้เช่ียวชาญโดยใช้ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน โดยกาหนด เกณฑก์ ารประเมนิ (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2545 : 103) ดงั นี้ 5 เหมาะสมมากท่สี ดุ ระดับคะแนนเฉล่ีย 4.51 – 5.00 4 เหมาะสมมาก ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 3 เหมาะสมปานกลาง ระดบั คะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.50 2 เหมาะสมน้อย ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 1 เหมาะสมนอ้ ยทีส่ ุด ระดบั คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 4. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใชส้ ถติ ิพ้ืนฐานดงั นี้ 4.1 รอ้ ยละ (Percentage) 4.2 ค่าเฉลยี่ (Mean) 4.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 4.4 การคานวณหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการ ส่ือสาร ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80 5. การวิเคราะห์ดชั นปี ระสทิ ธผิ ล IOC 6. การวิเคราะห์แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) กาหนดเกณฑ์ในการให้คะแนนความพึงพอใจของ นกั เรยี นที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑก์ ารประเมิน (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545 : 102 - 103) ดังน้ี 5 เหมาะสมมากทส่ี ดุ ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 4 เหมาะสมมาก ระดบั คะแนนเฉล่ยี 3.51 – 4.50 3 เหมาะสมปานกลาง ระดบั คะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.50 2 เหมาะสมนอ้ ย ระดบั คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 1 เหมาะสมนอ้ ยทสี่ ุด ระดบั คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 สถิติทีใ่ ช้ในกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู 1. คา่ สถิตพิ ้ืนฐาน 1.1 ร้อยละ (Percentage) (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2545 : 104) สูตร P = f x100 N เมอ่ื P แทน ร้อยละ f แทน ความถ่ีท่ตี อ้ งการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จานวนความถีท่ ้งั หมด
- 60 - 1.2 ค่าเฉล่ีย (Mean) จากสูตร (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 105) สตู ร X = x N X แทน คา่ เฉล่ยี X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดในกลุม่ N แทน จานวนคะแนนในกลุ่ม 1.3 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) จากสูตร (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 106 - 108) สูตร S.D. = N X 2 − (X )2 N (N −1) เมอ่ื S.D. แทน สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตวั N แทน จานวนคะแนนในกลมุ่ X แทน ผลรวม 2. สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 2.1 การวิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนกแบบทดสอบ โดยวิธีของ Brennan (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 90) สูตร B = U − L n1 n2 เมื่อ B แทน ค่าอานาจการจาแนก U แทน จานวนผู้สอบผา่ นเกณฑ์ที่ตอบถกู L แทน จานวนผสู้ อบไม่ผ่านเกณฑท์ ต่ี อบถกู n1 แทน จานวนผสู้ อบผา่ นเกณฑ์ n2 แทน จานวนผสู้ อบไม่ผ่าน 2.2 หาค่าความยากง่ายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 84) สูตร P = Ru + Rl 2f เมอื่ P แทน ระดบั ความยาก Ru แทน จานวนคนกล่มุ สูงท่ีตอบถกู Rl แทน จานวนคนกลุม่ ตา่ ที่ตอบถูก 2f แทน จานวนคนในกล่มุ สูงหรอื กลุ่มตา่ ซึง่ เทา่ กนั 2.3 หาค่าความเช่ือมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอิงเกณฑ์โดย ใช้วธิ กี าร Lovett (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 96)
- 61 - สตู ร rcc = 1 - k x1− k x12 (k −1) (x1 − C)2 เมื่อ r cc แทน ความเช่ือม่ันแบบทดสอบ K แทน จานวนขอ้ สอบ X1 แทน คะแนนของแตล่ ะกล่มุ C แทน คะแนนเกณฑห์ รอื จดุ ตดั ของแบบทดสอบ 2.4 หาค่าความเท่ียงตรง ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้สูตร ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง IOC (สมนกึ ภทั ทยิ ธนี, 2546 : 221) สตู ร IOC = R N เมือ่ IOC แทน ดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหว่างข้อสอบกับวตั ถุประสงค์ R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผ้เู ชี่ยวชาญเนอ้ื หาวชิ าทงั้ หมด N แทน จานวนผเู้ ช่ยี วชาญ 3. สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการหาคณุ ภาพของเครื่องมอื 3.1 การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 3 ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใชส้ ตู ร E1/E2 ดังน้ี (เผชญิ กจิ ระการ, 2544 : 49-81) สตู ร E1 = X x100 N A เม่ือ E1 แทน ประสิทธภิ าพของกระบวนการเรียนการสอน X แทน คะแนนของแบบฝึกหรอื แบบทดสอบย่อย A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกึ เสริมทักษะทุกชดุ รวมกัน N แทน จานวนนกั เรียนทง้ั หมด สูตร E2 = X x100 N B เมื่อ E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลสมั ฤทธิ์ X แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียน B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลังเรียน N แทน จานวนนักเรยี นทง้ั หมด 3.2 คานวณค่าดัชนีประสิทธิผล แบบฝึกทักษะ การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 3 ตามวิธีของกูดแมน, เฟลทเชอร์ และ ชไนเดอร์ (Goodman, Fletcher and Schneider. 1980 : 30-40)
- 62 - ดชั นปี ระสิทธิผล = ผลรวมคะแนนทดสอบหลงั เรียน - ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน (จำนวนนกั เรียน x คะแนนเตม็ ) - ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน 3.3 วิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อแบบฝึก ทักษะ การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ีผู้ศึกษาสร้างขึ้นโดยใช้เกณฑ์ การประเมนิ ความพงึ พอใจตามวธิ ีของลิเคอร์ท ซงึ่ มี 5 ระดบั ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 67) ค่าเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจมากทสี่ ุด ค่าเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก ค่าเฉล่ยี 2.51 – 3.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อย คา่ เฉล่ยี 1.00 – 1.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ดุ 4. สถติ ิทใ่ี ช้ทดสอบสมมติฐาน (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545 : 112) D สตู ร t = n D2 − ( D)2 (n −1) เม่ือ t แทน ค่าสถติ ิทจ่ี ะใชเ้ ปรยี บเทยี บกับค่าวิกฤต เพื่อทราบ ความมนี ยั สาคัญ D n แทน คา่ ผลตา่ งระหว่างคคู่ ะแนน แทน จานวนกลุม่ ตวั อย่างหรอื จานวนคู่คะแนน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การศึกษาคน้ ควา้ คร้ังน้ี ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ ไดเ้ สนอการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตามลาดบั ดงั น้ี 1. สัญลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 2. ลาดบั ข้นั ตอนในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล สัญลกั ษณ์ทใี่ ช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจในการแปลความหมาย และการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ได้ ถูกตอ้ ง อีกท้งั เพ่ือความสะดวกในการนาเสนอขอ้ มลู ผศู้ ึกษาไดก้ าหนดความหมายสัญลกั ษณ์ที่ใช้ ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี X แทน ค่าเฉลี่ย (Mean) S.D แทน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) N แทน จานวนของนกั เรียน E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการท่ีจดั ไวใ้ นบทเรียนคิดเป็ นร้อยละโดยใช้ คะแนนจากแบบประเมินพฤติกรรมการเรียนและคะแนนผลงานในแตล่ ะแผน E2 แทน ประสิทธิภาพผลลพั ธ์จากการทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คิดเป็ นร้อยละ E.I. แทน ดชั นีประสิทธิผลของแผนการจดั การเรียนรู้ ลาดับข้ันตอนในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ ไดเ้ สนอลาดบั ข้นั ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี ตอนที่ 1 วเิ คราะห์พฒั นาแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ เร่ืองการ ใชป้ ระโยคเพ่อื การสื่อสาร ช้นั ประถมศึกษาปี 1 ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 1 ก่อนเรียนและหลงั เรียนดว้ ยแบบฝึกทกั ษะ เร่ืองประโยคเพื่อการส่ือสาร
ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ท่ีมีตอ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ เรื่อง การใชป้ ระโยคเพ่ือการสื่อสาร ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์คร้ังน้ี ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ ไดด้ าเนินการวเิ คราะห์ตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึ ก ทกั ษะ เรื่องการใชป้ ระโยคเพ่ือการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ตามเกณฑ์ 80/80 1.1 วเิ คราะห์ประสิทธิภาพดา้ นกระบวนของแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ แบบฝึกทกั ษะ เร่ืองการประโยคเพื่อการส่ือสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ท่ีมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ผลปรากฏดงั ตาราง 4-5 ตาราง 4 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละของคะแนนจากการทาแบบฝึ กเสริมทกั ษะ ในแต่ละกจิ กรรมการเรียนรู้ แบบฝึ กเสริมทกั ษะ คะแนนเต็ม คะแนน เร่ือง การใช้ประโยคเพอ่ื การสื่อสาร 10 คิดเป็ นร้อยละ ฉบบั ที่ 1 ประโยคบอกเล่า 10 9.70 97.00 ฉบบั ที่ 2 ประโยคคาถาม 10 9.26 92.66 ฉบบั ที่ 3 ประโยคปฏิเสธ 10 9.43 94.33 ฉบบั ท่ี 4 ประโยคคาสง่ั 10 9.06 90.66 ฉบบั ท่ี 5 ประโยคขอร้อง 9.40 94.00 รวม 5 ฉบบั 50 46.85 93.73 ผลจากการทาแบบทดสอบยอ่ ยจานวน 5 ฉบบั 93.73 จากตาราง 4 พบวา่ คะแนนจากการทาแบบทดสอบประจาการเรียนรู้ เรื่องการใชป้ ระโยค เพือ่ การสื่อสาร โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะสาหรับนกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ของนกั เรียนท้งั 5 ฉบบั มีค่าเฉล่ียสูงสุดร้อยละ 97.00 ค่าเฉล่ียต่าสุดร้อยละ 90.66 และผลจากการทาแบบทดสอบจานวน 5 ฉบบั คิดเป็นร้อยละ 93.73
ตาราง 5 ค่าเฉลย่ี ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และร้อยละของคะแนนจากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนก่อนเรียน และหลงั จากการเรียน คะแนนทไี่ ด้ จานวน คะแนนรวม คะแนนทไี่ ด้ จานวน คะแนนรวม จากคะแนน นักเรียน ของนักเรียน จากคะแนน นักเรียน ของนักเรียน เตม็ 20คะแนน จาแนกตาม จาแนกตาม เต็ม 20 จาแนกตาม จาแนกตาม (ก่อนเรียน) คะแนนที่ คะแนนทสี่ อบ คะแนน คะแนนท่ี คะแนนทส่ี อบ สอบได้ ได้ (หลงั เรียน) สอบได้ ได้ (ก่อนเรียน) (ก่อนเรียน) (หลงั เรียน) (หลงั เรียน) 4 3 4 13 1 13 5 2 5 15 4 30 8 2 8 16 3 16 10 4 40 17 3 34 11 2 22 18 6 108 12 2 12 19 4 76 13 5 65 20 4 80 14 2 28 15 2 30 16 1 16 รวม 25 230 รวม 25 357 11.50 17.10 S.D. 3.17 S.D. 1.78 ร้อยละ 57.50 ร้อยละ 89.25 จากตาราง 5 พบวา่ คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน ของนกั เรียนจากคะแนนเตม็ 20 คะแนน ไดค้ ะแนนเฉล่ีย 11.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.17 ผลจาก การทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน คิดเป็ นร้อยละ 57.50 และหลงั เรียนจาก
คะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 17.10 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.78 ผลจากการทา แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียน (E2) คิดเป็นร้อยละ 89.25 ของคะแนนเตม็ ผลจากการประเมินประสิทธิภาพของแผนการเรียนรู้เร่ืองการใชป้ ระโยคเพอ่ื การส่ือสาร ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้แบบฝึ กทกั ษะ ซ่ึงแสดงจากอตั ราส่วนระหวา่ งคะแนน เฉลี่ยจากการทาแบบทดสอบยอ่ ยประจาแผนการเรียนรู้กบั คะแนนเฉล่ียจากการทาแบบทดสอบ วดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียน ผลปรากฏดงั ตาราง 6 ตาราง 6 ประสิทธิภาพของแผนการเรียนรู้ เร่ืองประโยคเพอ่ื การสื่อสาร ช้ันประถม ศึกษา ปี ที่ 1 โดยใช้แบบฝึ กทกั ษะ ตามเกณฑ์ 80/80 คะแนน คะแนนเตม็ ร้อยละ คะแนนเฉล่ียจากการทาแบบทดสอบยอ่ ยประจาแผน 50 46.85 93.73 จานวน 5 ชุดคะแนน 89.25 เฉล่ียจากการทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการ 20 17.10 เรียนหลงั เรียน ประสิทธ์ิภาพของแผนการเรียนรู้ เร่ืองการใชป้ ระโยคเพอ่ื การส่ือสาร ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะ เทา่ กบั 93.73/89.25 จากตาราง 6 พบวา่ คะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบทดสอบยอ่ ยประจาแผนการเรียนรู้5 ฉบบั มีคะแนนเฉล่ียคิดเป็ นร้อยละ 93.73 และคะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หลงั เรียนมีคะแนนเฉล่ียคิดเป็ นร้อยละ 89.25 ดงั น้นั แผนการเรียนรู้ เรื่อง การใชป้ ระโยคเพื่อการ สื่อสาร โดยใช้แบบฝึ กทักษะสาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ ซ่ึง 93.73/89.25 สูงกวา่ เกณฑท์ ี่ต้งั ไว้ ตอนท่ี 2 การวเิ คราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนเรียนและ หลงั เรียนดว้ ยการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เร่ืองการใชป้ ระโยคเพื่อการส่ือสาร โดยใช้แบบฝึ กทกั ษะ สาหรับนกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 จากการวเิ คราะห์ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนเรียนและ หลงั เรียนดว้ ยการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองการใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร โดยใช้แบบฝึ กทกั ษะ สาหรับนกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ผลดงั ตาราง 7
ตาราง 7 คะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนเร่ือง การใช้ประโยคเพอ่ื การส่ือสาร โดยใช้แบบฝึ กทกั ษะ สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปี ที่ 1 คะแนน ΣΧ ร้อยละ คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียน 230 คะแนนเตม็ 20 คะแนน 57.50 คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน 357 89.25 คะแนนเตม็ 20 คะแนน ดชั นีประสิทธิผลของแผนการเรียนรู้ เร่ืองการใชป้ ระโยคเพ่อื การสื่อสาร โดยใชแ้ บบฝึ กทกั ษะ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 มีคา่ เท่ากบั 0.8925 จากตาราง 7 พบวา่ ดชั นีประสิทธิผลของแผนการเรียนรู้ เรื่อง การใช้ประโยคเพ่ือการ สื่อสาร โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะสาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 มีค่าเท่ากบั 0.8925 หรือ คิดเป็ น ร้อยละ 89.25 ซ่ึงหมายความวา่ นกั เรียนมีความรู้เพม่ิ ข้ึนร้อยละ 89.25 ตอนท่ี 3 วิเคราะห์ความพึงพอใจของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ที่มีต่อการจดั การ เรียนรู้เร่ืองการใชป้ ระโยคเพ่ือการส่ือสาร โดยใช้แบบฝึ กทกั ษะ ผวู้ ิจยั ไดท้ าการสอนกลุ่มตวั อย่าง จานวน 25 คน ตามแผนการเรียนรู้ เรื่องการใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร โดยใชแ้ บบฝึ กเสริมทกั ษะ สาหรับนกั เรียนช้นั ป.1 จนครบท้งั 5 แผนแลว้ ให้นกั เรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อ การเรียนตามแผนการเรียนรู้ ตาราง 8 ผลการวดั ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึ กทกั ษะ เรื่อง การใช้ประโยคเพ่ือ การสื่อสาร โดยใช้แบบฝึ กเสริมทกั ษะ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 1 ข้อคาถาม S.D. ระดบั ความพงึ พอใจ 1. ด้านเนือ้ หา 1. พึงพอใจตอ่ เน้ือหาภาษาไทยท่ีไดเ้ รียนรู้ 4.38 0.67 มาก 2. เหมาะสมเขา้ ใจง่าย 3.95 0.67 มาก 3. ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 4.05 0.74 มาก 4. เน้ือหาแต่ละชุดมีความแปลกใหม่น่าสนใจ 4.24 0.54 มาก 5. นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ 4.24 0.74 มาก
2. ด้านปฏิบัตงิ าน 4.24 0.62 มาก 1. ใชค้ วามรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน 4.29 0.46 มาก 2. มีความสุขและภูมิใจในผลงานพอใจท่ีไดร้ ับ 4.43 0.60 มาก การยอมรับจากครูและเพื่อน 4.19 0.75 มาก 3. พอใจกบั กิจกรรมที่ร่วมศึกษาคน้ ควา้ 4.19 0.60 มาก 4. มีข้นั ตอนและกระบวนการชดั เจน 5. การวางแผนปฏิบตั ิงาน มาก มาก 3. ด้านกจิ กรรมการเรียนการสอน มาก มาก 1. มีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกข้นั ตอน 4.48 0.51 มาก 2. กิจกรรม/กระบวนการช่วยใหเ้ ขา้ ใจเน้ือหามากข้ึน 4.05 0.74 มาก มาก 3. การยอมรับความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั 4.33 0.66 มาก มาก 4. สืบคน้ ขอ้ มลู และสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง 4.19 0.60 มากท่ีสุด มาก 5. กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย 3.86 0.65 4. ด้านการวดั และประเมินผล 4.24 0.70 1. นกั เรียนมีส่วนร่วมในการวดั และประเมินผล 4.24 0.57 2. เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 3.95 0.74 3. เน้ือหาชดั เจน 4.00 0.45 4. การดาเนินการเป็นข้นั ตอน 4.67 0.66 5. ใชส้ ่ือเหมาะสม 4.21 0.63 รวมเฉลยี่ จากตาราง 8 ความพึงพอใจของนกั เรียนที่มีต่อการเรียนดว้ ยแบบฝึ กทกั ษะ เร่ืองประโยค เพื่อการส่ือสาร สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 พบวา่ นกั เรียนมีความพอใจต่อการเรียนโดย ใช้แบบฝึ กทกั ษะ มีค่าเฉล่ีย 4.21 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.63 แสดงว่าความพึงพอใจ ของนักเรี ยนท่ี มีต่อการจัดการเรี ยนด้วยแบบฝึ กทักษะ เรื่ อง ประโยคเพ่ือการสื่ อสาร สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 อยใู่ นระดบั มาก
บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การสร้างแบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นผาช่อวทิ ยา สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 สรุปผลการศึกษาและ อภิปรายผล ดังน้ี 1. วัตถุประสงคข์ องการวิจยั 2. สรุปผล 3. อภิปรายผล 4. ข้อเสนอแนะ ความม่งุ หมายของการศึกษาค้นควา้ 1. เพ่ือสร้างและพัฒนาแบบฝึกทักษะภาษาไทย เร่ืองการใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร สาหรับ นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึก ทักษะ เรื่องการใช้ประโยคเพอ่ื การสื่อสาร สาหรบั นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 3. เพ่ือศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีตอ่ การจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้ แบบฝกึ ทักษะ เรอื่ งการใช้ประโยคเพ่อื การส่ือสาร สรุปผล 1. แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร สาหรับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ผู้วิจัยสร้าง ขนึ้ มีประสทิ ธภิ าพ 85.66/87.67 มปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ท่ีตง้ั ไว้ 2. นักเรียนท่ีใช้แบบฝกึ ทักษะ เรอื่ งการใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร มีผลสัมฤทธิ์ทาง การ เรยี นหลงั เรยี นเพมิ่ ขึ้นจากก่อนเรียน 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นร้โู ดยแบบฝึกทกั ษะเรื่องการใช้ประโยคเพื่อการ สือ่ สารในระดบั มากทีส่ ดุ อภิปรายผล การอภิปรายผลเพื่อการศึกษาค้นคว้าในคร้ังน้ีผู้ศึกษาวิจัยขอนาเสนอการอภิปรายในสอง ประเดน็ คอื 1. แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพื่อการส่ือสารท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ 93.73/89.25 หมายความว่า นักเรียนคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะทั้ง 5 เท่ากับ 93.73
และได้คะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนเท่ากับ 89.25 แสดง ว่าแบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพื่อการส่ือสาร สาหรับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานท่ีต้ังเอาไว้ การที่ผลการศึกษาวิจัยปรากฏเช่นนี้อาจมีสาเหตุ เนอ่ื งมาจากเหตผุ ลดังตอ่ ไปนี้ 1.1 แบบฝึกทักษะท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน มีกระบวนการสร้างตามขั้นตอน มีระบบและวิธี การท่เี หมาะสม โดยดาเนินการสร้างตามหลักการและข้ันตอนการสร้างแบบฝึกของชัยยงค์ พรหมวงศ์ ( 2537 : 40 ) และของสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2543 : 12-13) คือ เริ่ม ตั้งแต่วิเคราะห์เน้ือหาที่เป็นปัญหาเลือกเน้ือหากาหนดทิศทางการพัฒนาแบบฝึกให้แน่นอน ตลอดจน หลักพื้นฐานทางจิตวิทยาเพ่ือไม่ให้แบบฝึกยากและไม่ง่ายจนเกินไป ออกแบบเคร่ืองมือที่เป็นวัสดุ ประกอบการสอน และเคร่อื งมอื ประกอบการสอน เช่น เพลง เกม เทคนคิ การสอน สร้างแบบทดสอบ ให้ชัดเจนและครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ผู้วิจัยยังสร้างตามลักษณะแบบ ฝึกท่ีดีของ มยุรี เหมือนพันธ์ ( 2535 : 25 ) มะลิ อาจวิชัย ( 2540 : 17 ) และบังอร แก่นจันทร์ ( 2544 : 86 ) ทวี่ ่า แบบฝึกทดี่ ีควรมีเนื้อหาตรงกับจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สนั้ และกระตุ้นความสนใจ ของผู้เรียน และมีหลายรูปแบบเพื่อไม่ให้เด็กเกิดความเบ่ือหน่าย มีการจูงใจผู้เรียนโดยการจัดแบบฝึก จากง่ายไปหายาก ซ่ึงจะทาให้นักเรียนภมู ิใจว่าตนมีความสามารถที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง จากนั้นจึงได้ นาแบบฝึกทักษะ แผนการเรยี นรู้ แบบประเมินความพึงพอใจ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการ เรียนท่ีสร้างขึ้นเสนอต่อผู้มีประสบการณ์ เพ่ือตรวจพิจารณาความถูกต้องท้ังในด้านเน้ือหา จุดประสงค์ ภาษาท่ีใช้ และเวลาที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติ แล้วนามาปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ ก่อนนาไปใช้ 1.2 แบบฝึกทักษะท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น เน้นกระบวนการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเป็น ข้ันตอน ซึ่งตรงกับเป้าหมายของการจัดกิจกรรมที่เน้นกระบวนการ เป็นกิจกรรมท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ โดยให้นักเรียนเปน็ ผู้ลงมือปฏิบัติมากท่ีสดุ ได้ทากิจกรรมตามกระบวนการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ อย่าง เหมาะสมกับจุดประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหาวิชา นอกจากน้ีผู้วิจัยยังได้สร้างแบบฝึกทักษะโดย อาศัยหลักทฤษฎีจิตวทิ ยาการเรียนร้มู าใชเ้ ป็นหลกั ในการสร้างแบบฝึกตามทีส่ ุจริต เพียรชอบและสาย ใจ อินทรัมพรรย์ (2522 : 52-62) ได้เสนอไว้ ได้แก่ ความใกล้ชิด คือ การให้คาชมเชยหรือรางวัล ทันทีเม่ือผู้เรียนทาสาเร็จ การฝึกหัด คือ การให้ผู้เรียนได้ทาซ้า ๆ กันเพ่ือช่วยสร้างความรู้ความ เข้าใจท่ีแม่นยา กฎแห่งผล คือ การให้นักเรียนได้ทราบผลการทางานของตน ด้วยการเฉลย คาตอบให้ซ่ึงจะช่วยให้นักเรียนทราบข้อบกพร่องเพ่ือปรับปรุงแก้ไข และเป็น การเสริมสร้าง ความพอใจให้แก่ผู้เรียน และการจูงใจ คือ การจัดแบบฝึกเรียงลาดับจากแบบฝึกง่ายและส้ัน ไปสู่ เรือ่ งยากและยาวขน้ึ มีภาพประกอบ และมีหลายรสหลายรูปแบบ จากเหตุผลดังกล่าว จึงอาจเป็นสาเหตุทาให้แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร สาหรบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ทีผ่ วู้ ิจยั สร้างข้นึ มปี ระสทิ ธิภาพเปน็ ไปตามเกณฑ์ 80/80 ท่ตี ง้ั ไว้ ซึ่ง สอดคล้องกับผลการศึกษาของ สุกัญญา จันทร์เพ็ญ (2524 : บทคัดย่อ) ทิวาวรรณ คาดวง (2531 : บทคัดย่อ) และจารุณี น้อยนรินทร์ (2542 : บทคัดยอ่ ) 2. นักเรียนท่ีเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการสื่อสาร สาหรับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติท่ีระดับ .01 ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว้ การที่ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏเช่นน้ีอาจมีสาเหตุ เนื่องมาจากเหตผุ ลดงั ต่อไปนี้ 2.1 แบบฝึกทักษะการใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร สาหรับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 เป็นการจัดกิจกรรมเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นใหม่ โดยเสนอความรู้ในลักษณะของแบบฝึกท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ นักเรียนมีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการเรยี นรู้จากเพ่ือนนักเรียนดว้ ยกนั หรือจากส่ือ การ เรยี นการสอน ซ่ึงผู้วจิ ัยได้จัดกิจกรรมให้สอดคลอ้ งสัมพันธ์กันในแตล่ ะแผนการสอนโดยใชเ้ ทคนิคการ เล่านิทาน เพลง เกม คาคล้องจอง บทร้อยกรองท่ีนักเรียนได้ยินได้ฟังบ่อย ๆ ในชีวิตประจาวัน เพ่ือให้นักเรียนจาได้ง่าย ไม่เกิดความเบื่อหน่าย ใช้กิจกรรมแปลกใหม่อภิปรายกลุ่ม โดยสอนให้ สัมพันธ์ในทักษะทุกด้านท้ังการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการหลักการใช้ภาษา เพ่ือลด จดุ ด้อยของการสอนแต่ละแบบ จงึ ส่งผลให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างตอ่ เน่ือง ไมเ่ บ่อื หน่าย มคี วามสนใจ ต่อการเรียนตลอดเวลา เมื่อผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมอย่างต่อเนื่องจะทาให้เกิดการเรียนรู้ตามกฎ แห่งการศึกษา (Law of Exercise) ของธอรน์ ไดค์ (Thorndike) ท่ีวา่ การที่ผู้เรียนได้ฝกึ หดั หรือกระทาซ้า ๆ บ่อย ๆ ย่อมทาให้เกิดการเรียนได้นานและคงทน (สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์. 2522 : 52-62) และเมื่อปฏบิ ัติกิจกรรมเสรจ็ จะมีประเมนิ ผลการเรียนรู้ โดยใหท้ าแบบฝกึ หัดท้ายบท ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยและอภิปรายเกี่ยวกับคาตอบ ทาให้ผู้เรียนทราบข้อผิดพลาดแล้วนาไป ปรับปรงุ แก้ไขขอ้ บกพร่องของตนเอง 2.2 ในการสร้างแบบฝึกทักษะ ผู้วิจัยได้สร้างตามข้ันตอนการฝึกทักษะการเขียน คือ คานึงถึงตัวเล็ก ซ่ึงได้แก่ ความพร้อมของเด็ก ความสามารถในการถ่ายทอดและการรับรู้ของ เด็ก ความคิดริเร่ิมและสร้างสรรค์ ความสนใจและศรัทธาในตัวเด็ก และคานึงถึงวิธีการสอน ซ่ึง ผวู้ จิ ยั ได้มีการเตรียมการสอนมาเปน็ อยา่ งดี โดยการเขียนแผนการสอนระดบั บทเรียน ซ่งึ ภายในแผน มีรายละเอียดชัดเจนในด้านกิจกรรมของนักเรียนกับบทบาทของครู โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีกิจกรรมให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติอย่างแท้จริง นักเรียนมีความภาคภูมิใจในผลงานของตน และ การเข้าร่วมทากิจกรรมกลุ่มได้อย่างม่ันใจ มีความรับผิดชอบในหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย สอดคล้อง กับคากล่าวของ วัลลภ กันทรัพย์ (2537 : 10) ท่ีว่า การเขียนแผนการสอนท่ีดีนั้น ควรจะเขียนให้ ครอบคลุมเนื้อหา และพึงระลึกเสมอว่ากิจกรรมการเรียนนั้นนักเรียนเป็นผู้ปฏิบัติมากที่สุด ครูเป็น เพียงผู้คอยแนะนา สง่ เสริมให้กิจกรรมดาเนินไปตามจุดม่งุ หมาย และสอดคล้องกับแนวคิดใน การ จดั กิจกรรมการเรียนการสอนของ สานกั งานคระกรรมการ การประถมศึกษาแห่งชาติ (2543 : 12-13) ที่เสนอไว้ว่า ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนน้ันควรที่จะต้องแปลกใหม่ แตกต่างจากบทเรียนที่ ใช้สอนในช้ันเรียนตามปกติ โดยเสนอความรู้ในลักษณะของแบบฝึกท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กล าง นักเรียนมีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการเรียนรู้จากเพื่อนนักเรียนด้วยกันหรือจากส่ือการเรียนการ สอน การสร้างแบบฝึกนั้นต้องมีความเหมาะสมกับวัยอยู่ในความสนใจของเด็ก การเลือกคาหรือ ข้อความลงในช่องว่างซ่ึงมีรูปภาพสวยงาม เร้าความสนใจของนักเรียนอยากปฏิบัติกิจกรรม และ สนุกสนานกับการเรียน จะทาให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหาและจดจาได้ถูกต้อง ซ่ึง ประทีป แสง เปี่ยมสุข (2538 : 53) และอดุลย์ ภูปล้ืม (2539 : 24-25) กล่าวว่าแบบฝึกมีประโยชน์ต่อการเรียน ของเด็ก คือ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้ดีข้ึน นักเรียนสามารถทบทวนบทเรียนได้ด้วยตนเอง ช่วยในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในทางจิตใจมาก เป็น
เครื่องมือวัดผลการเรียนหลังจากเรียนบทเรียนแล้ว ช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนได้ ชัดเจน และช่วยให้นักเรียนจดจาเน้ือหาสาระของบทเรียนได้คงทน ทาให้นักเรียนสามารถนาภาษา ไปใช้ในการส่อื สารไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ จากเหตุผลดังกล่าว จึงอาจเป็นสาเหตุทาให้นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะการใช้ ประโยคเพื่อการสื่อสาร สาหรับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนท่ี เรียนแบบปกติ ซง่ึ สอดคล้องกบั ผลการศกึ ษาของ สุจิตรา ศรีนวล (2526 : 38) ประสงค์ รายณสุข (2531 : 106-107) พรรณทิพา อ่อนแสง (2532 : 88) ยุภาภรณ์ ชาวเชียงขวาง (2535 : 65) ปัญญา บัววัจนา (2536 : บทคัดย่อ) อนงค์ศิริ วิชาลัย (2536 : 52-53) ที่ได้ศึกษาการใช้แบบฝึก ทักษะประกอบการสอน ซ่ึงผลการศึกษาพบว่า นักเรียนท่ีได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ ประกอบการสอน มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวา่ นกั เรียนที่ไดร้ ับการสอนแบบปกติ ขอ้ เสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 สามารถนาแบบฝึกที่ ผู้วิจยั สร้างขน้ึ นาไปใช้ในการเรียนการสอนไดท้ ันที ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาแบบฝึก ทักษะวิชาภาษาไทยให้ใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยยึดการอบรมพัฒนาแบบฝึกในเนื้อหาและวิชาต่างๆ เพื่อชว่ ยในการเรียนการสอน ส่งผลใหส้ ัมฤทธิ์ทางการเรียนมีคะแนนสงู ขึน้ 2. ข้อเสนอแนะเพือ่ การวจิ ยั คร้ังตอ่ ไป ควรมีการศึกษาเพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะภาษาไทย เร่ือง การใช้ประโยคเพื่อ การสื่อสาร สาหรับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ในระดับชั้นอ่ืน ๆ ดว้ ย ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความคงทนในการเรียนรู้และเจตคติต่อการเรียนรู้หลังจาก เรียนด้วยแบบฝึกทกั ษะแลว้ ควรจัดให้มีการประกวดแข่งขันการใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร สาหรับช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 1 เพอื่ ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนได้พฒั นาความสามารถของตน
แบบฝึ กหดั ที่ ๑ ใหน้ กั เรียนเขียนเครื่องหมาย ⁄ หนา้ ประโยคคาสง่ั ใหถ้ กู ตอ้ ง _______ ๑. หา้ มเล่นเกมในคอมพวิ เตอร์เกิน 1 ชว่ั โมง _______ ๒. ทางานเสร็จแลว้ ใหก้ ลบั บา้ น _______ ๓. โปรดอยา่ ส่งเสียงดงั รบกวนผอู้ ่ืน _______ ๔. อยา่ ขวา้ งลูกบอลใส่กาแพงบา้ น _______ ๕. กรุณาหยบิ ปากกาใหห้ นูหน่อย _______ ๖. พอ่ ช่วยซ้ือผลไมไ้ ปฝากคุณยายดว้ ย _______ ๗. ไปเปลี่ยนเส้ือผา้ เด๋ียวน้ี _______ ๘. จงหาสาเหตุของปัญหาน้ี _______ ๙. นอ้ งปูนอยากไปเที่ยวสวนสนุก _______ ๑๐. เราทุกคนตอ้ งช่วยกนั รักถิ่นฐานบา้ นเกิด
Search