Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน

Published by aommoa1095, 2021-08-31 03:27:49

Description: วิจัยในชั้นเรียน

Search

Read the Text Version

ช่ืองานวิจัย การพัฒนาพฤติกรรมนักเรียนตามหลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีเหตุผล ของนักศกึ ษาช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ชื่อผู้วจิ ัย นางพิริยา ตามวงค์ ท่ีมาและความสาคัญ ปัจจุบันโลกกาลังอยู่ในภาวะวิกฤต เศรษฐกิจกาลังมีปัญหา น้ามันแพงข้ึน ของกินของใช้มีราคาแพง น้าและไฟฟ้าก็มีราคาแพงข้ึนเร่ือยมา จากสภาวการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้ประเทศไทยอยู่ในขั้นวิกฤติ เพราะ ประเทศไทยผลิตน้ามันมาไม่เพียงพอต่อความต้องการของคนท้ังประเทศ จึงจาเป็นต้องนาเข้าน้ามันจาก ต่างประเทศ เพื่อนามาใช้ในการผลิตไฟฟ้า น้า และน้ามันเชื้อเพลิงในการคมนาคมขนส่ง ในการน้ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงนาเสนอแนวคิดเรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงข้ึน เพื่อให้คนไทยได้รู้จัก พอประมาณ รู้จักใช้ในส่ิงที่จาเป็น ดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง รวมทั้งใช้ทรัพยากรต่างๆ ทั้งน้า ไฟฟ้า และ เชอื้ เพลิงอย่างระมัดระวงั ไมก่ อ่ ให้เกิดปัญหาตา่ งๆ ตามมา กศน.ตาบลปา่ งิว้ มกี ารน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบรู ณาการเข้าสกู่ ารเรียนการสอน จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่ต้องปลูกฝังการการมีเหตุผล ให้กับนักศึกษา อีกท้ัง กศน.ตาบลป่าง้ิว มีปัญหา เร่อื งของไฟฟ้า โดยในแตล่ ะเดอื น กศน.ตาบลปา่ ง้วิ จา่ ยเงนิ คา่ ไฟฟา้ หลายร้อยบาท ซง่ึ มากเกินความจาเปน็ ผู้วิจัยในฐานะครูประจากลุ่มระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตาบลป่าง้ิว พบว่า นักศึกษาระดับ มธั ยมศึกษาตอนต้น ปฏบิ ัติตนไม่เหมาะสมในเรื่องของการพอประมาณ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลงั จากเรยี นเสร็จ แลว้ นกั เรยี นไมป่ ดิ ไฟฟ้า และไม่ปิดพดั ลม ในบางครั้งก็เปิดน้าทิ้งไวข้ ณะ ทาใหผ้ ู้วิจยั พบว่า นักเรียนไม่มีเหตผุ ล จึงได้ดาเนินการวิจัย เรื่อง การพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงโดยการการมีเหตุผล เพ่ือปลกู ฝงั ให้นักเรียนรู้จกั การพอประมาณ แนวคดิ และทฤษฎีของหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดมา นานกว่า ๒๕ ปี ต้ังแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นยา้ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตนแ์ ละความเปล่ียนแปลง หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งพจิ ารณา ดังนี้ กรอบแนวคดิ เปน็ ปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัตติ นในทางท่ีควรจะเป็นโดยมีพ้ืนฐาน มาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมี การเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพ่ือความม่ันคงและความยั่งยืนของการ พฒั นา

คณุ ลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัตติ นได้ในทุกระดบั โดยเนน้ การปฏิบตั บิ น ทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็นขน้ั ตอน คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คณุ ลักษณะพร้อม ๆ กัน ดงั นี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกดิ ไปและไม่มากเกินไป โดยไมเ่ บียดเบียนตนเอง และผู้อ่นื เช่น การผลติ และการบรโิ ภคทีอ่ ยูใ่ นระดบั พอประมาณ ๒. ความมเี หตุผล หมายถึง การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ระดับของความพอเพียงนนั้ จะต้องเป็นไปอยา่ งมี เหตผุ ล โดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จัยทีเ่ กีย่ วขอ้ งตลอดจนคานึงถงึ ผลทคี่ าดว่าจะเกดิ ขนึ้ จากการกระทาน้นั ๆ อย่างรอบคอบ ๓. การมีภมู คิ ุ้มกันทด่ี ีในตวั หมายถงึ การเตรียมตัวให้พร้อมรบั ผลกระทบ และการเปล่ยี นแปลงด้าน ต่าง ๆ ทจ่ี ะเกิดขึน้ โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณต์ ่าง ๆ ทค่ี าดว่าจะเกิดขนึ้ ในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละ ไกล เง่ือนไข การตัดสนิ ใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อย่ใู นระดับพอเพียงนนั้ ต้องอาศัยทงั้ ความรู้ และคุณธรรมเป็นพืน้ ฐาน กล่าวคือ ๑. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกบั วชิ าการตา่ ง ทเ่ี ก่ียวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบทจ่ี ะนาความรเู้ หลา่ นั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกนั เพือ่ ประกอบการวางแผนและความระมัดระวังใน ข้นั ปฏิบตั ิ ๒. เง่อื นไขความธรรม ทจ่ี ะต้องเสรมิ สร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์ สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปญั ญาในการดาเนินชีวิต แนวทางปฏิบัติ/ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ จากการนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใ์ ช้ คอื การ พัฒนาท่ีสมดลุ และย่ังยืน พร้อมรบั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในทุกดา้ น ท้งั ด้านเศรษฐกจิ สังคมสงิ่ แวดลอ้ ม ความรู้ และเทคโนโลยี วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั เพ่ือให้นักเรียนศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ กศน.ตาบลป่าง้ิว พัฒนาพฤติกรรมตามหลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีเหตผุ ล

ขอบเขตของการวิจยั ในการศึกษาวจิ ยั ครง้ั น้ี เปน็ การพัฒนาพฤติกรรมนกั ศึกษาตามหลักการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีเหตผุ ล ของนักศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ และได้กาหนด ขอบเขตของการวิจยั ไวด้ งั นี้ ๑. ประชากร คอื นักศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น กศน.ตาบลป่างวิ้ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ จานวน ๑๓ คน ๒. เนือ้ หา/หลกั วิชา เศรษฐกิจพอเพียง เรอ่ื งการมเี หตุผล การปฏบิ ตั ิตนเองตามหลกั เศรษฐกิจ พอเพียงโดยพิจารณาจาก การปดิ ไฟทุกครั้งเมื่อเลกิ ใช้ ไม่เปิดนา้ ทิ้ง ซือ้ ของแตเ่ ฉพาะทีจ่ าเปน็ เทา่ นนั้ ๓. วิธกี ารพัฒนาพฤตกิ รรมนักศึกษาตามหลักการเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓.๑ ครูใหค้ วามรนู้ ักศึกษาในเรื่องของหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๓.๒ ศกึ ษาเรอ่ื งเทคนิคการสอนโดยวธิ กี ารยา้ เตือน ๓.๓ ศึกษาพฤติกรรมในชีวติ ประจาวนั ท่นี กั ศึกษาควรแสดงออกและต่อหลักการเศรษฐกิจพอเพยี ง เกย่ี วกบั ทรัพยากรน้า ไฟฟา้ และการใชส้ ิ่งของเครือ่ งใช้ ๓.๔ ทาการย้าเตอื นก่อนการพบกลุ่มทุกครั้งในพฤติกรรมทค่ี วรแสดงออกตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงเพ่อื ใหน้ กั เรียนเข้าใจ และปฏิบตั ิได้ถูกต้อง ๓.๕ ให้นักศึกษาเล่าพฤติกรรมทส่ี อดคล้องกบั หลกั การเศรษฐกจิ พอเพยี งและประสบความสาเรจ็ ในแต่ละวนั แม้แต่เลก็ น้อยก็ตาม วธิ ดี าเนนิ การวิจยั ดาเนนิ การวิจยั ช่วงเดอื นพพฤศจิกายน ๒๕๖๓ – มีนาคม ๒๕๖๔ ท่ี กจิ กรรมดาเนนิ การ พฤศจิกายน ธนั วาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะหแ์ นวทางแก้ปัญหา -------- เขียนเค้าโครงงานวจิ ัยในชนั้ เรียน -------- -------- ศกึ ษาพฤตกิ รรมของผู้เรียน -------- -------- ออกแบบเครอ่ื งมือท่ีจะใชใ้ นการวจิ ัย -------- เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและวิเคราะหข์ ้อมูล -------- -------- -------- สรปุ และอภิปรายผล

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสารวจ ๓ ระดับ หากแสดงพฤติกรรมโดยการกระทาเป็นประจา ๓ คะแนน ทาบางครั้ง ๒ คะแนน ไม่ค่อยทา ๑ คะแนน ตามลาดับ โดยเป็นแบบสารวจที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนใน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย สรุปและอภปิ รายผล โดยรวมนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตาบลป่างิ้ว ปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยพิจารณาจากการปิดไฟทุกคร้ังเมื่อเลิกใช้ ไม่เปิดน้าท้ิงไว้ ซ้ือของแต่เฉพาะที่จาเป็นเท่านั้น นั่นหมายความ ว่าการสอนนักศึกษาด้วยวิธีการย้าเตือนมีผลต่อการพัฒนาพฤติกรรมนักศึกษาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้ อยา่ งเปน็ ทนี่ ่าพอใจ ขอ้ เสนอแนะ ๑. ผู้วจิ ยั อาจใชว้ ธิ ีการพัฒนาโดยใหผ้ ู้เรียนกับครูผวู้ จิ ัยวางแผนกจิ กรรมรว่ มกนั ซง่ึ อาจส่งผลต่อ พฤติกรรมของผู้เรยี นไดด้ ีขนึ้ ๒. ครูควรใช้วธิ กี ารงา่ ยๆ หรอื ประสบการณ์เดิมของผู้เรยี นมาใชใ้ นการส่งเสริมการมีเหตุผล เชน่ การ พูดคุย การเล่าเร่ือง การแสดงบทบาทสมมุติ เข้ามารว่ มด้วยเพ่ือใหผ้ ้เู รยี นมพี ฤตกิ รรมประหยัดทงั้ ที่กศน.ตาบล และทบี่ า้ นของตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook