เรอื นชีวติ เขมรงั สี ภกิ ขุ
เรอื นชีวติ เขมรงั ส ี ภิกขุ
เรือนชวี ติ เขมรังส ี ภิกขุ พมิ พค์ รั้งท่ ี ๑ กนั ยายน ๒๕๖๓ จ�ำนวนพิมพ ์ ๓๘,๐๐๐ เลม่ จัดพมิ พ์เป็นธรรมทานโดย วัดมเหยงคณ ์ ตำ� บลหนั ตรา อ�ำเภอพระนครศรอี ยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท ์ : ๐๘๒-๒๓๓-๓๓๘๔๘ E-mail : [email protected] www.watmaheyong.org กรุณาเพ่มิ เพ่อื นทางไลน์ เพอื่ รับขา่ วสาร Line ID : @mahaeyong หรือสแกน QR Code ออกแบบ / จัดท�ำรปู เล่ม / พิสูจน์อักษร คณะศษิ ย์ชมรมกลั ยาณธรรม (หนังสอื ชมรมฯ ลำ� ดบั ที่ ๔๐๘) สนับสนุนจัดพมิ พ์เป็นธรรมทาน โดย บรษิ ัทขมุ ทองอตุ สาหกรรมและการพมิ พ ์ จ�ำกดั โทร. ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๐-๓
เราจะ “ร”ู้ หรือ “ไมร่ ู้”... เรอื นชีวิตนี้ก็เกิดดับอยตู่ ลอดเวลา เซลลท์ กุ เซลล์เล็กๆ หรือเล็กย่ิงกวา่ เซลลท์ ีเ่ รยี กว่าปรมาณู เป็นรูปเลก็ ๆ ทม่ี องไม่เหน็ มันก็แตกดบั ตลอดเวลา มันตายอย่ตู ลอดเวลา แตม่ ันก็เกิดข้นึ มาใหม่ชดเชยอยู่ตลอดเวลา จิตเองก็เหมอื นกนั มนั ดบั แล้วก็เกิดข้ึนมาใหม่ เกิดขนึ้ มาใหม.่ .. เป็นกระแสทเี่ กิด - ดบั อยูต่ ลอดเวลา ไมม่ ีอะไรทตี่ ง้ั อยู่ คงที่ ไม่วา่ เราจะ “ร้”ู หรอื “ไมร่ ”ู้ มนั กเ็ ป็นของมนั อยู่อยา่ งนี้
“การจะถอนความเปน็ ตวั ตนของเราได ้ มันตอ้ งเหน็ จรงิ ๆ ตอ้ งเหน็ แจ้ง ไม่ใชค่ ิดเอา มันต้องเหน็ ตอ่ หนา้ ตอ่ ใจจริงๆ จงึ เรยี กวา่ ‘วปิ ัสสนา’ ปญั ญาท่ีรู้แจ้ง”
เรือนชีวติ จากนี้ไปจะได้ปรารภธรรมะตามหลักค�ำ ส่ังสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพ่ือเป็นแนวทางแหง่ การประพฤตปิ ฏิบตั ิ อุปมาอุปไมยเปรียบชีวิตน้ี เหมือน “เรือน ชีวิต” ประกอบด้วยกายกับใจ ร่างกาย เปรียบ 8 เ รื อ น ชี วิ ต
เหมือนบ้าน จิตใจเปรียบเหมือนเจ้าของบ้าน อารมณ์ต่างๆ เปรียบเหมือนแขกที่มาเยือน เรือนชีวิตนี้ มีประตูท่ีจิตอาศัยผ่านออกไปรับ อารมณต์ า่ งๆ อย ู่ ๖ ประต ู คอื ตา ห ู จมกู ลน้ิ กาย ใจ แม้จะปิดตา ปิดหู ปิดจมูก ปิดปาก... ฯลฯ จิตก็ยังผ่านทางใจ ส่งออกนอกไปคิด เรือ่ งราวตา่ งๆ ได้ ใจ เปน็ ประตหู นงึ่ เรยี กวา่ มโนทวาร (ทวาร แปลวา่ ประต)ู จกั ขทุ วาร คอื ประตตู า โสตทวาร คอื ประตหู ู ฆานทวาร คอื ประตจู มกู ชวิ หาทวาร คือ ประตูล้ิน กายทวาร คือ ประตูกาย และ มโนทวาร คอื ประตใู จ จติ กจ็ ะผา่ นทวารออกไป รับอารมณ์ท่ีเปรียบเหมอื นแขกที่มาเยือน อารมณ์ตา่ งๆ ได้แก่ 9เขมรังสี ภิกขุ
ทางตา : รปู ารมณ ์ คอื อารมณท์ มี่ าทางตา ไดแ้ ก่ สีต่างๆ ทางหู : สัทธารมณ์ คือ อารมณ์ท่ีมาทางห ู ได้แก ่ เสยี งต่างๆ ทางจมกู : คนั ธารมณ ์ คอื อารมณท์ ม่ี าทาง จมกู ได้แก่ กล่ินตา่ งๆ ทางลน้ิ : รสารมณ ์ คอื อารมณท์ มี่ าทางลนิ้ ได้แก ่ รสตา่ งๆ ทางกาย : โผฏฐัพพารมณ์ คือ อารมณ์ที่ มากระทบทางกาย ได้แก่ เย็น ร้อน อ่อน แข็ง หยอ่ น ตึง คือ ๑. ปฐวโี ผฏฐพั พารมณ ์ คอื ธาตดุ นิ มลี กั ษณะ แขง็ หรืออ่อน (แขง็ น้อย) 10 เ รื อ น ชี วิ ต
๒. เตโชโผฏฐพั พารมณ ์ คอื ธาตไุ ฟ มลี กั ษณะ ร้อน หรอื เยน็ (รอ้ นนอ้ ย) ๓. วาโยโผฏฐัพพารมณ์ คือ ธาตุลม ม ี ลกั ษณะตึง หรือหย่อน ไหว (ตึงน้อย) ทางใจ : ธรรมารมณ์ ได้แก่ อารมณ์ท่ี มาปรากฏทางใจ ได้แก่ จิต, เจตสิก, ปสาทรูป, สขุ มุ รปู , นพิ พาน, บญั ญตั ิ อารมณ์ทางตา หู จมูก ล้ิน กาย ได้แก่ สี เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เป็นอารมณ์ปรมัตถ ์ แตอ่ ารมณท์ างใจ หรอื ธรรมารมณน์ น้ั มที งั้ อารมณ ์ ปรมตั ถแ์ ละอารมณบ์ ญั ญัติ ปรมัตถ ์ หมายถึง สิ่งทเ่ี ปน็ จริงแท้ๆ 11เขมรังสี ภิกขุ
บญั ญตั ิ หมายถงึ สมมต ิ วา่ โดยสภาวะแลว้ เปน็ ส่งิ ที่ไมเ่ ป็นจรงิ ไมม่ จี ริง เรอื่ งราวตา่ งๆ ชอ่ื ภาษา ความหมาย รปู รา่ ง สัณฐาน ภาพจ�ำลองในใจ ภาพนิมิตท่ีมาปรากฏ ในใจขณะท่หี ลบั ตาอยู ่ เป็นส ี แสง เป็นคน สัตว ์ ส่ิงของ พวกน้ีเป็นธรรมารมณ์ท่ีเป็นบัญญัติ เกิด จากจติ คิดนกึ ปรุงแตง่ สรา้ งขน้ึ มา เปน็ มโนภาพ มโนเสยี ง คอื เหมอื นไดย้ นิ เสยี ง แตท่ จ่ี รงิ แลว้ ไมม่ เี สยี ง เปน็ เพยี งสญั ญา จ�ำในเสยี งปรงุ แตง่ จติ เหมือนเป็นเสียงอย่างน้ันอย่างนี้ แต่ที่จริงเป็น เพียงความคิดท่ีจิตคิดข้ึนมา คิดไปคิดมาก็เลย เหมอื นมเี สียง เปน็ สัททสญั ญา ความจำ� ในเสยี ง 12 เ รื อ น ชี วิ ต
มโนภาพหรือมโนเสียง เกิดมาจากจิตถูก สัญญา สังขาร ปรุงแต่งข้ึนมา ฉะน้ัน สติต้อง ก�ำหนดรู้ท่ีจิต พอมีสติไประลึกรู้ที่จิตได้ต่อเน่ือง นมิ ิต มโนภาพ มโนเสยี งนนั้ กห็ ายไป แลว้ มโนกลน่ิ มไี ดไ้ หม ?...ไมม่ กี ลน่ิ มาจรงิ แต่ เหมอื นไดก้ ลน่ิ หอม หรอื กลนิ่ เหมน็ มนั กเ็ ปน็ สงิ่ ท่ี จิตถูกปรุงข้ึนมาเช่นกัน เมื่อก�ำหนดไปท่ีจิตใจ ดูใจผู้รู้ - ผู้ดูได้ อารมณ์เหล่าน้ันมันก็จะหายไป นี่คือบัญญัติอารมณ์ ท่ีเป็นมโนภาพ มโนเสียง มโนกล่ิน หรือมโนทางกาย ว่าได้สัมผัสอย่างน้ัน อยา่ งน้ ี ก็จะหายไป ถา้ อยา่ งนน้ั ธรรมารมณท์ เ่ี ปน็ ปรมตั ถ ์ เปน็ ของจริง มีไหม ? 13เขมรังสี ภิกขุ
จติ ทง้ั หมด เจตสกิ ทงั้ หมด เปน็ ธรรมารมณท์ ี ่ เปน็ ปรมตั ถ ์ เวลาจติ โกรธเกดิ ขน้ึ มา ตวั ทไ่ี ประลกึ ร้ ู จิตโกรธ ก็คือ จิตที่มีสติสัมปชัญญะ ฉะนั้น จิต โกรธก็กลายเป็นตัวถูกรู้ จิตที่มีสติสัมปชัญญะไป ระลึกรู้จิตโกรธ จิตโกรธก็กลายเป็นธรรมารมณ ์ จิตโลภ จิตโกรธ จิตหลง จิตไม่โลภ จิตไม่โกรธ จิตไม่หลง เมื่อถูกรู้ ก็กลายเป็นธัมมารมณ์ที่เป็น ปรมตั ถ์ จิตผู้รู้ จิตที่มีสติสัมปชัญญะ ถูกรู้บ้าง ไดไ้ หม ? ถูกรู้ได้...โดยจิตผู้รู้อีกตัวหนึ่ง “จิตผู้รู้” ดู “จิตผู้รู้” จิตผู้รู้อันแรกที่ถูกรู้ ก็กลายเป็น ธรรมารมณ์ 14 เ รื อ น ชี วิ ต
เจตสิก คือส่ิงท่ีประกอบอยู่กับจิต มีหลาก หลายชนิด เปรียบอุปมา จิตเหมือนน้�ำเปล่า เจตสกิ เหมอื นเครอื่ งแกง เชน่ พรกิ ขงิ ขา่ ตะไคร ้ ท่ีต�ำแล้วเอาไปละลายในน้�ำ น้�ำก็จะกลายเป็นม ี รสชาติไปตามเครื่องแกง เจตสิกเปรียบเหมือน เครื่องแกง พอไปผสมอยู่กับจิต จิตก็จะมีความ รู้สึก มีอาการไปตามเจตสกิ โทสะเจตสิก คอื ธรรมชาติท่ีมีความประทุษ- ร้ายในอารมณ์ คือความโกรธ เวลามันเข้าไป ประกอบกับจิต จิตก็จะมีอาการโกรธ แล้วขณะ โกรธน้ัน ก็มีเวทนาประกอบจิตที่โกรธด้วย เป็น โทมนสั เวทนา มคี วามเสยี ใจ ความไมส่ บายใจอย ู่ ในนั้น และมีสัญญา มีสังขารอ่ืนๆ ประกอบอยู่ บางทีความโกรธนั้นประกอบด้วย มัจฉริยะ - 15เขมรังสี ภิกขุ
ความตระหน่ี เช่น มีใครมาขอเงินแล้วเกิดความ หวงข้ึนมา โกรธ เสียใจ ไม่ชอบ มันจะประกอบ กนั อยูเ่ หมือนเครือ่ งแกงที่มหี ลายส่งิ ผสมกนั แล้ว แต่ว่าอนั ไหนจะเด่นกว่ากนั บางทีในความโกรธก ็ ยงั มคี วามอสิ สาเขา้ ประกอบดว้ ย เปน็ อสิ สาเจตสกิ คือ ความไม่พอใจในสมบัติ หรือคุณความดีของ ผู้อ่ืน และยังมี วิตก วิจารณ์ เข้าไปประกอบ ตรกึ นกึ อยใู่ นจิตนน้ั อุทธัจจะเจตสิก มีลักษณะซัดส่ายไปใน อารมณ์ พอไปประกอบกับจิต ก็ท�ำให้จิตซัดส่าย ไปด้วย ส่ายไปเรื่องน้ันเรื่องนี้ เรียกว่าฟุ้งซ่าน และบางครงั้ กม็ ี อหริ กิ ะ - อโนตตปั ปะ คอื ไมล่ ะอาย ต่อบาป ไม่เกรงกลัวต่อบาป เหล่าน้ีเป็นเจตสิก ฝ่ายไมด่ ี 17เขมรังสี ภิกขุ
ลองพจิ ารณาวา่ เรามเี จตสกิ ฝา่ ยไมด่ เี หลา่ น้ี บา้ งไหม ? โมหะเจตสิก - ความหลง อหิริกะ - ไม่ละอาย อโนตตัปปะ - ไม่กลัวบาป อจุ ธัจจะ-ฟงุ้ ซา่ น โลภะ - ความโลภ มานะ - ความถอื ตวั ถอื ตน ทิฏฐ ิ- ความเห็นผิด ยึดม่นั ถือม่ัน โทสะ - ความโกรธ มัจฉรยิ ะ - ความตระหนี่ อิสสา - ความไม่พอใจในสมบัติ หรือคุณ ความดขี องผู้อน่ื กุกกุจจะ - รำ� คาญใจ หงดุ หงิด ถีนมทิ ธะ - หดห่ ู ท้อแท้ ทอ้ ถอย วิจิกจิ ฉา - สงสยั ลังเลใจ 18 เ รื อ น ชี วิ ต
สังเกตดูว่าเราที่มีเจตสิกเหล่านี้ไหม ปุถุชน กจ็ ะหนาแน่นด้วยอกศุ ลเจตสกิ เหลา่ นี้ ฉะน้ัน ถ้าระลึกรู้ได้ท่ีจิตก็จะเจอเจตสิกด้วย จะเห็นว่ามันมีอาการต่างๆ เหมือนเราซดน�้ำแกง แลว้ สงั เกตวา่ มนั มรี สชาตอิ ะไรบา้ ง เมอ่ื สงั เกตไปท ่ี จติ จะสงั เกตไดว้ า่ มนั มโี กรธอย ู่ มนั พอใจ มนั ชอบ ชงั สงสยั ทอ้ ใจ ตระหน ี่ ถอื ตวั หงดุ หงดิ รำ� คาญ ฟงุ้ ซ่าน ส่งิ เหลา่ นีม้ นั มอี ยจู่ รงิ เรียกวา่ ปรมัตถ์ เมอื่ ส ี มาปรากฏทปี่ ระตตู า เปรยี บเหมอื น เวลาท่แี ขกมาเยือน เจ้าของบ้านกอ็ อกไปรับแขก เจา้ ของบา้ นออกไปรบั แขก ท ำ� หนา้ ท ่ี เ หน็ “ การเหน็ ” คอื จติ หรอื วญิ ญาณ เรยี กวา่ จกั ขวุ ญิ ญาณ สว่ น จกั ขปุ สาท คอื ประสาทตาทเี่ ปน็ ประต ู ประสาทตา กับการเห็น เป็นคนละอย่างกัน ประสาทตา 19เขมรังสี ภิกขุ
ไม่ได้ท�ำหน้าที่เห็น มันได้แต่รับรูปทางตา รับสี ทม่ี ากระทบประสาทตา เมอื่ ประกอบกบั ปจั จยั อน่ื เชน่ แสงสว่าง ความต้ังใจ จงึ ทำ� ให้เกดิ การเห็น รปู ทม่ี าปรากฏทางตา คอื สตี า่ งๆ กบั การ เหน็ เปน็ คนละอยา่ งกนั ถา้ จดั แยกเปน็ รปู ธรรม นามธรรม สีท่ีมาปรากฏทางตา และปสาทตา เปน็ รปู การเหน็ กเ็ ปน็ นาม โดยใชก้ ฎวา่ ถา้ สงั ขาร อันใดไม่สามารถรับรู้อารมณ์ได้ มันได้แต่ถูกรู ้ เกดิ ขนึ้ มา แลว้ กแ็ ตกดบั ไป ตวั มนั เองรบั รอู้ ารมณ์ ไมไ่ ด ้ สงิ่ นนั้ จะจดั เปน็ รปู ธรรม แตถ่ า้ สงั ขารอนั ใด ท่ีเกิดข้ึนมาแล้ว รับรู้อารมณ์ได้ ส่ิงนั้น จัดเป็น นามธรรม “เหน็ ” เปน็ การไปรบั รรู้ ปู ถา้ เปรยี บจติ เหมอื น ไฟฉาย สอ่ งไปเจอวตั ถสุ ง่ิ ของ วตั ถสุ ง่ิ ของนน้ั กเ็ ปน็ 20 เ รื อ น ชี วิ ต
ตัวถูกรู้ รูปที่ปรากฏทางตาก็เป็นอารมณ์ถูกรู้ ส่วน “เห็น” เป็นฝ่ายจิตก็เป็นนาม และถ้ามีสติ ระลึกรู้ได้ว่ามีการเห็นรูปทางตา สติก็เป็นเจตสิก ฝ่ายดที ี่เกิดกบั จิตทเี่ กิดทางใจ จิตทีม่ สี ติสมั ปชญั ญะ จะเกิดทางไหน ? ตา ห ู จมูก ลน้ิ กาย ใจ... ? จิตท่ีมีสติสัมปชัญญะเกิดทางใจ แต่มันไปรู ้ จิตทางตาได้ ไปรู้การเห็นได้ “เห็น” เป็นจิตท ่ี เกิดท่ีตา ส่วน “การระลึกรู้การเห็น” คือ สต ิ เปน็ เจตสกิ ท่ปี ระกอบกบั จติ เกิดทางใจ หรือพูดง่ายๆ วา่ “จติ ผูร้ ”ู้ นเ้ี กิดทางใจ “เหน็ ” กบั “การระลกึ รกู้ ารเหน็ ” เปน็ คนละ อยา่ งกนั และเปน็ นามธรรมทง้ั ค ู่ “เหน็ ” เปน็ จติ 21เขมรังสี ภิกขุ
เกิดที่ตา ส่วน “ผู้รู้” คือจิตที่มีสติสัมปชัญญะ เป็นจิตเกิดท่ีใจ ท้ังสองเป็นคนละจิตกัน การ เจรญิ สติสามารถระลึกรู้จิตทั้งสองน้ีได้ โดยการมี “จติ ผรู้ ู้” ระลกึ รกู้ ารเห็นบ้าง ระลกึ รู้จิตท่รี บู้ ้าง “จติ ผรู้ ”ู้ ทกุ ดวง เวลามนั ร ู้ มนั จะเกดิ ทางใจ ทกุ ครง้ั เวลาทม่ี นั ไป “รกู้ ารเหน็ ” มนั เกดิ ทางใจ แตม่ นั มกี ระแสไปรทู้ างตา ฉะนน้ั มนั ม ี “การเหน็ ” อย่างหน่ึง “รู้การเห็น” อย่างหน่ึง หรือ สังเกต การเหน็ อยา่ งหนง่ึ สงั เกตจติ ทรี่ อู้ กี อยา่ งหนงึ่ พดู ย่อๆ กค็ อื เหน็ กบั รู้เห็น จิตเปรยี บเหมือนเจา้ ของบ้าน อารมณ์ต่างๆ เปรยี บเหมอื นแขก เมอื่ มกี ารออกไปรบั แขก เชน่ เจอกับรูปของบุคคลหรือส่ิงที่ไม่ถูกใจมาปรากฏ ทางตา ถา้ เปน็ คนทไ่ี มป่ ฏบิ ตั ธิ รรม เวลาเหน็ มนั 22 เ รื อ น ชี วิ ต
จะเกดิ ความไมพ่ อใจ โกรธ เกลยี ดขน้ึ มา เรยี กวา่ ไปทะเลาะกับแขก ถามว่าเวลาไปทะเลาะกับ แขก ใครเปน็ ทกุ ข์ ?...ก็เจ้าของบา้ นสิเปน็ ทุกข์ เวลาเจอแขกท่ีถูกใจ น่ารัก น่าปรารถนา เจ้าของบ้านท่ีไม่ปฏิบัติธรรมก็จะเกิดความรัก ความชอบ ความพอใจ ถามว่า เป็นทุกข์ไหม ?... เจอส่ิงท่ีถูกใจ ไม่ใช่สุขหรือ ?...เป็นทุกข์ ทุกข์ เพราะความสขุ นนั้ เราไมไ่ ดเ้ หน็ มนั ไปตลอด กลวั ระแวงวา่ มนั จะเปลย่ี นแปลงไป ถา้ ไมไ่ ปหลงใหล ตดิ ใจ มนั กไ็ มท่ กุ ข ์ ทางทดี่ ี คือรักษาใจ ไม่ไปยินดียินร้ายด้วย ไม่ต้องมีทุกข์ ตามมา คนปฏิบัติธรรมจะมีสติรู้เท่าทันมากข้ึน เม่ือตาเห็นรูป รูปสวย รูปไม่สวยก็ตาม ให้คอย ระวังรกั ษาจติ อยา่ งวางเฉย 23เขมรังสี ภิกขุ
ถ้ามันรู้ไม่ทัน มันไว มันเกิดความรัก ความ ใคร่ ความพอใจ หรือความโกรธ ความไม่พอใจ ข้นึ มา เราเป็นผปู้ ฏบิ ัติธรรม จะท�ำอย่างไร ?... ความพอใจ ไม่พอใจ ท่ีเกิดข้ึน มันก็ลงมา ท่ีใจ... ถามว่า ความพอใจ ไม่พอใจท่ีเกิดขึ้นน้ี มันเป็นของจริงหรือไม่ ? เป็นปรมัตถ์ หรือ บัญญัติ ?... ความพอใจ ไม่พอใจที่เกิดขึ้น คือ ความจรงิ ทเี่ ปน็ ปรมตั ถ ์ เกดิ ขนึ้ ทางใจ ถา้ เจรญิ สติ ก็จะระลึกรู้ได้ท่ีใจ ฉะน้ัน อารมณ์ท่ีเกิดทางใจ จะเกิดบ่อย เกิดมากกว่าทางอื่น พอเห็นแป๊บ เดียว...มันก็ลงมาที่ใจ ได้ยิน...มันก็ลงมาท่ีใจ รู้กลนิ่ รู้รส รู้สมั ผสั ... มนั ลงมาทใ่ี จทง้ั หมด กิเลสทุกกิเลสเกิดทางใจท้ังหมด จิตท่ีจะ มีสติปัญญาก็เกิดทางใจ จะดับทุกข์ก็ต้องดับท่ีใจ 24 เ รื อ น ชี วิ ต
เพราะทุกข์เกิดท่ีใจ ฉะนั้นถ้าเป็นนักปฏิบัติแล้ว ไม่รู้จิตใจ มันก็ไม่เท่าทันจิต ไม่ทันกิเลส ได้แต่ ดูกายอย่างเดียวมันจะไปต่อไม่ได้ เพราะตอนที ่ มีลมหายใจ ยังรู้ได้ เย็น - ร้อนก็ยังรู้สึก พอม ี สมาธิแล้ว ลมก็ไม่รู้สึก กายก็ไม่รู้สึก ถ้าดูใจ ไมเ่ ปน็ มนั กจ็ ะ “วา่ ง” ไปหมด แลว้ กไ็ ปตอ่ ไมไ่ ด ้ หยุดอยู่แค่ว่างเปล่า อาจจะเห็นภาพนิมิต แสง สว่าง... มันก็จะอยู่แค่สมถะ แต่ถ้าดูใจเป็น พอมนั “วา่ ง” กด็ ใู จผรู้ ู้ เหน็ นมิ ติ กด็ ใู จผรู้ ู้ มนั ก็ จะต่อยอดข้นึ ไปได้ การดูจิตใจไว้ มันก็ช่วยถ่วงดุล ท�ำให้เวลา ระลกึ รทู้ ก่ี าย มนั ไมข่ ยายไปเปน็ รปู รา่ ง สณั ฐาน บางทเี ขา้ สมาธ ิ หลบั ตาแลว้ เหน็ เปน็ รปู รา่ ง แขน ขา หน้าตา ตัวใหญ่ ตัวเล็ก ตัวพอง ตัวสูง... 25เขมรังสี ภิกขุ
มันเป็นบัญญัติ เป็นภาพจ�ำลองที่จิตสร้างข้ึนมา เป็นมายา ไม่ใช่ของจริง จิตมันจะสร้างขึ้นมา อย่างไรก็ได้ ถา้ ดจู ติ ใจ ผรู้ ู้ ผดู้ ู ควบคไู่ ปดว้ ย มนั จะชว่ ย ถว่ งดลุ เวลาสตมิ ารกู้ าย มนั กจ็ ะรแู้ คค่ วามรสู้ กึ ท่ี เป็นปรมัตถ์ จะตัดความเป็นภาพจำ� ลอง รูปร่าง ออกไป การดูจิตใจจึงมีความสำ� คัญ ท�ำให้การ เจริญสติอยู่ในกรอบของปรมัตถธรรม ช่วยตัด บัญญัติ ตัดสมมติออกไป เช่น ถ้าเจริญสติแล้ว เกิดปีติ ตัวโยก ตัวส่ัน ท่ีตัวโยกตัวส่ัน เพราะ ในใจมันเห็นเป็นรูปร่างตนเอง แต่พอระลึกรู้ไป ท่ีจิตใจผู้รู้ได้ มันก็จะตัดบัญญัติ อาการเหล่านั้น กจ็ ะหายไปโดยทไี่ มต่ อ้ งไปฝนื อะไร เชน่ บางครง้ั ปีติอาจจะท�ำให้น้�ำตาไหล สะอึกสะอื้น ถ้าเรา 26 เ รื อ น ชี วิ ต
ไม่ดูใจ อาการก็จะก�ำเริบหนักเข้า หนักเข้า แต่ ถา้ ดใู จได ้ อาการเหลา่ น้ีมันกจ็ ะคลายลง เวลาท่ีแขกมาเยือน เจ้าของบ้านออกไป รับแขก ในบ้านก็จะมี หน่ึง : แขก สอง : เจ้าของบ้าน ซึ่งก็คือ เวลาที่มีอารมณ์มาปรากฏ จติ ออกไปรบั ร ู้ มนั กจ็ ะม ี หนงึ่ : อารมณ ์ สอง : จิตผู้รู้ สองอย่างนี้มันเป็นคนละอย่างกัน เช่น มีเย็นมากระทบ แล้วก็มีการไปรู้ความเย็น เย็นเปรียบเหมือนแขกท่ีมาทางกาย และจิตผู้รู้ที่ อยทู่ างใจเขา้ ไประลึกรทู้ างกาย มันมสี องอย่างนี้ 27เขมรังสี ภิกขุ
มีเย็นกับรู้เย็น มีร้อนกับรู้ร้อน มีตึงกับรู้ตึง มีไหวกับรู้ไหว... เวลากายเคลื่อนไหว ก็มีใจ ไปรับรู้ การเคลื่อนไหวอยู่ที่กาย การรู้อยู่ที่ใจ ซึ่งไปรู้การเคล่ือนไหวน้ัน แต่ “รู้” มันก็ไม่ใช ่ “เคล่ือนไหว” มันเป็นคนละอย่างกัน เหมือน ไฟฉายส่องไปที่โต๊ะ ไฟฉายมันก็ไม่ใช่โต๊ะ คือ มนั จะม ี หนงึ่ : รกู้ ายทเี่ คลอ่ื นไหว กบั สอง : รใู้ จ ทกี่ �ำลงั รู้อยู่ จะต้องหัดระลึกท้งั สองอยา่ งน้ี จะเห็นวา่ มีใจที่ก�ำลัง “รอู้ ย”ู่ ได้อยา่ งไร ? ต้องมีใจที่รู้ใจขึ้นมา ใจต้องรู้สึกตัว แล้ว ใจมันก็จะกลับมารู้ใจ มันก็อยู่ในที่เดียวกัน คือ “จติ ผรู้ ู้ ดู จติ ผูร้ ”ู้ ฉะนัน้ ถ้าจะอปุ มาว่า... 28 เ รื อ น ชี วิ ต
บ้านหลังท่ี ๑ บา้ นนาย ก. เวลาแขกมาก็ออกไปรับแขก แต่ไม่รู้ตัวเอง ว่าก�ำลังรับแขกอยู่ เหมือนเวลานาย ก. ปฏิบัติ เย็นก็รู้ แข็งก็รู้ ยืน เดิน นั่ง นอน หายใจอยู่ ก็รู้... แต่ไม่รู้ตัวว่าก�ำลัง “รู้” อยู่ เรียกว่า รู้แต ่ แขก แต่ไมร่ ู้เจา้ ของบ้าน บา้ นนาย ก. ดหี รอื ไมด่ ี? มสี ตหิ รอื ไมม่ สี ต ิ?... ด ี เพราะมสี ติ คอื รู้แขก แตไ่ ดแ้ คห่ น่งึ “ด”ี 29เขมรังสี ภิกขุ
บ้านหลงั ท่ี ๒ บ้านนาย ข. แขกมาก็ออกไปรับแขก รู้แขก และรู้ตัวเอง วา่ กำ� ลงั รบั แขกดว้ ย เวลานาย ข. ปฏบิ ตั ิ ยนื กร็ วู้ า่ ยนื แลว้ กร็ สู้ กึ วา่ รอู้ ย ู่ เคลอื่ นไหวกร็ วู้ า่ เคลอื่ นไหว ใจรู้ก็รู้สึก คือ รู้กายเคล่ือนไหว รู้ใจท่ีรู้ ปวดอยู ่ ก็รู้สกึ ว่าปวด ใจรอู้ ยูก่ ็ร้วู า่ ใจรอู้ ย่ ู บา้ นนาย ข. เกง่ กวา่ ไหม ?.. เกง่ กวา่ เพราะ ได้สอง “ดี” คือ ได้ทั้งรู้แขก และรู้เจ้าของบ้าน เปรียบเหมอื นรตู้ วั เอง ลองคดิ ดวู ่าจะมีอะไรดไี ปกว่านไ้ี หม ?... 30 เ รื อ น ชี วิ ต
บา้ นหลงั ท่ี ๓ บา้ นนาย ค. บา้ นนาย ข. นน้ั รทู้ ง้ั แขก และรตู้ วั เจา้ ของ บ้านด้วย แต่มันจะรู้หนักเกินไป อาจจะเพ่ง บังคับเกินไป ท�ำให้ไม่เป็นกลาง ไม่วาง แต่บ้าน นาย ค. รู้แลว้ วางเฉยอยดู่ ว้ ย จงึ ไดม้ าสาม “ด”ี จะมอี ะไรดีไปกวา่ นอ้ี ีกไหม ?... บ้านหลงั ท่ ี ๔ บ้านนาย ง. บา้ นนาย ง. น้นั หนึ่ง : รูแ้ ขก สอง : ร้ตู วั เจ้าของบ้าน สาม : ปล่อยวาง สี่ : พิจารณา ความจริงในนั้น 31เขมรังสี ภิกขุ
บา้ นนาย ค. วางเฉย เปน็ กลาง แตไ่ มร่ อู้ ะไร ไม่ได้ปัญญา ส่วนบ้านนาย ง. เขาได้สังเกต ได ้ พิจารณาความจริงในน้ัน เห็นความเปล่ียนแปลง ในน้ัน แขกก็เปล่ียนแปลง เจ้าของบ้านก็เปลี่ยน แปลง ล้วนตัง้ อยไู่ มไ่ ด้ ไม่ใชต่ วั ตน ฉะนน้ั ... เราปฏบิ ตั กิ ันไดถ้ งึ บ้านทีเ่ ทา่ ไร ? ผู้ปฏิบัติท่ัวไปจะได้บ้านนาย ก. อยู่แล้ว ก็มาเพิ่มให้เป็นบ้านนาย ข. คอื รตู้ วั เจ้าของด้วย เพราะถ้ารู้แต่แขก แต่ไม่รู้เจ้าของบ้าน เดี๋ยว มันจะติดแขก เหมือนการเพ่งกาย เคร่งเครียด อดึ อัด 32 เ รื อ น ชี วิ ต
แล้วท�ำอย่างไรถึงจะรู้ตัวเอง รู้ตัวเจ้าของ ได้ดว้ ย ? เจ้าของบ้านจะต้องรู้สึกตัว เม่ือจิตรู้สึกตัว จิตก็จะกลับมา “รู้ตัว”... ค�ำว่า “ตัว” ในท่ีน ้ี ก็คือ กายกับจิต ซึ่งการรู้สึกตัวน้ีไม่ได้เกิดจาก การฟงั ตอ้ งฝกึ หดั อยบู่ อ่ ยๆ ถา้ ฝกึ เปน็ กจ็ ะรสู้ กึ ตวั ได้ดี เจ้าของบ้านจะรู้ตัวเองได้เรื่อยๆ ในการ รับอารมณ์ และนอกจากจะรับแขกแล้ว ยังม ี ความรู้สึกต่อแขก รู้สึกชอบ ไม่ชอบ อีกด้วย ซ่ึงเป็นคนละลักษณะกัน
สังเกตว่า อย่างไหนง่ายกว่ากัน ระหว่าง “รู้” กับ “ร้สู ึก” ? (สภาพร ู้ กบั ความร้สู กึ ) ไม่ง่ายสักอย่าง... แต่โดยท่ัวไป ถ้าบอกให ้ ดูจิต จะดูความรู้สึกได้ว่า พอใจ ไม่พอใจ สบายใจ ไม่สบายใจ แต่ถ้าให้ดูจิตที่เป็นสภาพรู้ ส่วนใหญ่จะดูไม่เป็น เวลาจิตไม่มี “ชอบ” ไม่มี “ชงั ” หรอื รสู้ กึ เฉยๆ อย ู่ กจ็ ะดจู ติ ไมอ่ อก เพราะ มนั “ว่างเปล่า” จะหาจติ ไม่เจอ ฉะน้นั ต้องดูจิตในแงไ่ หน ถงึ จะเจอ ? ก็ต้องดูท้ัง “รู้” และ “รู้สึก” ต่อให้มันเฉย อยา่ งไร มนั กย็ งั รอู้ ย ู่ เชน่ นงั่ สมาธแิ ลว้ จติ มนั วา่ ง ให้ดูจิตก็ดูไม่ออก เพราะมันไม่มี สุข - ทุกข์ แต ่ ถา้ ดจู ติ ในแง ่ “สภาพร”ู้ ถงึ มนั จะเฉย มนั ก ็ “ร”ู้ 34 เ รื อ น ชี วิ ต
มนั ก็ยงั เป็นสภาพรู้ รู้ รู้...อยู่ เหมือนน�้ำกับเครื่องแกง เปรี้ยว หวาน มัน เคม็ เผด็ มนั กส็ งั เกตได ้ แตพ่ อเหลอื แตน่ ำ�้ เปลา่ ๆ มีรสจดื มันกส็ ังเกตอะไรไมไ่ ด้ จิตก็เป็นสภาพรู้ เรียกว่า จิตมีสติ จิตม ี สัมปชัญญะ ประกอบกันอยู่ เป็นจิตที่ต่ืน จิตที่รู้ สภาพรูน้ ก้ี ค็ ือ “จติ ทร่ี ู”้ รู ้ “จติ ที่ร้”ู ถามวา่ ทำ� ไมตอ้ งมาร ู้ “จติ ทร่ี ”ู้ ดว้ ย รแู้ ต่ อารมณ์เท่านนั้ ไมไ่ ด้หรือ ? การยึดมั่นถือม่ันว่าเป็นตัวเรา เป็นตัวตน ของเรา มันยึดทั้งกายและจิต ถ้าไม่รู้จิต แล้วจะ ละความเปน็ ตัวเราได้อย่างไร 36 เ รื อ น ชี วิ ต
เวลาปฏิบัติ ใครเป็นผู้ปฏิบัติ ใครเป็นผู้มี สต ิ? ใช่เราไหม ? ถา้ ไมร่ ะลกึ ร ู้ มนั กจ็ ะรสู้ กึ วา่ เปน็ “เราปฏบิ ตั ”ิ เปน็ “เรามีสติดี” ถา้ อยา่ งนนั้ ทำ� อยา่ งไร จงึ จะ ลด ละ ถอด ความเป็นเราได้ ? ตอ้ งเหน็ ความจรงิ ของมนั วา่ “จติ ผรู้ ”ู้ ไมใ่ ช ่ ตัวเรา ไมใ่ ช่ของเรา แลว้ ถ้าไม่ไประลกึ รู้ตัว “จิต ผูร้ ”ู้ มวั แต่ไปร้สู งิ่ อน่ื มันก็จะไม่เหน็ ความจรงิ นี้ จิตท่ีรู้ มันก็ดับ เปลี่ยนแปลง ไม่เท่ียง... ส่ิงใดไม่เท่ียง สิ่งน้ันต้ังอยู่ไม่ได้ บังคับไม่ได้ ซึ่ง ถ้าจิตมีสติปัญญาสามารถเห็นมันเปล่ียนแปลง เกิดข้ึน ดับไป หมดไป... มันจะดึงความรู้สึก 37เขมรังสี ภิกขุ
“ความไม่ใช่ตัวเรา” ข้ึนมา มันจะละความเป็น ตวั เรา จะรสู้ กึ วา่ ไมใ่ ชเ่ รา ไมใ่ ชข่ องเรา... ปญั ญา ทร่ี แู้ จง้ ปญั ญาทเ่ี ปน็ วปิ สั สนากจ็ ะเกดิ ขนึ้ เพราะ ไดเ้ หน็ ความจรงิ วา่ สง่ิ ทม่ี นั หมดไป ดบั ไป สนิ้ ไป อยอู่ ย่างน้ ี มนั จะเป็นตวั เราไดอ้ ย่างไร ท่ีจิตยังรู้สึกว่าเป็นตัวเรา เพราะจิตไม่เห็น ความหมดไป สนิ้ ไปน ี้ จงึ เหน็ วา่ มนั ตง้ั อย ู่ คงอย่ ู มนั จงึ ยึดเปน็ ตวั ตน เป็นตวั เราขนึ้ มา เข้าใจไปว่า จิตเป็นของคงอยู่ เป็นอัตตาตัวตน แต่ที่จริง ไม่ใช่เลย... มันดับตลอด เห็นก็ดับ จิตท่ีไปรู้เห็น ก็ดับ จิตท่ีมีสติก็ดับ ไม่มีจิตไหนที่ตั้งอยู่ ไม่ใช่ เป็นจิตดวงหน่ึงท่ีคงท่ีอยู่ แล้ววิ่งไปเห็น ว่ิงไป ไดย้ นิ เวลาจติ “เหน็ ” กไ็ มม่ จี ติ “ร”ู้ ทางใจ หรอื จติ อน่ื ๆ พอจติ “เหน็ ” ดบั ไปแลว้ จติ “ร”ู้ ทางใจ จงึ เกดิ จติ “ร”ู้ ทางใจทเี่ กดิ มากไ็ มไ่ ดต้ งั้ อย ู่ มนั ก ็ 38 เ รื อ น ชี วิ ต
ดับไป เกิดเป็นจิต “ได้ยิน” มันเกิดดับอย่างนี้ อย่างรวดเร็วต่อเน่ือง แต่เพราะไม่เห็นการ เกิดดบั น ้ี จึงยดึ มัน่ ว่ามนั คงท ่ี เปน็ ตัวตน ฉะนน้ั การจะถอนความเปน็ ตวั ตนของเราได ้ มันต้องเห็นจริงๆ ต้องเห็นแจ้ง ไม่ใช่คิดเอา มนั ตอ้ งเหน็ ตอ่ หนา้ ตอ่ ใจจรงิ ๆ จงึ เรยี กวา่ วปิ สั สนา ปัญญาทีร่ แู้ จ้ง การเห็นจิตดับไป เห็นจิตผู้รู้หมดไป การ จะเห็นจริงๆ อย่างน้ีได้ ก็ต้องมีการ “ระลึกรู้” จิตที่ก�ำลังปรากฏ เพราะถ้าไม่มีการระลึกรู้จิต ไม่ระลึกรู้สภาวะ ก็จะรู้สึกว่าส่ิงเหล่าน้ีมันต้ังอยู่ ไม่เกดิ ไมด่ ับ จงึ สำ� คญั มัน่ หมายเป็นตัวตนอยู่ เราจะ “รู้” หรือ “ไม่รู้”... เรือนชีวิตน้ีก็ เกิดดับอยู่ตลอดเวลา เซลล์ทุกเซลล์เล็กๆ หรือ 39เขมรังสี ภิกขุ
เล็กย่ิงกว่าเซลล์ท่ีเรียกว่าปรมาณู เป็นรูปเล็กๆ ทมี่ องไมเ่ หน็ มนั กแ็ ตกดบั ตลอดเวลา มนั ตายอย ู่ ตลอดเวลา แตม่ นั กเ็ กดิ ขน้ึ มาใหมช่ ดเชยอยตู่ ลอด เวลา จิตเองก็เหมือนกัน มันดับแล้วก็เกิดข้ึนมา ใหม่ เกิดข้ึนมาใหม่... เป็นกระแสที่เกิด - ดับ อยู่ตลอดเวลา ไม่มีอะไรที่ตั้งอยู่ คงที่ ไม่ว่าเรา จะ “ร”ู้ หรอื “ไมร่ ”ู้ มนั กเ็ ปน็ ของมนั อยอู่ ยา่ งน้ี เพราะไม่เข้าไปรู้ความจริงนี้ จึงไปยึดว่ามัน เปน็ ของเทย่ี ง เปน็ ตวั ตน เปน็ อยา่ งนมี้ าตงั้ แตไ่ หน
แต่ไร กี่ภพกี่ชาติ สืบต่อไปเรื่อยๆ เพราะว่ายังม ี อวชิ ชา ความไมร่ คู้ วามจรงิ ท�ำใหเ้ กดิ ตณั หาและ ความยึดม่ันถือม่ัน เกิดการท�ำกรรม ท�ำให้มี เหตปุ จั จัยให้สบื ต่อกนั อยู่อยา่ งน้ี ถ้ามีปัญญารู้แจ้ง ก็จะสลายเหตุปัจจัย อวิชชา ตัณหา อุปาทานหมดไป เมื่อเหตุปัจจัย หมดไป กไ็ ม่มีอะไรท่ีจะตอ้ งสืบต่อไปอีก พระพุทธเจ้าเป็นผู้ตรัสรู้ในส่ิงท่ีมันเป็นของ มันอย่างน้ีอยู่แล้ว กฎธรรมชาติมันมีของมันอยู่ แล้ว พระพุทธเจ้าเป็นผู้ตรัสรู้ มารู้ธรรมชาติท่ ี มนั เปน็ ของมนั อยา่ งน ้ี แลว้ กร็ หู้ นทาง รวู้ ธิ ปี ฏบิ ตั ิ ว่าท�ำอย่างไรถึงจะรู้แจ้ง พระพุทธองค์ได้ค้นพบ ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง และน�ำมาสอน มาบอก หนทาง 41เขมรังสี ภิกขุ
สภาพท่ีพ้นทุกข์ สภาพที่ดับทุกข์ หรือ นพิ พานนน้ั มอี ย ู่ หนทาง ขอ้ ปฏบิ ตั ิ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ ใหถ้ งึ ความดบั ทกุ ข ์ กม็ อี ย ู่ เพยี งแตว่ า่ กอ่ นหนา้ น ้ี ไมม่ ใี ครคน้ พบวถิ ที าง พระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบเปน็ พระองค์แรก ตรัสรู้ได้โดยพระองค์เองโดยชอบ ทรงพบหนทางและน�ำวิธีนี้มาสอน สาวกพอได ้ ฟังธรรมและปฏิบัติตาม ก็พ้นทุกข์เช่นกัน ที่เรา เรียกว่าพระอรหันต์ ค�ำสอนเหล่าน้ีก็สืบต่อมา ถึงปัจจุบัน เรายังมีบุญท่ียังได้รับฟังค�ำสอนของ พระพุทธเจ้าอยู่ พุทธศาสนาก็มีอายุกาลชั่วระยะหนึ่ง จากน ้ี พุทธศาสนาจะเร่ิมหมดไป ต่อไปพอไม่มีพุทธ ศาสนา ใครจะมารู้ได้เร่ือง รูป - นาม สภาวะ จิตใจ ปรมัตถ์ จะไปรู้กันแต่เร่ืองสมมติ บัญญัติ 42 เ รื อ น ชี วิ ต
คนจะท�ำสมาธิได้ แต่ท�ำปัญญารู้แจ้งไม่ได้ เมื่อ ไม่มีพุทธศาสนา เร่ืองบาปบุญคุณโทษ ก็จะ ไม่รู้เรื่อง คนจะเบียดเบียนกันมาก ท�ำชั่ว แล้วก ็ ทุกขก์ ันมาก ถ้าเราไม่สนใจบ�ำเพ็ญหนทางแห่งความ ดับทุกข์ ในภพนี้ ชาติน้ี แล้วเราจะบ�ำเพ็ญกัน เม่อื ไร ? การทเ่ี รายงั ทอ้ แท ้ ทอ้ ทอย กใ็ หน้ กึ วา่ โอกาส ที่เราจะไขว่คว้าหนทางพ้นทุกข์มันมาแค่เอื้อม แต่ถ้าเราไม่เอื้อม มันก็ไม่ถึง ต้องไม่ทอดท้ิงธุระ ส�ำคญั อนั นี้ กข็ ออนโุ มทนาใหท้ กุ ทา่ นไดพ้ ากเพยี รภาวนา น�ำตนให้พ้นทุกข์ เข้าถึงบรมสุขคือพระนิพพาน ทุกท่าน เทอญ. 43เขมรังสี ภิกขุ
ถา้ เราไม่สนใจ บ�ำเพ็ญหนทางแห่งความดับทกุ ข์ ในภพน้ี ชาตนิ ี้ แลว้ เราจะบ�ำเพ็ญกนั เมอื่ ไร?
กเิ ลสทุกกเิ ลสเกิดทางใจทั้งหมด จติ ทจ่ี ะมีสตปิ ญั ญากเ็ กดิ ทางใจ จะดับทุกขก์ ็ตอ้ งดบั ทใ่ี จ เพราะทกุ ขเ์ กิดที่ใจ ฉะน้ัน ถา้ เปน็ นกั ปฏบิ ตั แิ ลว้ ไม่รู้จติ ใจ มนั ก็ไม่เท่าทันจติ ไมท่ ันกิเลส ได้แต่ดแู ตก่ ายอย่างเดียว มันจะไปตอ่ ไม่ได้
อบกราํมหวนปิ ดสั กสานราบกวรชรเมนฐกาขนัม ม ปภี า ว๒น๕า๖๔ ณ วัดมเหยงคณ์ ต.หันตรา อ.พระนครศรอี ยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ท่ี วันสำ� คัญ พิธี ก�ำหนดวนั บวช และลาสิกขา วนั พฤหสั ท่ ี ๒๕ ก.พ. ๖๔ (ขึน้ ๑๔ ค่ำ� เดอื น ๔) ๑ วนั มาฆบชู า บวช วนั อาทิตยท์ ่ ี ๒๘ ก.พ. ๖๔ (แรม ๒ ค�่ำ เดือน ๔) ลาสกิ ขา วนั จนั ทรท์ ี ่ ๑๒ เม.ย. ๖๔ (ขึน้ ๑ ค่�ำ เดือน ๖) วันพฤหสั ที่ ๑๕ เม.ย. ๖๔ (ข้ึน ๔ ค�ำ่ เดอื น ๖) ๒ วนั สงกรานต์ บวช วนั จนั ทรท์ ่ ี ๒๔ พ.ค. ๖๔ (ขน้ึ ๑๓ คำ�่ เดอื น ๗) ลาสิกขา วันพฤหัสที ่ ๒๗ พ.ค. ๖๔ (แรม ๑ คำ่� เดอื น ๗) ๓ วนั วิสาขบูชา บวช วนั พฤหสั ท่ ี ๓ มิ.ย. ๖๔ (แรม ๘ ค�่ำ เดอื น ๗) ลาสิกขา วนั อาทิตยท์ ่ี ๖ ม.ิ ย. ๖๔ (แรม ๑๑ คำ่� เดือน ๗) วนั อัฏฐมีบชู า บวช วนั เฉลมิ พระชนม- ลาสกิ ขา ๔ พรรษา พระราชินีฯ
๕ วันอาสาฬหบูชา บวช วนั ศุกรท์ ่ี ๒๓ ก.ค. ๖๔ (ขน้ึ ๑๔ คำ�่ เดอื น ๘ - ๘) และวนั เขา้ พรรษา ลาสิกขา วนั อาทิตยท์ ี่ ๒๕ ก.ค. ๖๔ (แรม ๑ คำ�่ เดอื น ๘ - ๘) วันจนั ทรท์ ่ี ๒๖ ก.ค. ๖๔ (แรม ๒ คำ่� เดอื น ๘ - ๘) ๖ วันเฉลมิ พระชนม- บวช วนั พฤหสั ที่ ๒๙ ก.ค. ๖๔ (แรม ๕ ค�่ำ เดือน ๘ - ๘) พรรษา ร.๑๐ ลาสกิ ขา วันพฤหสั ที่ ๑๒ ส.ค. ๖๔ (ขึ้น ๔ คำ่� เดือน ๙) วนั อาทิตย์ท่ ี ๑๕ ส.ค. ๖๔ (ขึ้น ๗ คำ�่ เดอื น ๙) ๗ วนั แมแ่ ห่งชาติ บวช วนั จนั ทร์ที่ ๑๑ ต.ค. ๖๔ (ขึน้ ๕ คำ�่ เดือน ๑๑) ลาสิกขา วันพฤหัสท ่ี ๑๔ ต.ค. ๖๔ (ขึ้น ๘ คำ่� เดอื น ๑๑) วันองั คารท่ ี ๑๙ ต.ค. ๖๔ (ขึน้ ๑๓ ค่�ำ เดอื น ๑๑) ๘ วนั คล้ายวนั บวช วันศุกร์ท ่ี ๒๒ ต.ค. ๖๔ (แรม ๑ ค่ำ� เดอื น ๑๑) สวรรคต ร.๙ ลาสิกขา วันศกุ ร์ท ่ี ๒๒ ต.ค. ๖๔ (แรม ๑ คำ�่ เดอื น ๑๑) วนั อาทติ ย์ท่ ี ๒๔ ต.ค. ๖๔ (แรม ๓ ค�่ำ เดอื น ๑๑) ๙ วันออกพรรษา บวช วนั ศุกรท์ ี่ ๓ ธ.ค. ๖๔ (แรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๑๒) ลาสกิ ขา วันจนั ทร์ท่ ี ๖ ธ.ค. ๖๔ (ขน้ึ ๒ ค�่ำ เดอื น ๑) วันศุกร์ท ่ี ๓๑ ธ.ค. ๖๔ (แรม ๑๒ ค่�ำ เดือน ๑) ๑๐ วนั ปยิ มหาราช บวช วันอาทิตย์ท่ ี ๒ ม.ค. ๖๕ (แรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๑) ลาสิกขา อ่านรายละเอยี ด หน้าถัดไป ๑๑ วนั พ่อแห่งชาติ บวช ลาสิกขา ๑๒ วนั ขน้ึ ปีใหม่ บวช ลาสิกขา
Search