Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore #คุณธรรมสำหรับครูและนักเรียน_A4_แบบฝึก (1)

#คุณธรรมสำหรับครูและนักเรียน_A4_แบบฝึก (1)

Published by Uthai koychai, 2021-10-10 05:10:50

Description: #คุณธรรมสำหรับครูและนักเรียน_A4_แบบฝึก (1)

Search

Read the Text Version

รองปก

คำนำ

บทที่ ๑ หลักธรรมของผู้สั่งสอนหรอื ใหก้ ารศกึ ษา (ครู อาจารย์ หรอื ผแู้ สดงธรรม) ผทู้ ำหน้าทส่ี ่ังสอน ใหก้ ารศกึ ษาแก่ผู้อืน่ โดยเฉพาะครู อาจารย์ พงึ ประกอบด้วยคุณสมบัติ และประพฤติตามหลกั ปฏิบัติ ดงั นี้ ก. เป็นกลั ยาณมิตร ข. ตง้ั ใจประสิทธ์ิความรู้ ค. มีลีลาครูครบทงั้ สี่ ง. มหี ลกั ตรวจสอบสาม จ. ทำหน้าท่คี รตู อ่ ศิษย์ ก. เป็นกลั ยาณมติ ร คือ ประกอบดว้ ยองคค์ ุณของกัลยาณมิตร หรือ กัลยาณมิตรธรรม ๗ ประการ ดงั น้ี ๑. ปิโย นา่ รัก คือ มีเมตตากรุณา ใส่ใจคนและประโยชนส์ ขุ ของเขา เข้าถงึ จิตใจ สรา้ งความรสู้ กึ สนทิ สนมเป็นกันเอง ชวนใจผู้เรยี นให้อยากเขา้ ไปปรกึ ษาไตถ่ าม ๒. ครุ นา่ เคารพ คือ เป็นผหู้ นักแน่น ถือหลักการเปน็ สำคัญ และมี ความประพฤติสมควรแกฐ่ านะ ทำใหเ้ กดิ ความรูส้ กึ อบอ่นุ ใจ เป็นท่พี ึ่งได้ และปลอดภัย ๓. ภาวนีโย นา่ เจรญิ ใจ คอื มคี วามรจู้ ริง ทรงภูมปิ ญั ญาแทจ้ รงิ และเป็นผฝู้ กึ ฝนปรับปรุงตนอยู่เสมอ เปน็ ทนี่ ่ายกยอ่ งควรเอาอยา่ ง ทำให้ ศิษยเ์ อ่ยอา้ งและรำลึกถึงดว้ ยความซาบซ้ึง มน่ั ใจ และภาคภมู ใิ จ

๔. วตตฺ า รู้จกั พูดใหไ้ ด้ผล คือ ร้จู ักชแี้ จงใหเ้ ข้าใจ รู้วา่ เมอื่ ไรควร พูดอะไร อยา่ งไร คอยใหค้ ำแนะนำว่ากล่าวตักเตือน เป็นทปี่ รึกษาทดี่ ี ๕. วจนกฺขโม อดทนต่อถ้อยคำ คือ พรอ้ มที่จะรบั ฟงั คำปรึกษา ซกั ถามแม้จุกจิก ตลอดจนคำลว่ งเกนิ และคำตกั เตือนวิพากษ์วจิ ารณต์ ่างๆ อดทน ฟงั ได้ ไม่เบื่อหน่าย ไมเ่ สยี อารมณ์* ๖.คมฺภรี ญฺจ กถํ กตฺตา แถลงเร่ืองลำ้ ลกึ ได้ คือ กลา่ วช้ีแจงเรอ่ื ง ต่างๆ ท่ีย่งุ ยากลึกซงึ้ ให้เข้าใจได้ และสอนศษิ ย์ใหไ้ ดเ้ รียนรเู้ รอื่ งราวท่ีลกึ ซ้งึ ยง่ิ ข้นึ ๗. โน จฏฐฺ าเน นโิ ยชเย ไม่ชกั นำในอฐาน คอื ไมช่ ักจูงไปในทางที่ เส่ือมเสยี หรือเร่อื งเหลวไหลไมส่ มควร (อง.ฺ สตฺตก. ๒๓/๓๔/๓๓) ข. ตั้งใจประสิทธิ์ความรู้ โดยตั้งตนอยใู่ นธรรมของผแู้ สดงธรรม ทเ่ี รยี กว่า ธรรมเทศกธรรม ๕ ประการ คอื ๑. อนุบุพพิกถา สอนใหม้ ีข้นั ตอนถูกลำดบั คือ แสดงหลกั ธรรม หรอื เนื้อหาตามลำดบั ความง่ายยากล่มุ ลกึ มีเหตผุ ลสัมพันธต์ ่อเนื่องกันไป โดยลำดับ ๒. ปริยายทสั สาวี จับจุดสำคญั มาขยายใหเ้ ขา้ ใจเหตุผล คือ ช้แี จง ยกเหตผุ ลมาแสดง ให้เขา้ ใจชัดเจนในแต่ละแง่แตล่ ะประเด็น อธบิ าย ยักเยือ้ งไปตา่ งๆ ใหม้ องเหน็ กระจา่ งตามแนวเหตผุ ล ๓. อนทุ ยตา ต้ังจิตเมตตาสอนด้วยความปรารถนาดี คือ สอนเขา ด้วยจิตเมตตา มงุ่ จะให้เป็นประโยชน์แกผ้ ้รู ับคำสอน ๔. อนามิสนั ดร ไมม่ ีจติ เพ่งเลง็ เหน็ แก่อามสิ คอื สอนเขามิใช่มใิ ช่ มุง่ ทีต่ นจะไดล้ าภ สินจา้ ง หรือผลประโยชนต์ อบแทน

๕. อนปุ หจั จ์* วางจติ ตรงไมก่ ระทบตนและผู้อ่นื คอื สอนตาม หลกั ตามเนื้อหา มงุ่ แสดงอรรถ แสดงธรรม ไม่ยกตน ไม่เสียดสขี ม่ ขีผ่ อู้ ืน่ (อง.ฺ ปญจฺ ก. ๒๒/๑๕๙/๒๐๕) ค. มีลลี าครูครบทง้ั ส่ี ครูท่ีสามารถมีลีลาของนกั สอน ดังนี้ ๑. สนั ทสั สนา ชี้ใหช้ ดั จะสอนอะไร กช็ แ้ี จงแสดงเหตผุ ล แยกแยะ อธิบายใหผ้ ู้ฟงั เข้าใจแจ่มแจ้ง ดงั จูงมอื ไปดูเห็นกับตา ๒. สมาทปนา ชวนใหป้ ฏบิ ัติ คอื สิ่งใดควรทำ กบ็ รรยายให้ มองเหน็ ความสำคญั และซาบซ้งึ ในคณุ ค่า เห็นสมจรงิ จนผฟู้ งั ยอมรับ อยากลงมอื ทำ หรือนำไปปฏิบัติ ๓. สมุตเตชนา เร้าใหก้ ล้า คือ ปลุกใจใหค้ ึกคัก เกิดความ กระตือรอื รน้ มีกำลังใจแข็งขนั ม่นั ใจจะทำใหส้ ำเรจ็ ไมก่ ลวั เหน็ดเหน่อื ย หรอื ยากลำบาก ๔. สมั ปหังสนา ปลกุ ใหร้ า่ เริง คือ ทำบรรยากาศให้สนุกสดชน่ื แจ่มใส เบกิ บานใจ ให้ผู้ฟงั แช่มชื่น มีความหวัง มองเหน็ ผลดีและทางสำเรจ็ จำง่ายๆ ว่า สอนให้ แจม่ แจ้ง จงู ใจ แกล้วกล้า ร่าเริง (เช่น ท.ี สี. ๙/๑๙๘/๑๖๑) ง. มหี ลักตรวจสอบสาม เมื่อพูดอย่างรวบรัดทส่ี ดุ ครอู าจตรวจสอบตนเอง ด้วยลกั ษณะการสอนของพระบรมครู ๓ ประการ คอื ๑. สอนดว้ ยความร้จู รงิ ร้จู รงิ ทำได้จริง จึงสอนเขา ๒. สอนอย่างมเี หตุผล ใหเ้ ขาพิจารณาเข้าใจแจ้งดว้ ยปญั ญาของ เขาเอง ๓. สอนใหไ้ ด้ผลจริง สำเร็จความม่งุ หมายของเร่ืองทสี่ อนนัน้ ๆ เชน่ ใหเ้ ข้าใจได้จรงิ เห็นความจรงิ ทำได้จรงิ นำไปปฏบิ ตั ิได้ผลจรงิ เปน็ ตน้

(องฺ.ติก. ๒๐/๕๖๕/๓๕๖) จ. ทำหน้าท่คี รูต่อศษิ ย์ คือ ปฏิบัติต่อศิษย์ โดยอนเุ คราะหต์ ามหลักธรรม เสมอื นเป็น ทิศเบ้อื งขวา* ดังน้ี ๑. แนะนำฝกึ อบรมใหเ้ ปน็ คนดี ๒. สอนใหเ้ ขา้ ใจแจม่ แจ้ง ๓. สอนศิลปวิทยาให้ส้นิ เชิง ๔. ส่งเสรมิ ยกย่องความดีงามความสามารถใหป้ รากฏ ๕. สร้างเครอ่ื งคุม้ ภยั ในสารทศิ คอื สอนฝึกศษิ ย์ให้ใชว้ ชิ าเลี้ยงชพี ไดจ้ ริงและรู้จักดำรงตนด้วยดี ทจ่ี ะเป็นประกันใหด้ ำเนนิ ชีวติ ดงี ามโดยสวัสดี มคี วามสขุ ความเจริญ** (ท.ี ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓)

บทที่ ๒ หลักธรรมของผ้เู ลา่ เรยี นศกึ ษา (นักเรยี น นักศึกษา นักค้นควา้ ) คนท่ีเลา่ เรยี นศึกษา จะเป็นนกั เรยี น นักศกึ ษา หรือนักค้นคว้าก็ ตาม นอกจากจะพงึ ปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมสำหรบั คนทจ่ี ะประสบ ความสำเร็จ คือ จกั ร ๔* และอิทธิบาท ๔* แล้ว ยังมหี ลักการที่ควรรู้ และ หลักปฏิบตั ิทีค่ วรประพฤตอิ กี ดงั ต่อไปนี้ ก. รหู้ ลักบุพภาคของการศกึ ษา ข. มหี ลกั ประกนั ของชีวิตทพี่ ฒั นา ค. ทำตามหลกั เสริมสรา้ งปัญญา ง. ศึกษาใหเ้ ปน็ พหูสูต จ. เคารพผ้จู ดุ ประทีปปญั ญา ก. รู้หลกั บพุ ภาคของการศกึ ษา คือ รู้จกั องคป์ ระกอบท่ีเป็น ปจั จยั แหง่ สัมมาทิฏฐิ ๒ ประการ ดงั นี้ ๑. องค์ประกอบภายนอกทด่ี ี ได้แก่ มีกลั ยาณมิตร หมายถึง รจู้ ัก หาผ้แู นะนำส่ังสอน ทีป่ รึกษา เพอ่ื น หนงั สอื ตลอดจนส่ิงแวดลอ้ มทาง สงั คมโดยท่ัวไปท่ีดี ท่เี กอ้ื กลู ซ่งึ จะชกั จูง หรอื กระตนุ้ ให้เกิดปญั ญาไดด้ ้วย การฟัง การสนทนา ปรึกษา ซกั ถาม การอา่ น การคน้ คว้า ตลอดจนการ รูจ้ กั เลอื กใช้สื่อมวลชนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ๒. องค์ประกอยภายในท่ีดี ได้แก่ โยนโิ สมนสกิ าร หมายถึง การใช้ ความคิดถูกวิธี ร้จู กั คดิ หรือคดิ เป็น คือ มองสงิ่ ทง้ั หลายดว้ ยความคิด พิจารณา สบื สาวหาเหตผุ ล แยกแยะส่งิ น้ัน ๆ หรือปญั หาน้นั ๆ ออกใหเ้ หน็

ตามสภาวะและตามความสมั พนั ธแ์ ห่งเหตปุ ัจจยั จนเขา้ ถงึ ความจริง และ แก้ปญั หาหรือทำประโยชน์ใหเ้ กดิ ข้ึนได้ กลา่ วโดยย่อวา่ ข้อหนึง่ รจู้ ักพงึ่ พาใหไ้ ด้ประโยชนจ์ ากคนและสงิ่ ทแ่ี วดล้อม ขอ้ สอง รูจ้ ักพึ่งตนเอง และทำตัวใหเ้ ปน็ ทพี่ ง่ึ ของผอู้ ่ืน (ม.มู. ๑๒/๔๙๗/๕๓๙) ข. มีหลักประกันของชวี ิตที่พฒั นา เมอื่ รู้หลกั บุพภาคของการศกึ ษา ๒ อยา่ งแล้ว พงึ นำมาปฏบิ ตั ใิ น ชวี ติ จริง พรอ้ มกับสรา้ งคุณสมบัตอิ ื่นอีก ๕ ประการใหม้ ใี นตน รวมเป็นองค์ ๗ ทเี่ รียกว่า แสงเงินแสงทองของชวี ิตที่ดีงาม หรือ ร่งุ อรุณของการศกึ ษา ที่ พระพทุ ธเจา้ ทรงเปรยี บวา่ เหมอื นแสงอรณุ ท่ีเปน็ บุพนิมติ แหง่ อาทติ ย์อทุ ยั เพราะเปน็ คณุ สมบัติต้นทนุ ท่ีเป็นหลกั ประกนั วา่ จะทำใหก้ ้าวหน้าไปใน การศึกษา และชวี ิตจะพัฒนาสูค่ วามดีงามและความสำเร็จท่ีสูงประเสรฐิ อย่างแนน่ อน ดังตอ่ ไปน้ี ๑. แสวงแหล่งปญั ญาและแบบอย่างท่ดี ี ๒. มีวินัยเปน็ ฐานของการพัฒนาชีวิต ๓. มีจิตใจใฝ่รูใ้ ฝส่ ร้างสรรค์ ๔. มุ่งมน่ั ฝึกตนจนเตม็ สุดภาวะท่คี วามเปน็ คนจะใหถ้ งึ ได้ ๕. ยึดถือหลักเหตปุ ัจจยั มองอะไรๆ ตามเหตุและผล ๖. ตัง้ ตนอยู่ในความไม่ประมาท ๗. ฉลาดคิดแยบคายให้ได้ประโยชน์และความจรงิ ค. ทำตามหลักเสริมสร้างปญั ญา

ในทางปฏิบัติ อาจสร้างปจั จัยแห่งสมั มาทฏิ ฐิ ๒ อย่างข้างต้นน้นั ได้ ดว้ ยการปฏบิ ัตติ ามหลกั วฒุ ธิ รรม* (หลกั การสร้างความเจรญิ งอกงามแหง่ ปัญญา) ๔ ประการ ๑. สัปปุรสิ สังเสวะ เสวนาผรู้ ู้ คือ ร้จู กั เลือกหาแหล่งวชิ า คบหา ทา่ นผรู้ ู้ ผู้ทรงคณุ ความดี มีภมู ธิ รรมภมู ิปัญญาน่านบั ถอื ๒. สทั ธมั มสั สวนะ ฟงั ดูคำสอน คือ เอาใจใส่สดบั ตรับฟงั คำ บรรยาย คำแนะนำส่ังสอน แสวงหาความรู้ ท้ังจากตัวบุคคลโดยตรง และ จากหนงั สอื หรือสื่อมวลชน ตง้ั ใจเล่าเรียน คน้ ควา้ หมน่ั ปรึกษาสอบถาม ให้ เขา้ ถึงความรทู้ ี่จริงแท้ ๓. โยนโิ สมนสิการ คดิ ใหแ้ ยบคาย คอื รู้ เหน็ ได้อ่าน ไดฟ้ ังส่ิงใด กร็ ูจ้ กั คิดพิจารณาด้วยตนเอง โดยแยกแยะใหเ้ ห็นสภาวะและสบื สาวใหเ้ หน็ เหตุผลวา่ นนั่ คืออะไร เกิดข้ึนได้อย่างไร ทำไมจึงเปน็ อย่างน้ัน จะเกดิ ผล อะไรต่อไป มขี อ้ ดี ข้อเสยี คุณโทษอย่างไร เปน็ ตน้ ๔. ธรรมานุธรรมปฏิบตั ิ ปฏบิ ัตใิ ห้ถูกหลกั นำส่ิงท่ีไดเ้ ลา่ เรยี นรับ ฟงั และตริตรองเหน็ ชัดแล้ว ไปใชห้ รือปฏิบัตหิ รอื ลงมอื ทำ ให้ถูกตอ้ งตาม หลกั ตามความมงุ่ หมาย ให้หลกั ย่อยสอดคลอ้ งกับหลกั ใหญ่ ขอ้ ปฏิบัติย่อย สอดคล้องกับจุดหมายใหญ่ ปฏบิ ตั ิธรรมอยา่ งรเู้ ป้าหมาย เชน่ สันโดษเพือ่ เกื้อหนุนการงาน ไม่ใชส่ ันโดษกลายเป็นเกยี จคร้าน เปน็ ตน้ (อง.ฺ จตกุ กฺ . ๒๑/๒๔๘/๓๓๒) ง. ศกึ ษาใหเ้ ปน็ พหูสตู คอื จะศกึ ษาเล่าเรยี นอะไร กท็ ำตนให้เปน็ พหูสูตในดา้ นนัน้ ด้วย การสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจใหแ้ จ่มแจง้ ชดั เจนถงึ ขน้ั ครบ องค์คุณของ พหสู ตู (ผู้ไดเ้ รียนมาก หรือผคู้ งแก่เรียน) ๕ ประการ คอื

๑. พหสุ ฺสตุ า ฟงั มาก คือ เล่าเรียน สดบั ฟงั รู้เหน็ อ่าน ส่ังสม ความร้ใู นดา้ นน้ันไวใ้ หม้ ากมายกว้างขวาง ๒. ธตา จำได้ คอื จบั หลกั หรือสาระได้ ทรงจำเรอ่ื งราวหรอื เนือ้ หา สาระไวไ้ ดแ้ มน่ ยำ ๓. วจสา ปริจิตา คล่องปาก คือ ท่องบน่ หรือใช้พูดอยูเ่ สมอ จน แคลว่ คล่องจดั เจน ใครสอบถามกพ็ ูดช้ีแจงแถลงได้ ๔. มนสานุเปกฺขติ า เจนใจ คอื ใส่ใจนึกคดิ จนเจนใจ นกึ ถึงครงั้ ใด ก็ปรากฏเน้ือความสว่างชดั เจน มองเห็นโลง่ ตลอดไปทง้ั เร่ือง ๕. ทิฏฺฐยิ า สุปฏิวทิ ธฺ า ขบไดด้ ้วยทฤษฎี คือ เข้าใจความหมายและ เหตผุ ลแจ่มแจง้ ลึกซง้ึ ร้ทู ่ีไปทมี่ า เหตุผล และความสัมพนั ธข์ องเนื้อความ และรายละเอยี ดต่างๆ ทั้งภายในเรื่องนั้นเอง และทเ่ี กย่ี วโยงกบั เรอ่ื งอ่นื ๆ ในสายวชิ าหรือทฤษฎนี ั้นปรโุ ปรง่ ตลอดสาย (อง.ฺ ปญจฺ ก. ๒๒/๘๗/๑๒๙) จ. เคารพผจู้ ุดประทีปปญั ญา ในด้านความสมั พันธ์กบั ครอู าจารย์ พึงแสดงคารวะนับถอื ตาม หลักปฏบิ ตั ิในเร่ืองทศิ ๖ ข้อว่าด้วย ทิศเบ้อื งขวา* ดงั น้ี ๑. ลกุ ต้อนรบั แสดงความเคารพ ๒. เข้าไปหา เพือ่ บำรุง รบั ใช้ ปรกึ ษา ซักถาม รับคำแนะนำ เปน็ ต้น ๓. ฟงั ด้วยดี ฟงั เป็น รู้จกั ฟังให้เกดิ ปญั ญา ๔. ปรนนบิ ัติ ช่วยบรกิ าร ๕. เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ เอาจรงิ เอาจงั ถือเป็นกิจสำคญั (ที.ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓)

บรรณานุกรม พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยุตโฺ ต). ธรรมนูญชีวิต. มหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลัย, กรุงเทพฯ : ๒๕๔๐.




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook