Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญา4 ภาค

ภูมิปัญญา4 ภาค

Published by Min Puppyink, 2021-04-03 08:22:36

Description: ภูมิปัญญา4 ภาค

Search

Read the Text Version

ภูมิปญญาไทย 4ภาค โดย นางสาว ณฐธิดา เสมาทัต ม.5/4 เลขท่ี26

ภูมิปญญาภาคกลาง

ประเพณีตักบาตรนาํ ผึง การตักบาตรนาํ ผึง เปนประเพณีการถวายนาํ ผึงแก่ ภิกษุและสามเณร ของชาวรามัญทีวัดพิ มพาวาส อาํ เภอบางปะกง สืบเนืองมาจากความเชือว่าในสมัย พุ ทธกาล พระพุ ทธเจ้าเสด็จประทับทีปาเลไลย์ มีช้าง และลิงคอยอุปฏฐากโดยการนําเอาอ้อยและนาํ ผึง คอยถวาย ต่อมาจึงทรงมีพุ ทธานุญาตให้ภิกษุ สามเณรรับนําผึงและนาํ อ้อยมาบริโภคเปนยาได้

มีดอรัญญิก มีดอรัญญิก เดิมเปนของชาวเวียงจันทร์และได้ อพยพเข้ามาพร้อมกับนําความรู้และเทคนิกการทํา เครืองมือทีใช้จากเหล็กหรือทีเรียกกันว่า “การตีมีด” และส่วนหนึงเปนช่างทองรูปพรรณ โดยลักษณะ ของมีดมีขนาดเหมาะมือและสวยงามมาก ฝกและด้าม ประดับด้วยทองคาํ สลักลายนูน เฉพาะด้ามทีจับถัก หุ้มด้วยลวดเงิน ทาํ ให้เกิดผิวสากจับได้กระชับมือ ไม่ ลืนไถล สัญนิษฐานว่าการตีมีดดาบอรัญญิกในสมัย ก่อน ทาํ ขึนเพื อใช้งานและใช้เพื อแสดงตาํ แหน่งยศ ด้วย

การละเล่นงูกินหาง งูกินหาง เปนการละเล่นทีได้มีกิจกรรมทางกายแบบ เบา เล่นเปนหมู่คณะตังแต่ 3-5 คน ขึนไป การเล่นงู กินหางไม่มีอุปกรณ์การเล่นใด ๆ สามารถเล่นกันใน หมู่เด็กทีหลากหลายวัยได้ หรือเล่นร่วมกับผู้ใหญ่ได้ โดยส่วนมากผู้ใหญ่จะเล่นในเทศกาลสําคัญ เช่น สงกรานต์ ส่วนเด็ก ๆ จะเล่นทุกโอกาสทีเด็ก ๆ รวม กันซึงมีวิธีการเล่นดังนี เริมเล่นเมือผู้เล่นพร้อมกัน แล้ว จะเริมด้วยการเสียงถ้าใครแพ้ คนนัน ก็จะออก เปนพ่ องู ส่วนผู้ชนะก็จะได้เล่นเปนแม่งูและลูกงู ส่วน มากในกลุ่มผู้เล่นจะเลือกเอาคนทีมีร่างกายแข็งแรง หรือรูปร่างใหญ่ในทีมเปนแม่งู เพื อเอาไว้ปองกันลูก งู

ภูมิปญญาภาคเหนือ

ผ้าไหมยกดอกลาํ พู น ลําพู น เปนจังหวัดทีเก่าแก่ทีสุดในภาคเหนือ เดิม มีชือว่า นครหริภุญชัย เปนจังหวัดทีมีกลุ่มคน ชาติพั นธุ์ทีหลากหลายทีสุดในภาคเหนือ อาทิ ยวน โยนก ไทใหญ่ ยางแดง เขิน ลือ ลัวะ และ มอญ คน ลําพู นมีการทอผ้าใช้เองมาแต่อดีตอันยาวนาน โดย เฉาะการทอผ้าทีเปนเอกลักษณ์ของชนชาวยอง (ไท ลือทีอพยพมาจากเมืองยองซึงเปนส่วนหนึงของ เมืองเชียงตุง ในประเทศพม่า) ในกลุ่มชนชันสูงที วัตถุดิบเปนเส้นไหมมากกว่าทีจะเปนเส้นฝายทีใช้กัน ในชนชันล่างลงไป กาลเวลาล่วงเลยผ่านมานับร้อยป การทอผ้าไหมและผ้าฝายยังมีการประยุกต์ใช้กันอยู่ แต่เปนการทอเปนลวดลายไม่วิจิตรนัก

ประเพณีลอยโคม ชาวล้านนาจังหวัดเชียงใหม่ ทีมีความเชือในการ ปล่อย โคมลอยซึงทาํ ด้วยกระดาษสาติดบนโครง ไม้ไผ่แล้วจุดตะเกียงไฟตรงกลางเพื อให้ไอ ความ ร้อนพาโคมลอยขึนไปในอากาศเปนการปล่อยเคราะห์ ปล่อยโศกและเรืองร้าย ๆ ต่าง ๆ ให้ไปพ้ นจากตัว

ร่มบ่อสร้าง ร่มบ่อสร้าง เปนสินค้าพื นเมืองทีได้รับความนิยม อย่างมากในหมู่นักท่องเทียวทังชาวไทยและชาวต่าง ประเทศ สาเหตุทีเรียกว่าร่มบ่อสร้างเพราะร่มนีผลิต กันทีบ้านบ่อสร้าง สมัยก่อนชาวบ้านจะทาํ ร่มกันใต้ถุน บ้าน แล้วนําออกมาวางเรียงรายเต็มกลางลานบ้าน เพื อผึงแดดให้แห้ง สีสันและลวดลายบนร่มนันสะดุด ตาผู้พบเห็น มีทังหมด 3 ชนิดด้วยกัน คือ ร่มทีทาํ ด้วยผ้าแพร ผ้าฝาย และกระดาษสา แต่ละชนิดมีวิธี ทาํ อย่างเดียวกัน ปจจุบันถ้าหากนักท่องเทียว ประสงค์จะชมขันตอนการผลิต ไปชมได้ทีศูนย์ อุตสาหกรรมทําร่ม ไปตามถนนสายเชียงใหม่- สันกําแพง 9 กิโลเมตร และมีทางแยกซ้ายมือเข้าไป

ภูมิปญญาภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ

ลาํ กลอน ผู้ทีร้องลํากลอน เรียกว่า “ หมอลํา” เปนผู้นาํ ทาง ความคิดของผู้คนในท้องถินโดยจะร้องลํากลอนทีมี เนือหาสะท้อนภาพความเปนจริงของสังคม เช่น การ กดขีของเจ้าหน้าที ความยากจนของราษฎร ฯลฯ หรือสังคมทีดีงามในอุดมคติ เช่น ความเจริญของ ท้องถินและความอยู่ดีกินดีของราษฎร เปนต้น

ประเพณีแห่นางแมว เปนพิ ธีกรรมขอฝนของเกษตรกรไทยจัดขึนทังใน ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงหนือ เมือใกล้ฤดู เพาะปลูกแล้วแต่ฝนยังไม่มาหรือมาล่าช้ากว่าปรกติ ส่งผลให้ข้าวในนา พื ชในสวนขาดนําหล่อเลียง ให้ ผลผลิตไม่ได้เต็มที ชาวนา ชาวไร่ก็จะจัดพิ ธีแห่นาง แมวขอฝนทีทําสืบต่อกันมาด้วยความเชือทีว่า หากทาํ พิ ธีแห่นางแมวแล้ว อีกไม่ช้าฝนก็จะตกลงมา

ประเพณีบุญบังไฟ ประเพณีบุญบังไฟ เรียกอีกอย่างหนึงว่า บุญเดือน หก เปนประเพณีไทยทีจัดขึนประจําทุกป ในช่วงเดือน พฤษภาคมซึงเปนช่วงก่อนทีจะลงมือทาํ นา สาํ หรับที จังหวัดยโสธรจะจัดงานบุญบังไฟในวันสุดสัปดาห์ที ๒ ของเดือนพฤษภาคม ในวันศุกร์จะเปนวันทีคณะ บังไฟทังหลายแห่ขบวนเซิงเพื อขอรับบริจาคเงิน ซือ อาหาร เครืองดืม และสิงของจําเปนในการร่วม ทาํ บุญ สําหรับวันเสาร์จะเปนวันแห่ขบวนฟอนราํ เพื อ การแข่งขันด้านความสวยงามของท่า ฟอนในจังหวะ ต่าง ๆ ตลอดทังการตกแต่งบังไฟและการจัดขบวน ทีสวยงาม ส่วนในวันอาทิตย์จะเปนวันจุดบังไฟ แข่งขันการขึนสูงของบังไฟ และการทีบังไฟสามารถ ลอยอยู่ในอากาศได้นานจะเปนเครืองตัดสิน การชนะเลิศ ของการแข่งขัน

ภูมิปญญาภาคใต

การแสดงโนรา เปนนาฏศิลปทีได้รับความนิยมมากทีสุดในบรรดา ศิลปะการแสดงของภาคใต้ มีความยังยืนมานับเปน เวลาหลายร้อยป การแสดงโนราเน้นท่ารําเปนสาํ คัญ ต่อมาได้นําเรืองราวจากวรรณคดีหรือนิทานท้องถิน มาใช้ในการแสดงเรือง พระสุธนมโนห์รา เปนเรืองทีมี อิทธิพลต่อการแสดงมากทีสุดจนเปนเหตุให้เรียกการ แสดงนีว่า มโนห์รา

งานแข่งเรือ ประเพณีการแข่งเรือกอและของชาวจังหวัด นราธิวาส เรือกอและเปนเรือทีมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เปนเรือทีใช้ในการท้าประมงพื นบ้านชายฝงได้เปน อย่างดี นิยมใช้กันในหมู่ชาวประมงมุสลิม เมือถึงฤดู นําหลากก็จะน้าเรือกอและมาแข่งขันกันโดยใช้ระบบ ชิงธง

ข้าวยาํ ข้าวยาํ อาหารเอกลักษณ์ประจาํ ท้องถินภาคใต้ โดยเฉพาะภาคใต้ตอนล่างนิยมรับประทานเปนอาหาร เช้า หรืออาหารกลางวัน เรียกกันในภาษามลายูท้อง ถินว่า “นาซิเกอราบู” (Nasi kerabu) ซึง “นาซิ” แปลว่า “ข้าว” ส่วน “เกอราบู” แปลว่า “ยาํ ” หมาย ถึงข้าวสุกทีคลุกกับนําบูดู ข้าวยํามีหลายชนิดด้วย กัน แต่จะเรียกชือแตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิน เช่น ข้าวยาํ ใบพั นสมอ หรือข้าวยาํ นราธิวาส ข้าวยาํ ใบยอ ข้าวยาํ ยาหรือข้าวยําสยา เปนต้น ต้นกาํ เนิด ของข้าวยาํ นันสันนิษฐานว่าอยู่ทางภาคใต้ของไทย และประเทศมาเลเซีย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook