Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit 2 Tools and equipment used in technical drawing2

Unit 2 Tools and equipment used in technical drawing2

Published by karntida0891840186, 2017-09-07 05:30:27

Description: Unit 2 Tools and equipment used in technical drawing2

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 2รหสั วชิ า 3302-0001 วชิ า การออกแบบเขียนแบบ สอนคร้ังที่ 2หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการเขียนแบบเทคนิค เวลา 6 ชว่ั โมงช่ือเรื่อง เครื่องมือและอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการเขียนแบบเทคนิค เวลา 6 ชม. เครื่องมอื และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบเทคนิค การทางานในภาคปฏบิ ตั ิทุกประเภทสาขาอาชีพ การผลติ ผลงานท่ีดีมคี ุณภาพออกมาน้นั องค์ประกอบท่ีสาคญั อยา่ งหน่ึงที่ทาให้งานมีคุณภาพไดม้ าตรฐาน คือ เคร่ืองมืออุปกรณ์ ในงานเขียนแบบก็เช่นเดียวกนั ผเู้ ขียนตอ้ งรู้จกั เครื่องมือเขียนแบบ และการดูแลรักษาเป็ นพ้ืนฐานก่อนที่จะพฒั นาเขา้ สู่การเขียนแบบในระดบั สูงต่อไป1.1 ความรู้เบือ้ งต้นเกย่ี วกบั ประวตั ิ และความเป็ นมาของเครื่องมอื เขยี นแบบ การก่อสร้างในอดีตหลายพนั ปี มาแลว้ ผทู้ าการก่อสร้างตอ้ งมีความชานาญในงานน้นั อยา่ งแทจ้ ริงจึงจะทาการก่อสร้างได้ แบบแปลนแทบมองไม่เห็นความสาคญั มีบา้ งไม่มีบา้ ง ถา้ มีกย็ งั คงขาดรายละเอยี ดไม่สมบรู ณ์เหมอื นสมยั ปัจจุบนั เครื่องมือ และอปุ กรณ์เขียนแบบ เกือบไม่รู้จกั เขาสร้างแบบโดยการขีดเขียนลงบนดิน บนแผน่ หิน บนผนงั ถ้า อาศยั ธรรมชาติที่อยรู่ อบตวั ส่ิงก่อสร้างในยคุ น้นั ยงั คงหลงเหลอื ใหค้ นรุ่นหลงั ไดศ้ กึ ษา ในสมยั ปัจจุบนั กลายเป็นสิ่งมหศั จรรยข์ องโลกท่ียงิ่ ใหญ่ ไดแ้ ก่ มหาวหิ ารพาร์เทนอนประเทศกรีก ปี รามดิ ประเทศอียปิ ต์ และกาแพงเมืองจีน ประเทศจีน เป็นตน้ นบั เป็นงานก่อสร้างที่อาศยั ภมู ิปัญญาชาวบา้ น หรือภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ อยา่ งแทจ้ ริง ต้งั แต่งานเขียนแบบไปจนถึงงานก่อสร้าง รูปท่ี 1.1 รูปท่ี 1 แสดงงานก่อสร้างในอดีต ทม่ี าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้อื งตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี1.2 ความพร้อมในการปฏิบัตงิ านเขยี นแบบ เป็นการเตรียมตวั ก่อนการเขียนแบบในช้นั เรียนหรือในที่ทางานแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ขอ้ ดงั น้ี 1.2.1 ความพร้อมด้านตวั บุคคล หรือคนเขียนแบบ เป็นสิ่งสาคญั อนั ดบั แรก ถา้ คนเขียนไม่พร้อมท่ีจะเขียนแบบ งานออกมากไ็ ม่ประสบความสาเร็จ คนเขียนแบบที่มีคุณภาพตอ้ งมีใจรักในงานเขียนแบบใฝ่ รู้ตลอดเวลา เป็นคนสุขุม เยอื กเยน็ และละเอยี ดรอบคอบ ก่อนเขียนแบบทุกคร้ังตอ้ งเตรียมเคร่ืองมือ

ใหพ้ ร้อมใชง้ าน และตอ้ งใชเ้ ครื่องมือให้ตรงประเภทดว้ ย ความพร้อมอีกอยา่ งหน่ึงของคนเขียนแบบก็คือเรื่อง ความสะอาดจะพบบ่อยมาก ผลงานเขียนแบบที่สกปรกเนื่องจากความสกปรกของคนเขียนแบบกลา่ วคือ ไมท่ าความสะอาดร่างกายส่วนที่ตอ้ งสมั ผสั กบั กระดาษเขียนแบบ และไม่ทาความสะอาดเครื่องมือเขียนแบบ 1.2.2 สถานท่เี ขียนแบบ สภาพแวดลอ้ มมสี ่วนสาคญั และมผี ลกระทบโดยตรงต่อผลงานเขียนแบบแบ่งออกไดเ้ ป็นขอ้ ๆ ดงั น้ี 1.2.2.1 บรรยากาศภายในห้องเขยี นแบบ เนื่องจากการเขียนแบบตอ้ งใชเ้ วลานง่ั เขียนเป็นเวลานาน ๆ อากาศที่ร้อนอบอา้ วมผี ลต่ออารมณ์ของคนเขียนแบบ การทางานเขยี นแบบควรอยใู่ นหอ้ งท่ีมีอากาศถา่ ยเทสะดวกเยน็ สบาย ไม่จาเป็นตอ้ งเป็นหอ้ งปรับอากาศ และตอ้ งเป็นหอ้ งที่ไม่มีเสียงดงั รบกวนเพราะการเขียนแบบตอ้ งใชส้ มาธิ 1.2.2.2 แสงสว่างบนโต๊ะเขยี นแบบ แสงสวา่ งมผี ลต่อสายตาของคนเขียนแบบอยา่ งมากแสงสว่างที่พอดี และเหมาะสมก็คือ แสงธรรมชาติ แต่แสงสว่างจากธรรมชาติน้ันมีขีดจากดั ในการเขียนแบบ เพราะบางคร้ังการเขียนแบบก็เลยเวลาไปถึงตอนกลางคืน หรือแม่กระท้งั ในกลางวนั ท่ีแสงธรรมชาติไม่เพียงพอตอ้ งอาศยั แสงสว่างจากโคมไฟฟ้ าเขา้ มาช่วย การให้แสงสว่างที่ถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ ก็คือทิศทางของแสงสว่างต้องเขา้ ทางด้านซา้ ยมือของคนเขียนแบบเท่าน้นั งานเขียนแบบเป็ นงานที่ตอ้ งเพ่งสายตาตลอดเวลาอยา่ งมาก ถา้ จดั แสงไม่ถกู ตอ้ งจะทาใหส้ ายตาของคนเขียนพร่ามวั ได้ การเลือกโคมไฟส่องโตะ๊ เขียนแบบ และตาแหน่งของการติดต้งั เป็นส่ิงสาคญั ลกั ษณะของโคมไฟที่ดีตอ้ งเป็ นหลอดไฟสาหรับงานเขียนแบบโดยเฉพาะ ที่มีลกั ษณะเป็ นหลอดไส้ มีกระบอกบงั คบั ลาแสง มีกา้ นหรือขายดึ ติดกบั ขอบโต๊ะ ตาแหน่งติดต้งั ตอ้ งอย่ดู า้ นซา้ ยมือ และสามารถปรับระดบั ตาแหน่งได้ ถา้กระดานเขียนแบบกวา้ ง สามารถติดต้งั โคมไฟฟ้ าไดม้ ากกว่า 1 จุด การเขียนโดยใชโ้ คมไฟหลอดฟลอู อเรสเซนต์ ควรหลีกเลีย่ งเนื่องจากแสงสวา่ งที่ไดจ้ ะกระพริบตามคลืน่ ความถ่ีของกระแสไฟฟ้ า ทาใหแ้ สบระคายเคืองต่อสายตา 1.2.3 เคร่ืองมอื เขยี นแบบ เครื่องมือเขียนแบบมผี ลกระทบต่องานเขียนแบบอยา่ งมาก ถา้ ไมม่ หี รือมีไมค่ รบ หรือไม่มีคุณภาพท่ีดีพอ จะมผี ลกระทบกบั งานเขยี นแบบโดยตรง1.3 ประเภทและชนดิ ของเคร่ืองมอื เขยี นแบบ และการดูแลรักษา ประเภทและชนิดของเคร่ืองมือเขียนแบบ แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ เคร่ืองมอื หลกัสาหรับเขียนแบบ เครื่องมอื วดั เครื่องมืออานวยความสะดวก และกระดาษเขียนแบบ 1.3.1 เคร่ืองมอื หลกั สาหรับเขยี นแบบ เป็นอปุ กรณ์หลกั ที่สาคญั ในการเขียนแบบ ถา้ ไมม่ ีอุปกรณ์ดงั กลา่ วแลว้ จะไมส่ ามารถเขียนแบบไดเ้ ลย ไดแ้ ก่ 1.3.1.1 โต๊ะเขยี นแบบหรือกระดานเขยี นแบบ และเก้าอี้ มีหลายขนาดการเลือกใชต้ อ้ งให้เหมาะสมกบั ขนาดของกระดาษเขียนแบบเนื่องจากมีราคาแพง ชนิดของโต๊ะเขียนแบบแบ่ง

ออกไดด้ งั น้ี 1) โต๊ะเขยี นแบบพร้อมอปุ กรณ์สาเร็จ เป็นโต๊ะเขียนแบบที่มีบรรทดั แนวดิ่ง และแนวนอน และหวัปรับองศา ติดมากบั โต๊ะ เป็นสินคา้ นาเขา้ จากต่างประเทศราคาแพงมาก เหมาะสาหรับเขียนในสานกั งาน 2) กระดานเขียนแบบพร้อมอุปกรณ์ช่วยเขียน เป็ นกระดานเขียนแบบสาหรับพกพา ให้ความสะดวกในการทางานพอสมควร สามารถนาไปใชเ้ ขียนแบบในที่ต่าง ๆ อุปกรณ์ช่วยเขียนสามารถถอด และประกอบไดง้ ่ายเหมาะสาหรับการเขียนแบบดว้ ยกระดาษแผน่ เลก็ ขนาด A3 และA4 เวลาตอ้ งการเขียนใหน้ ากระดานเขียนแบบไปวางบนโตะ๊ ทางานไดเ้ ลย 3) กระดานเขยี นแบบชนิดทาเอง และชนดิ สาเร็จรูป ใชแ้ ผน่ ไมอ้ ดั ความหนาไมน่ อ้ ยกว่า 15มิลลเิ มตร ตดั ใหไ้ ดข้ นาดตามตอ้ งการ ปรับขอบท้งั 4 ดา้ นแต่งใหเ้ รียบ ดา้ นบนบุดว้ ยแผน่ ฟอร์ไมกา้ หรือแผน่ เมลามนี อดั ดว้ ยกาวใหส้ นิท ขอบลา่ งมีรางหรือร่องโลหะ สาหรับเกบ็ เคร่ืองมือเขียนแบบขนาดเลก็นามาประกอบเขา้ กบั ขาโตะ๊ ปรับมุมเอียงไดต้ ามความตอ้ งการ สถานศกึ ษาส่วนใหญ่นิยมใชอ้ ยา่ งแพร่หลายเพราะราคาถกู ขนาดกระดานเขียนแบบมาตรฐาน ในปัจจุบนั มี ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร และ 80 x 120เซนติเมตร รูปท่ี 2 \ รูปที่ 2 แสดงโต๊ะเขียนแบบชนิดต่าง ๆ ท่ีมาของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี เกา้ อ้ีนงั่ เขียนแบบ ควรเลอื กชนิดที่ปรับสูงต่าไดม้ ีเบาะนวมหุม้ เกา้ อ้ี และควรมีที่พกั เทา้ เพราะตอ้ งนงั่ เป็นเวลานาน ๆการดูแลรักษาโต๊ะเขยี นแบบ ก. ใชเ้ สร็จตอ้ งทาความสะอาด และแกะกระดาษกาวออกใหห้ มด ข. หา้ มใชเ้ ป็นโตะ๊ รองกรีดหรือตดั กระดาษบนกระดานเขยี นแบบ ค. ไม่ควรขีดเขียนขอ้ ความใด ๆ บนกระดานเขียนแบบ จะทาใหส้ กปรกทาความสะอาดยาก ง. ไมค่ วรนาของท่ีมีน้าหนกั มาวางบนโตะ๊ หรือกระดานเขียนแบบเพราะจะทาใหเ้ สียรูปทรงได้และไมค่ วรนามาเป็นโต๊ะทางาน จ. เมอ่ื ไม่ไดใ้ ชง้ านเป็นเวลานานควรมีผา้ ปิ ดคลุมกนั ฝ่ นุ และแสงแดด

1.3.1.2 เครื่องมอื ช่วยเขียนเส้นตรงแนวนอน เป็นเครื่องมือหลกั ประจาโต๊ะเขียนแบบมไี ว้สาหรับเขียนเสน้ ในแนวนอน ท่ีนิยมใชม้ ี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ 1) ฉากทีหรือบรรทัดที (T– SQUARE) มรี ูปร่างคลา้ ยตวั อกั ษรที (T) ในภาษาองั กฤษเป็ นเคร่ืองมือชนิดแรกท่ีนามาใชใ้ นการเขียนแบบสาหรับเขียนเส้นแนวนอน ประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 2 ส่วน คือ ตวับรรทดั และส่วนหวั การใชง้ านใหใ้ ชส้ ่วนหวั เกาะแนบติดกบั ขอบโตะ๊ ดา้ นซา้ ยใหแ้ นบสนิทจบั บงั คบั เลื่อนข้ึนลงดว้ ยมอื ซา้ ย 2) ทีเลอื่ น (T– SLIDE) พฒั นามาจากบรรทดั ทีเพ่อื เพ่มิ ความสะดวกในการใชอ้ ุปกรณ์ช่วยเขียนอ่ืนๆ ไดด้ ีย่ิงข้ึน ประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 2 ส่วน คือ ตวั บรรทดั และกลไกสาหรับการเล่ือนข้ึนลง(รอกทองเหลืองขา้ งละ 2 ตวั ) ดว้ ยเสน้ เชือกเอ็น หรือไนล่อน ยดึ ติดกบั ขอบล่าง และขอบบนของกระดานเขียนแบบ รูปที่ 3 รูปท่ี 3 แสดงบรรทดั ที และทีเลือ่ น ท่มี าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณีการดูแลรักษาบรรทดั ที และทีเลอ่ื น ก. รักษาขอบบรรทดั ทีดา้ นที่ใชเ้ ขียนแบบ (ขอบริมดา้ นบน) อยา่ ใหเ้ กิดรอยบุบ บิ่น หรือแตกเน่ืองจากแรงกระแทกจากสิ่งของอื่น ข. ไม่ควรใชแ้ ทนไมบ้ รรทดั กรีดตดั กระดาษดว้ ยมดี คทั เตอร์ เพราะคมของใบมีด อาจแฉลบโดนขอบบรรทดั ที ทาใหเ้ กิดความเสียหายได้ ค. ไมค่ วรใชเ้ ทปกระดาษกาวมาตดิ บนบรรทดั ที หรือไมค่ วรเขียนขอ้ ความใด ๆ บนบรรทดั ที เพราะจะเกิดความสกปรกกบั บรรทดั ทียากต่อการทาความสะอาด ง. เมื่อไมไ่ ดใ้ ชเ้ ป็นเวลานานตอ้ งเก็บทนั ที กรณีเป็นบรรทดั ที ที่ปลายบรรทดั จะเจาะรูสาหรับแขวนถา้ เป็นทีเลอื่ นตอ้ งแกะสายเอน็ มดั กบั ตวั ทีเลอ่ื น เกบ็ ไวใ้ นถงุ หรือในกล่อง เพื่อป้ องกนั ไม่ใหเ้ สียรูปทรง และเสียหาย (โก่งหรือแอ่น) กรณีหยดุ พกั การใชช้ ว่ั คราว ใหเ้ ลื่อนตวั ทีเลอ่ื นไปดา้ นบนสุดของกระดานเขียนแบบเสมอ 1.3.1.3 ฉากสามเหลยี่ ม (SET SQUARE) เป็นเครื่องมือเขียนแบบท่ีตอ้ งใชค้ ่กู บั บรรทดั ทีตลอด ใช้สาหรับเขียนเสน้ ดิ่ง และเสน้ เฉียงไมจ่ ากดั องศา การใชต้ อ้ งวางทาบขอบบนของบรรทดั ทีใหส้ นิท แลว้ เลื่อนไปดา้ นซา้ ยหรือขวา ฉากสามเหล่ยี มแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ไดแ้ ก่

1) ฉากสามเหล่ียมชนิดมุมตายตวั (FIX ANGLE SET SQUARE) เป็ นฉากสามเหล่ียมชุดละ 2 อนัโดยมมี มุ 90 , 60 , 30 องศา และมุม 90 , 45 , 45 องศา การใชง้ านสาหรับเขียนแบบทว่ั ไป ใชอ้ นั เดียวหรือใช้ประกอบกนั ท้งั 2 อนั 2) ฉากสามเหลีย่ มชนิดปรับมุมได้ (ADJUSTABLE SET SQUARE) เป็นฉากสามเหลย่ี มที่พฒั นามาจากฉากชนิดมุมตายตวั ใหใ้ ชง้ านไดส้ ะดวกกว่า เพราะสามารถเลือ่ นปรับองศาไดอ้ ยา่ งละเอียดตามตอ้ งการต้งั แต่ 0 – 90 องศา รูปที่ 4 รูปท่ี 4 แสดงชนิดของฉากสามเหล่ียม ทีม่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี รูปที่ 5 แสดงการใชฉ้ ากแบ่งค่ามมุ ต่างๆ ทม่ี าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี

การดูแลรักษาฉากสามเหลย่ี ม ก. รักษาขอบของฉากสามเหลีย่ มท้งั 3 ดา้ น อยา่ ใหเ้ กิดรอยบ่ิน รอยบุบ ข. ไมค่ วรใชแ้ ทนบรรทดั กรีดตดั กระดาษดว้ ยมีดคทั เตอร์เพราะทาใหข้ อบฉากสามเหล่ียมเกิดความเสียหายได้ ค. ไม่ควรใชเ้ ทปกระดาษกาวมาปะติดบนฉากสามเหลี่ยม หรือไม่ควรเขียนขอ้ ความใด ๆลงไปเพราะจะสกปรกยากต่อการทาความสะอาด ง. ความเสียหายเนื่องจากทาหลน่ จากโต๊ะเขียนแบบขณะกาลงั เขียนแบบ เนื่องจากปรับโตะ๊ เอยี งมากเกินไป จ. ไม่ควรใช้ของหนักประเภทหนังสือวางกดทบั ฉากสามเหลี่ยม เพราะจะทาแตกหักหรือเสียรูปทรงได้ ฉ. เมอ่ื ไม่ไดใ้ ชเ้ ป็นเวลานานไมค่ วรวางทิ้งไวบ้ นโต๊ะเขียนแบบ ควรนาไปแขวนไวค้ ่กู บั บรรทดั ทีหรือเกบ็ ใส่กล่องโดยเฉพาะ 1.3.1.4 ดนิ สอเขยี นแบบ (PENCILS) ดินสอท่ีใชใ้ นงานเขียนแบบ ความออ่ นแขง็ ของไสด้ ินสอตอ้ งเลือกใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของกระดาษเขียนแบบ อุณหภูมิห้อง และน้าหนักมือคนเขียน การเขียนไม่ควรเลือกใชด้ ินสอไสอ้ อ่ นมาก ๆ เพราะจะทาใหแ้ บบสกปรกไดภ้ ายหลงั ชนิดความเขม้ ของไสด้ ินสอมีดงั น้ี ไสแ้ ข็ง (HARD LEAD) ไดแ้ ก่ 9H ,8H, 7H, 6H ,5H และ 4H ไสป้ านกลาง (MEDIUM LEAD) ไดแ้ ก่ 3H ,2H, H ,F, HB และ B ไสอ้ ่อน (SOFT LEAD) ไดแ้ ก่ 2B,3B ,4B, 5B ,6B และ 7B รูปท่ี 6 ลกั ษณะปลายดินสอท่ีใชใ้ นงานเขียนแบบ

ชนิดของดินสอในงานเขยี นแบบแบ่งออกเป็ น 3 ชนิด ได้แก่ 1) ดินสอไม้ เป็นดนิ สอท่ีผลิตมานานแลว้ ใชไ้ ดด้ ีเพราะราคาถกู การเหลาใชเ้ ครื่องเหลาดินสอ หรือใชม้ ีดเหลา แลว้ ลบั ปลายดินสอดว้ ยกระดาษทรายละเอียดอกี คร้ังหน่ึง เพ่อื การใชง้ านสะดวกรวดเร็วควรเตรียมไวค้ ร้ังละหลาย ๆ แท่ง และเหลาทีเดียวพร้อมกนั ดนิ สอไมเ้ มื่อใชง้ านไปแลว้ จนกระทง่ั มีความยาวนอ้ ยกวา่ 3 น้ิว ไมค่ วรนามาใช้ เพราะจะเขียนไมส่ ะดวก 2) ดินสอกดชนิดเปล่ียนไส้ ได้ ขนาดของไส้ดินสอจะมีขนาดโตเท่ากบั ดินสอไม้(โตประมาณ 2มลิ ลิเมตร) เหลาไสด้ ว้ ยเคร่ืองเหลาไสโ้ ดยเฉพาะใชง้ านไดส้ ะดวก เปลี่ยนไส้ไดท้ ุกชนิดความเขม้ และไส้สีเช่น สีแดง น้าเงิน เขียว เป็นตน้ รูปที่ 7 แสดงชนิดของดินสอเขียนแบบ ทมี่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 1.3.1.5 ยางลบ (RUBBER) ยางลบในงานเขียนแบบมี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ ยางลบดินสอกบั ยางลบหมึกการใชย้ างลบไมว่ า่ ลบดินสอหรือลบหมึก จะมีเศษฝ่ นุ ผงของยางลบหลุดออกมาเป็ นจานวนมาก จึงตอ้ งใช้แปรงปัดฝ่ นุ ผงของยางลบออกก่อนแลว้ จึงเขียนแบบต่อ ปัจจุบนั มียางลบที่ขบั เคลอ่ื นดว้ ยอุปกรณ์ไฟฟ้ าดว้ ยรูปท่ี 8 รูปที 8 แสดงชนิดยางลบ ทมี่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 1.3.1.6 ปากกาเขยี นแบบ (PENS) เป็นปากกาสาหรับงานเขียนแบบโดยเฉพาะส่วนใหญ่ใชเ้ ขียนกบักระดาษไขเขียนแบบ ความหนาของเสน้ ปากกาเขียนแบบจะแน่นอนไดม้ าตรฐานการเขียนแบบดว้ ยปากกา

เขียนแบบ คนเขียนแบบตอ้ งมปี ระสบการณ์ในการเขียน การใชง้ านตอ้ งใชด้ ว้ ยความระมดั ระวงั เพราะปากกาเขียนแบบมีราคาแพง ขนาดความหนาของเสน้ ปากกามีต้งั แต่ 0.10 -2.0 มิลลิเมตร มหี ลายยหี่ อ้ จดัจาหน่ายเป็นรายดา้ ม และจาหน่ายเป็นชุดเลก็ ชุดใหญ่ บรรจุในกล่องพร้อมหมกึ เติมปากกา และยางลบ คนที่เขียนแบบดว้ ยปากกาไดด้ ีน้นั ตอ้ งมพี ้นื ฐานการเขียนแบบดว้ ยดินสอไดด้ ีมาก่อน รูปท่ี 9 รูปที่ 9 แสดงปากกาเขียนแบบ ท่ีมาของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณีการดูแลรักษาปากกาเขียนแบบ ก. เขียนเสร็จแต่ละคร้ัง ตอ้ งปิ ดฝาปากกาทนั ที ข. การถอดลา้ งหวั ปากกาควรใชน้ ้าอุ่น หมกึ ท่ีเกาะติดจะหลดุ ออกง่าย ค. ปากกาเบอร์ 0.10 - 0.25 มลิ ลิเมตร มไี สเ้ ล็กมากไม่ควรถอดลา้ ง ควรแช่ในน้าอุ่นและเขย่าเบา ๆหรือแช่น้ายาลา้ งหวั ปากกาโดยเฉพาะ ง. การเขยา่ ปากกาเวลาเขียนควรเขยา่ ในแนวนอนขนานกบั พ้นื นอกกระดาษเขียนแบบน้าหมกึ จะได้ไมห่ กเลอะบนกระดาษเขียนแบบ จ. เม่อื เวลาไมไ่ ดใ้ ชเ้ ป็นเวลานาน ควรลา้ งหวั ปากกา และลา้ งหลอดบรรจุหมกึ นาเก็บไวใ้ นกล่องสาหรับเก็บปากกา 1.3.1.7 เคร่ืองเหลาดินสอ (PENCIL POINTERS) หรือกบเหลาดินสอใชส้ าหรับเหลาดินสอเขียนแบบให้มีรูปร่างเรียวเป็ นกรวยแหลม ชนิดของเครื่องเหลาดินสอในงานเขียนแบบแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดไดแ้ ก่ 1) เคร่ืองเหลาดินสอไม้ เป็นชนิดที่มกี า้ นโลหะยดึ ติดกบั ขอบโต๊ะเขียนแบบใชง้ านสะดวกเพียงแต่สอดปลายแหลมดินสอเขา้ ไปในรูดา้ นหนา้ ดึงตวั จบั ดินสอออกมาหนีบตวั ดินสอแลว้ ปล่อยมือ ใชม้ ืออีกขา้ งหมนุ กา้ นของเคร่ืองเหลาในลกั ษณะหมุนตามเขม็ นาฬิกา 2) เครื่องเหลาดินสอกดชนิดเปลี่ยนไสไ้ ด้ มีท้งั ชนิดยึดติดกบั ขอบโต๊ะเขียนแบบมีรูปร่างเป็ นแท่งสี่เหล่ียม และชนิดวางบนโต๊ะมรี ูปร่างเปน็ ทรงกระบอกวางต้งั การใชง้ านก็สะดวกดว้ ยการปลดไส้ดินสอใหเ้ ลอ่ื นออกจากตวั ดินสอ แลว้ จึงนามาสอดเขา้ กบั เคร่ืองเหลา ใชม้ ือขวาจบั ตวั ดินสอ พร้อมท้งั หมุนแป้ นเครื่องเหลาในลกั ษณะตามเขม็ นาฬิกา ขอ้ ควรระวงั อยา่ เหลาดินสอบนกระดาษเขียนแบบ รูปท่ี 10

รูปที่ 10 แสดงชนิดเครื่องเหลาดินสอ ทีม่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณีการดูแลรักษารักษาเคร่ืองเหลาดนิ สอ ก. เวลาใชง้ านไปนาน ๆ จะมเี ศษผงดินสอ และเปลือกไมด้ ินสอติดตกคา้ งภายในตวั เครื่องเหลา ควรนาไปทิ้งเป็ นคร้ ังคราว ข. ควรหยอดน้ามนั หล่อลน่ื ในส่วนที่เป็นแกนหมุนบา้ ง เพอื่ การใชง้ านที่คล่องตวั และการใชง้ านที่ยาวนาน ค. ไม่ควรใชว้ สั ดุอ่ืนใด แหยเ่ ขา้ ไปในเคร่ืองเหลา แลว้ ทาการหมุนเล่นเพราะอาจเกิดความเสียหายกบั เคร่ือง และใบมดี ภายในเครื่องเหลา ง. เมอ่ื เวลาไมไ่ ดใ้ ชง้ านเป็นเวลานาน ตอ้ งทาความสะอาดแลว้ จึงเก็บเขา้ ที่ใหเ้ รียบร้อย 1.3.2 เครื่องมือวดั เป็นอปุ กรณ์ท่ีตอ้ งใชค้ วบคู่กบั เครื่องมือหลกั แบ่งออกได้ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ บรรทดัมาตราส่วน และบรรทดั วดั มมุ 1.3.2.1 บรรทัดมาตราส่วน (SCALE) เป็นเครื่องมือที่ใชว้ ดั ระยะลงในแบบ มลี กั ษณะรูปร่างเป็นแท่งบรรทดั สามเหล่ียม และบรรทดั แบน โดยมีอตั ราส่วนที่มขี นาดใหญ่กว่าของจริง(2:1) เท่าของจริง (1:1)และเลก็ กวา่ ของจริง (1:2) เพอื่ สะดวกในการเขียนแบบ ใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดของงาน และขนาดกระดาษเขียนแบบ มีหน่วยวดั ระยะเป็นเมตร เซนติเมตร และมลิ ลิเมตร(รายละเอยี ดอยบู่ ทเรียนถดั ไป) 1.3.2.2 บรรทัดวดั มมุ (PROTRACTORS) เป็ นเคร่ืองมือสาหรับวดั มุม มีลกั ษณะรูปร่างเป็ นแผน่รูปคร่ึงวงกลม และรูปวงกลม มีหน่วยวดั มุมเป็นองศา ต้งั แต่ 0 -180 องศา รูปที่ 11

รูปท่ี 11 แสดงเคร่ืองมอื วดั ทมี่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณีการดูแลรักษาเครื่องมอื วดั ก. หลงั จากใชง้ านเสร็จควรทาความสะอาดทนั ทีดว้ ยผา้ เน้ือน่ิม ข. ไม่ควรนาบรรทดั มาตราส่วนไปทาบเขียนเสน้ เพราะเป็นการใชง้ านผดิ ประเภท และจะเกิดความสกปรกแก่ขอบบรรทดั ค. ไม่ควรนาไปเคาะกบั ส่ิงอ่ืนใด เพราะจะทาใหข้ อบหรือเหลี่ยมแตก บ่ินทาใหส้ ่วนที่เป็ นขีดเคร่ืองหมายแบ่งระยะหลุดขาดหายไป ง. ให้ระมดั ระวงั ปลายเหล็กแหลมของวงเวียน จะทาใหเ้ กิดความเสียหายกบั ขีดเคร่ืองหมายแบ่งระยะ จ. อยา่ ใชเ้ ป็ นบรรทดั กรีดตดั กระดาษดว้ ยมีดคทั เตอร์เพราะ จะทาให้ขอบเครื่องมือวดั เกิดความเสียหายได้ ฉ. เม่ือไมไ่ ดใ้ ชง้ านเป็นเวลานานควรเกบ็ ใส่กล่องใหเ้ รียบร้อย 1.3.3 เครื่องมืออานวยความสะดวก เป็นอุปกรณ์ท่ีช่วยเสริมสร้างใหง้ านเขียนแบบเป็นไปดว้ ยความสะดวก ประณีต เรียบร้อย และรวดเร็ว ทาใหง้ านมมี าตรฐาน มีหลายชนิด ไดแ้ ก่ 1.3.3.1 วงเวยี น (COMPASS) เป็นเครื่องมือสาหรับเขียนเสน้ โคง้ หรือเขียนวงกลมปัจจุบนัมีจาหน่ายเป็นชุด บรรจุในกล่องสวยงาม ภายในกล่องประกอบไปดว้ ย วงเวยี นแบ่ง(DIVIDERS) ขาสาหรับต่อวงเวียน ท่ีจบั ดา้ มปากกา จบั ดา้ มดินสอ ปากกาปากไก่ และเหลก็ แหลมสารอง 1.3.3.2 วงเวยี นแบ่ง (DIVIDERS) เป็นอุปกรณ์สาหรับช่วยถา่ ยขนาดระยะจากเครื่องมอื วดัระยะลงสู่กระดาษเขียนแบบ นอกจากน้นั แลว้ ยงั ใชใ้ นการแบ่งเสน้ ออกเป็นหลายส่วนเท่ากนั ไดด้ ว้ ย ลกั ษณะของวงเวยี นแบ่งคลา้ ยกบั วงเวยี นเขยี นวงกลม แตกต่างกนั ตรงที่มีปลายเป็นเหลก็ แหลมท้งั 2 ขา้ ง รูปที่ 12

รูปท่ี 12 แสดงชนิดของวงเวยี น ทีม่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาการดูแลรักษาชุดเขยี นวงเวยี น ก. ความเท่ียงตรงของวงเวียนอยทู่ ่ีปลายเหลก็ แหลม ตอ้ งระวงั ไมใ่ หห้ กั หรือคดงอ ข. อยา่ นาไปใชง้ านผดิ ประเภท เป็นตน้ ว่านาไปงดั สิ่งของเพราะจะทาใหด้ า้ มหกั หรือคดงอได้ ค. เม่อื ใชเ้ สร็จตอ้ งเก็บเขา้ กลอ่ งทนั ที ง. ไม่ควรหยอดน้ามนั หลอ่ ลื่นบริเวณขอ้ หมนุ 1.3.3.3 แผ่นฉลุอเนกประสงค์ (TEMPLATE) มีลกั ษณะเป็ นวสั ดุแผน่ บาง วางทาบบนกระดาษเขียนแบบ แลว้ เขียนไดเ้ ลย มีหลายประเภทตามลกั ษณะการใชง้ าน เช่น แผ่นเขียนสุขภณั ฑ์ เขียนเครื่องเรือน ไฟฟ้ า แผน่ เขียนวงกลม แผน่ เขียนสี่เหล่ยี ม แผน่ เขียนสามเหลี่ยม แผน่ เขียนวงรี หกเหล่ียม โดยดา้ นบนแผน่ จะบอกมาตราส่วนกากบั ไวด้ ว้ ย การใชง้ านตอ้ งใชค้ ่กู นั กบั บรรทดั ทีเสมอ งานที่ไดจ้ ะไมโ่ ยห้ รือเอียง ไดร้ ะดบั ในแนวนอน และแนวต้งั รูปท่ี 13

รูปที่ 13 แสดงแผน่ ฉลุอเนกประสงค์ ท่มี าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณีการดูแลรักษาแผ่นฉลุอเนกประสงค์ ก. ไม่ควรขดี เขียนขอ้ ความใด ๆ ลงบนแผน่ ฉลุ ข. ระวงั ของหนกั กดทบั จะทาใหเ้ สียรูปทรงหรือเสียหายได้ ค. หลกี เลี่ยงการทาความสะอาดดว้ ยการใชน้ ้ามนั ต่าง ๆ ง . ระวงั อยา่ ใหถ้ กู แสงแดดหรือความร้อนเพราะอาจคดงอ หรือเสียรูปทรง จ. ใชง้ านเสร็จควรทาความสะอาด และจดั เก็บใหเ้ รียบร้อย 1.3.3.4 บรรทดั โค้ง (IRREGULAR CURVE) เป็นอุปกรณ์แผน่ ช่วยในการเขียนส่วนโคง้รูปร่างต่าง ๆ ที่ไมส่ ามารถเขียนดว้ ยวงเวยี น มหี ลายรูปร่างและชนิดปรับความโคง้ ได้ (โคง้ กระดกู งู)รูปท่ี 14 รูปท่ี 14 แสดงชนิดของบรรทดั โคง้ ทมี่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี

การดูแลรักษาบรรทดั โค้ง เหมอื นการบารุงรักษาแผน่ ฉลุอเนกประสงค์ 1.3.3.5 แผ่นก้นั ลบ (ERASING SHIELD) มีลกั ษณะเป็นแผน่ พลาสติกบาง หรือแผน่โลหะสเตนเลส ขนาด 7.5 x 10 เซนติเมตร เป็นอปุ กรณ์ใชส้ าหรับก้นั ลบส่วนที่ตอ้ งการลบท้ิง ที่อยชู่ ิดกนั กบัเสน้ อืน่ ก้นั ไมใ่ หย้ างลบไปลบเอาเสน้ ที่อยขู่ า้ งเคียงออก รูปท่ี 15 รูปที่ 15 แสดงแผน่ ก้นั ลบ ทม่ี าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณีการดูแลรักษาแผ่นกน้ั ลบ เนื่องจากเป็นอุปกรณ์แผน่ ท่ีมีความบางมาก สิ่งที่ควรระวงั ก็คือเกิดการหกั หรือบิดงอจากการเกบ็ และการใชง้ าน 1.3.3.6 เครื่องเขียนตวั อกั ษร ความประณีตที่ควบคู่กบั งานเขียนแบบนอกจากแบบรูปแลว้ ก็คือ ตวั อกั ษรประกอบแบบ นอกจากเขียนดว้ ยลายมือคนเขียนแลว้ เครื่องมือช่วยเขียนตวั อกั ษรก็มีความสาคญั ในกรณีท่ีตอ้ งการความประณีตสูง แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ไดแ้ ก่ แผ่นฉลุตวั อกั ษร และ ชุดเขียนบรรทดั ร่องตวั อกั ษร 1) แผ่นฉลุตัวอักษร (TEMPLATE LETTERING) มีลกั ษณะเป็ นบรรทดั แผ่นบางฉลุตวั อกั ษรและตวั เลขเรียงตามลาดบั การใชง้ านเขียนตอ้ งใชป้ ระกอบกบั บรรทดั ที ใหว้ างแผน่ ฉลุตวั อกั ษรทาบขอบบนบรรทดั ที แลว้ เลื่อนตามแนวนอน นาปลายปากกาสอดเขา้ ร่องรูลกั ษณะต้งั ฉากเขียนทีละตวั แผ่นฉลุตวั อกั ษรมอี กั ษรภาษาไทย และภาษาองั กฤษ 2) ชุดเขียนบรรทัดร่องตวั อกั ษร (LETTERING SET) มีลกั ษณะเป็นอปุ กรณ์ 2 ชิ้น คือบรรทดั ร่องตวั อกั ษร และตวั จบั ปากกา (กา้ มปู) ใชง้ านค่กู นั ตลอด ก. บรรทัดร่องตัวอักษร (GUIDE PLATE LETTERING) มีลกั ษณะเป็ นแผ่นคลา้ ยแผ่นฉลุตวั อกั ษรแต่ตวั อกั ษรไมท่ ะลุ ที่ขอบล่างบรรทดั มีร่องแนวยาวบงั คบั ตวั จบั ปากกาตลอดความยาวบรรทดั การใชง้ านตอ้ งนาแผน่ บรรทดั วางทาบบนขอบบรรทดั ที แลว้ เล่ือนตามแนวนอนโดยมีตวั จบั ปากกาขีดบนร่องบรรทดั อกั ษรทีละตวั

ข. ตวั จบั ปากกา (SCRIBER) มีลกั ษณะเป็นโลหะคลา้ ยกา้ มปูมปี ลายดา้ นหน่ึงสาหรับติดแกนเหล็กแหลมไวข้ ดู ตามร่องตวั อกั ษร ส่วนปลายอีกขา้ งท่ีกางออกไวส้ าหรับเสียบปากกาเขียนแบบ ส่วนแกนที่อยู่ปลายล่างสุดจะสอดแกนลงสู่ร่องบรรทดั อกั ษร โดยแกนน้ีเป็นตวั บงั คบั ใหต้ วั อกั ษรที่เขียนอยใู่ นแนวระดบัเดียวกนั ตลอด ตวั จบั ปากกาน้ีสามารถหมนุ ปรับเขียนไดท้ ้งั ตวั ต้งั ตรง และตวั เอยี งขวา ตามตอ้ งการ รูปท่ี 16 รูปที่ 16 แสดงเครื่องเขียนตวั อกั ษร ทมี่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณีการดูแลรักษาเคร่ืองเขยี นตวั อกั ษร ก. ระวงั อย่าทาตวั จบั ปากกาตกหล่นจะทาใหเ้ หล็กแหลมหกั หรือคดงอได้ หรืออย่านาปลายเหล็กแหลมไปใชง้ านผดิ ประเภทจะเกิดความเสียหายได้ ข. ใชง้ านเสร็จตอ้ งทาความสะอาดแลว้ เกบ็ เขา้ ที่หรือเกบ็ เขา้ กล่องเครื่องมือใหเ้ รียบร้อย 1.3.3.7 แปรงปัดขนอ่อน (BRUSH) ใชส้ าหรับปัดฝ่ นุ ผงยางลบ หรือฝ่ นุ ละอองบนกระดาษเขียนแบบ มลี กั ษณะเป็นดา้ มไมห้ รือดา้ มพลาสติก ตวั แปรงเป็นขนออ่ นหนา สีขาวหรือดากวา้ งประมาณ 3 -4 น้ิว คลา้ ยแปรงช่างตดั ผม ช่างเขียนแบบท่ีดีตอ้ งมีไวป้ ระจาโต๊ะเขียนแบบแทนการใชม้ ือปัดหรือปากเป่ าแสดงถึงความมกั ง่ายไม่ควรกระทา รูปท่ี 17 รูปที่ 17 แสดงแปลงปัดขนอ่อน ท่มี าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี

การดูแลรักษาแปรงปัดขนอ่อน เก็บแปรงโดยการเอาส่วนท่ีเป็นดา้ มลงเอาส่วนท่ีเป็นขนออ่ นข้ึนดา้ นบนหรือมดั ผกู เชือกแขวนไวข้ า้ งโตะ๊ ควรหลีกเลี่ยงนาไปปัดฝ่นุ อยา่ งอืน่ เพราะแปรงจะสกปรก ทาใหง้ านเขียนแบบสกปรกตามไปดว้ ย 1.3.3.8 กระดาษกาวหรือเทปปิ ดกระดาษเขยี นแบบ (DRAFTING TAPE) เป็นวสั ดุสาหรับยดึ ติดกระดาษเขียนแบบกบั กระดานเขียนแบบ มที ้งั ชนิดทาจากพลาสติก และชนิดทามาจากกระดาษมีหลายขนาดความกวา้ ง แต่ที่เหมาะสมคือ กวา้ งประมาณ 1 น้ิว กระดาษกาวชนิด2 หนา้ ไม่เหมาะกบั งานเขียนแบบปัจจุบนั มีกระดานเขียนแบบท่ีผลติ จากแผน่ เหลก็ เคลอื บดว้ ยเมลามนี จะใชแ้ ผน่ แม่เหลก็ แบนกวา้ งประมาณ1 นิ้ว บางมากปิ ดทบั ขอบกระดาษเขียนแบบแทนการปิ ดดว้ ยกระดาษเทปกาว แผน่ แมเ่ หลก็ ดงั กลา่ วจะติดมากบั โต๊ะเขียนแบบในบางรุ่น ข้อควรระวังการปิ ดกระดาษเทปกาว คือ ตอ้ งปิ ดให้ครบ 4 มุมของกระดาษเขียนแบบ การนากระดาษเทปกาวท่ีเสื่อมคุณภาพมาใช้งานจะสร้างความสกปรกใหก้ บั กระดานเขียนแบบ และมุมกระดาษเขียนแบบ การแกะกระดาษเทปกาวออกโดยไม่ระมดั ระวงั ทาให้มุมกระดาษเขียนแบบฉีกขาด ประการสุดทา้ ยการนากระดาษเทปกาวที่ผา่ นการใชง้ านแลว้ มาใชอ้ ีกไมค่ วรกระทาเพราะจะทาใหก้ ระดาษเขียนแบบขยบั และหลุด เป็นปัญหาภายหลงั 1.3.4 กระดาษเขยี นแบบ (DRAFTING PAPERS) เป็นวสั ดุสาหรับใชเ้ ขียนแบบโดยเฉพาะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ กระดาษปอนด์ และกระดาษไขเขียนแบบ 1.3.4.1 กระดาษปอนด์ เป็นกระดาษสีขาว เรียกชื่อตามความหนา เช่น กระดาษขาว80 ปอนด์ กระดาษขาว 100 ปอนดธ์ รรมดา และ 100 ปอนด์ชนิดพิเศษ เหมาะสาหรับงานเขียนแบบดว้ ยดินสอ งานวาดเขียน และงานศลิ ปะ 1.3.4.2 กระดาษไขเขยี นแบบ (CHARTHAM PAPERS) เป็นกระดาษสีขาวข่นุ โปร่งแสง กาหนดความหนาเป็ นกรัมต่อตารางเมตร เช่น 80 กรัม(บาง) 90 กรัม(ปานกลาง) และ 100กรัม(หนา)เหมาะสาหรับงานเขียนแบบดว้ ยปากกาเขียนแบบ สาหรับทาเป็นตน้ ฉบบั นาไปอดั สาเนาเป็นแบบพิมพเ์ ขียว(BLUE PRINT) ขนาดกระดาษเขียนแบบ

รูปท่ี 18 แสดงขนาดของขอบกระดาษและบริเวณที่ใชเ้ ขียนแบบการดูแลรักษากระดาษเขยี นแบบ ถา้ เป็นไปไดค้ วรหลีกเลีย่ งการมว้ นกระดาษ และไม่ควรพบั กระดาษ ควรเก็บใส่กลอ่ ง ให้หลีกเลี่ยงแสงแดด และความช้ืนหรือน้า ซ่ึงจะทาใหก้ ระดาษเขียนแบบเสียหายหรือเส่ือมคุณภาพ

1.4 ข้ันตอนการใช้เคร่ืองมอื เขยี นแบบ 1.4.1 ข้ันตอนการใช้บรรทดั ทหี รือฉากที มดี งั ต่อไปน้ี 1.4.1.1 การเขียนเส้นนอนด้วยฉากที เลือกขนาดความยาวฉากทีใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดความยาวของกระดาษเขียนแบบ ใหน้ าบรรทดั ทีวางบนกระดานเขียนแบบ ใหส้ ่วนหวั เกาะขอบกระดานเขียนแบบดา้ นซ้ายมือ และมือซา้ ยจับประกบหัวบรรทดั ทีติดกบั ขอบโต๊ะให้แนบสนิทเลื่อนข้ึนหรือเล่ือนลงตามตาแหน่งที่ตอ้ งการเขียนเสน้ นอน ขณะเขียนเสน้ ใกลข้ อบซา้ ยกระดาษเขียนแบบ มือซา้ ยยงั คงจบั ประคองหวับรรทดั ทีอย่หู า้ มปล่อย ถา้ ปล่อยมือตอ้ งละมือซา้ ยมากดดา้ นบน หรือดา้ นหลงั ของบรรทดั ทีแทน ในกรณีเขียนเสน้ นอนระยะที่ห่างออกไป รูปที่ 19 รูปท่ี 19 แสดงการเขียนเสน้ นอนดว้ ยบรรทดั ที ทมี่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 1.4.1.2 การเขยี นเส้นดิง่ ด้วยฉากสามเหลย่ี มประกอบบรรทดั ที นาฉากสามเหลี่ยมวางดา้ นขอบบนบรรทดั ทีใหแ้ นบสนิท เล่อื นไปทางซา้ ย ทางขวา ตามตาแหน่งที่ตอ้ งการเขียนจากน้นั กล็ ะมอื ซา้ ยมากดลงบนหลงั บรรทดั ที และฉากสามเหล่ยี มพร้อมกนั แลว้ จึงเขียนเสน้ ด่ิงหรือเสน้ เฉียง ตามตอ้ งการ รูปที่20 รูปที่ 20 แสดงการใชฉ้ ากสามเหลี่ยมประกอบบรรทดั ที ท่มี าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี

รูปที่ 21 แสดงการใชฉ้ ากกบั ไมท้ รี ่วมกนั ทามุมในแนวต่างๆบนกระดานเขียนแบบ รูปท่ี 22 แสดงค่ามมุ ต่างๆที่ไดจ้ ากฉากคงท่ีสองอนั ทางานร่วมกนั กบั ไมท้ ีรูปท่ี 23 แสดงการใชง้ านของไมท้ ีลากเสน้ ในแนวขนานและใชร้ ่วมกบั ฉากท้งั แบบท่ีถกู ตอ้ งและแบบท่ีผดิ

รูปท่ี 24 แสดงการใชง้ านร่วมกนั ของฉากสามเหล่ยี มและกระดานเขียนแบบ

1.4.1.3 การตดิ กระดาษเขียนแบบลงบนกระดานเขียนแบบด้วยบรรทดั ทีมขี ้นั ตอน ดงั น้ี 1) วางกระดาษเขียนแบบให้ชิดกบั ขอบโต๊ะดา้ นซา้ ยมือประมาณ 5 – 7.5 เซนติเมตรเหตุเพราะว่าความเที่ยงตรงของบรรทดั ทีอย่บู ริเวณส่วนหวั ของบรรทดั ที เลือกความยาวบรรทดั ทีใหเ้ หมาะสม และสมั พนั ธก์ บั ขนาดกระดาษเขยี นแบบ แต่ตอ้ งยาวกว่าความยาวของกระดาษเขียนแบบเลก็ นอ้ ย ท้งั น้ีเพ่อื ใหว้ างฉากสามเหล่ียมไดอ้ ยา่ งสะดวก 2) วางตาแหน่งขอบบนของกระดาษเขียนแบบใหข้ นานกบั ขอบบนของบรรทดั ที โดยจดั กระดาษใหอ้ ยกู่ ่ึงกลางโตะ๊ แนวนอน รูปที่ 25 รูปที่ 25 แสดงการวางกระดาษเขียนแบบประกอบบรรทดั ที ท่มี าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 3) ติดเทปกระดาษกาวที่มมุ บนซา้ ยมอื ก่อน (ยาวประมาณ 2 นิ้ว) 4) ใชม้ ือรีดกระดาษแนวทะแยง มาติดเทปกระดาษกาวที่มมุ ล่างขวามือ 5) รีดกระดาษแนวนอน จากมุมบนซา้ ยมอื ไปมมุ บนขวามอื แลว้ ติดเทปกระดาษกาว 6) รีดกระดาษแนวทะแยง จากมมุ บนขวามอื ลงมามุมล่างซา้ ยมอื แลว้ ติดเทปกระดาษกาว รูปท่ี 26 รูปท่ี 26 แสดงการตดิ เทปกระดาษกาวกระดาษเขียนแบบ 4 มมุ ทมี่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี

1.4.2 ข้ันตอนการใช้บรรทดั ทีเลอ่ื น ขนาดความยาวของบรรทดั ทีเล่อื นควรใหย้ าวพอดีกบั กระดานเขียนแบบ ถา้ เลือกขนาดส้นั จะสร้างปัญหาตอนเขียนแบบ กล่าวคือ เสน้ เชือกของบรรทดั จะเกะกะกดี ขวางการทางานเขียนแบบไม่สะดวก 1.4.2.1 การตดิ ต้งั บรรทัดทเี ลอื่ นเข้ากบั กระดานเขยี นแบบ มขี ้นั ตอนดงั น้ี 1) วางบรรทดั ทีเลอ่ื นบนกระดานเขียนแบบตามแนวนอน ประมาณก่ึงกลางกระดานเขียนแบบ รูปท่ี27 รูปท่ี 27 แสดงการวางบรรทดั ทีเลอ่ื นบนกระดานเขียนแบบ ที่มาของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 2) นาปลายเชือกเอน็ ของบรรทดั ทีเล่ือนมาร้อยเขา้ กบั รอกตวั ที่ 1 ไปหารอกตวั ท่ี 2รูปที่ 28 รูปท่ี 28 แสดงการร้อยเชือกเอน็ บรรทดั ทีเล่อื น ทีม่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 3) นาเชือกเอน็ จากรอกตวั ท่ี 2 ไปเกี่ยวกบั ตะขอดา้ นบนของกระดานเขียนแบบท้งั 2 ขา้ ง แลว้ ดึงกลบั ลงมาร้อยเขา้ กบั รอกตวั ที่ 3 ไปหารอกตวั ท่ี 4 ดึงลงขา้ งล่างมาผกู ติดกบั ตะขอดา้ นล่างของกระดานเขียนแบบ ท้งั 2 ขา้ งก่อนผกู แน่น ตอ้ งคลายขยบั ปลายเชือกปรับบรรทดั ทีให้ขนานกบั กระดานเขียนแบบ และปรับความตึงที่พอดี แลว้ จึงผกู ปลายเชือกยดึ ติดตะขอใหแ้ น่นรูปท่ี 29 รูปท่ี 29 แสดงการร้อยเชือกเอน็ บรรทดั ทีเล่ือนท่ีเสร็จสมบรู ณ์ ที่มาของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี

1.4.2.2 การตดิ กระดาษเขียนแบบลงบนกระดานเขยี นแบบด้วยบรรทดั ทเี ลอื่ นมีข้นั ตอนดงั น้ี 1) ดึงบรรทดั ทีเลอื่ นข้ึนชิดขอบบนสุดของกระดานเขียนแบบ วางกระดาษเขียนแบบใหไ้ ดก้ ่ึงกลางกระดาน รูปท่ี 30 รูปท่ี 30 แสดงการวางกระดาษเขียนแบบ ที่มาของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 2) ดึงบรรทดั ทีเล่ือนลงมาทบั กระดาษเขียนแบบ จดั ใหข้ อบบนของกระดาษเขียนแบบขนานกบัขอบบนของบรรทดั ทีเล่ือน แลว้ จึงปิ ดเทปกาว 4 มมุ ของกระดาษเขียนแบบ โดยมขี ้นั ตอนเหมือนกบั การปิ ดเทปกาวกระดาษเขียนแบบของบรรทดั ที หรือฉากที รูปท่ี 31 รูปที่ 31 แสดงการวางกระดาษเขียนแบบใหข้ นานกบั บรรทดั ทีเลื่อน ทีม่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 1.4.2.3 ข้ันตอนการเขียนเส้นนอนด้วยบรรทัดทีเลื่อน ใหม้ ือท้งั 2 ขา้ งจบั บรรทดั ทีเลื่อนบริเวณก่ึงกลางบรรทดั ทีเล่ือน ความเที่ยงตรงของบรรทดั ทีเลื่อนจะอย่กู ่ึงกลางบรรทดั ดึงข้ึนหรือลงตามตาแหน่งเสน้ นอนที่ตอ้ งการ จากน้ันใชม้ ือซา้ ยกดลงบนหลงั บรรทดั ทีเล่ือนให้แนบสนิทกบั กระดาษเขียนแบบ แลว้ จึงเขียนเสน้ นอน รูปที่ 32

รูปที่ 32 แสดงการจบั บงั คบั บรรทดั ทีเลอ่ื น และการเขียนเสน้ นอน ท่ีมาของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 1.4.3 ข้ันตอนการใช้ดินสอเขียนเส้น เสน้ ในงานเขียนแบบแบ่งออกไดต้ ามน้าหนัก และความหนาเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ เสน้ บาง เสน้ หนา และเสน้ หนามาก วิธีการเขียนเสน้ ใหไ้ ดเ้ สน้ ที่ดีควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1.4.3.1 การจบั ดินสอ ใหจ้ บั ดินสอดว้ ยมอื ขวาใหถ้ กู วธิ ี โดยมีนิ้วมอื 3 นิ้ว ไดแ้ ก่ นิ้วโป้ งน้ิวช้ี และน้ิวกลาง จบั ดินสอในลกั ษณะเป็นรูปสามเหลีย่ มห่างจากปลายดินสอประมาณ 1 นิ้วแต่ถา้ ตอ้ งการเขียนเสน้ เบา และบางมาก ๆ ตอ้ งจบั ใหถ้ อยออกห่างมากกวา่ น้ีพร้อมท้งั ยกสนั มอื ลอยพน้ กระดาษเขียนแบบเลก็ นอ้ ย รูปที่ 33 รูปที่ 33 แสดงการจบั ดินสอ ท่มี าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 1.4.3.2 การจบั ดนิ สอขณะเขยี นเส้นใด ๆ สนั มอื ตอ้ งยกลอยเหนือกระดาษเลก็ นอ้ ยเอยี งดินสอไปตามทิศทางท่ีเขียนประมาณ 60 องศา พร้อมท้งั หมนุ ดินสอในลกั ษณะตามเขม็ นาฬิกาอยา่ งชา้ ๆเพอื่ ความคมชดั และความหนาของเสน้ ท่ีสมา่ เสมอ ขอ้ สาคญั ตอ้ งกดปลายดินสอแนบขอบเคร่ืองมือเขียนแบบใหส้ นิทในลกั ษณะต้งั ฉาก รูปที่ 34

รูปที่ 34 แสดงการจบั ดินสอขีดเสน้ ทมี่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 1.4.3.3 การจบั ดนิ สอขณะเขยี นตวั หนังสือจะแตกต่างกบั การจบั ดินสอเขยี นเส้นตรงที่วา่ขณะเขียนส่วนท่ีเป็นสนั มือตอ้ งวางบนกระดาษเขียนแบบตลอดเวลา การเอียงดินสอ และการหมนุ ดินสอยงั คงมีอยเู่ พอ่ื ใหเ้ สน้ มคี วามหนาเท่ากนั ตลอด รูปที่ 35 รูปท่ี 35 แสดงการจบั ดินสอเขียนตวั หนงั สือ ทมี่ าของรูป : หนงั สือการเขียนแบบเบ้ืองตน้ เรียบเรียงโดย นายเจริญ เสาวภาณี 1.4.4 ข้ันตอนการใช้ปากกาเขยี นแบบ การเขียนแบบดว้ ยปากกาเขียนแบบไมม่ ีข้นั ตอนมากเหมือนเขียนดว้ ยดินสอ เนื่องจากความหนาของเส้นมีความคงที่ตามขนาดเบอร์ปากกา ไม่ตอ้ งเอียงไม่ตอ้ งหมุนปากกา แต่ตอ้ งคอยเชด็ ทาความสะอาดหวั ปลายปากกาขณะเขียน เพราะฝ่ นุ จะเกาะทาใหเ้ สน้ ท่ีไดห้ นากว่าปกติบทสรุป งานเขียนแบบ เป็นหวั ใจสาคญั ของงานสร้างทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นอาคาร เครื่องเรือนผลติ ภณั ฑ์และของใชต้ ่าง ๆ รอบตวั เรา ตอ้ งสร้างในแบบก่อนหรือตอ้ งเขียนแบบก่อนเสมอ งานเขียนแบบที่มีคุณภาพดีไดม้ าตรฐาน ยอ่ มเกิดจากฝี มือของคนเขียนแบบ และเคร่ืองมือเขียนแบบการบารุงรักษาที่ดี ได้มาตรฐาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook