Information and Communication Technology (ICT) Add Your Company Slogan ดร. วราภรณ์ บุญยLรoัตgนo์ 1
Information and Communication Technology (ICT) เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนําเอา วทิ ยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม (พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน 2539: 406) สารสนเทศ (Information) หมายถึงข่าวสารท่ีได้จากการนําข้อมูล ดบิ (Raw Data) มาคาํ นวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหน่ึง ซึงข่ าวสารที่ได้ ออกมาน้ันจ ะอยู่ในรู ปท่ีสามารถนําไปใช้ งานได้ ทันที (วาสนา สุขกระสานติ 2541: 6-1 ) 2
Information and Communication Technology (ICT) การส่ือสาร หมายถงึ การตดิ ต่อระหว่างมนุษย์ด้วยวธิ ีต่าง ๆ ซ่ึง ทําให้ ฝ่ าย หน่ึง รั บรู้ ค ว าม หม าย จ ากอีกฝ่ าย หน่ึง และ เ กิด การ ต อบสน อง ปั จ จุ บั น กา ร ส่ื อสา ร มี ม า กม า ย ห ลา ย วิ ธี อา จ เ ป็ น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ โทรศัพท์มือถือ ดาวเทียม ระบบ โทรคมนาคม หรือ การส่ือสารระบบเครือข่ายที่อาศัยดาวเทียมและสาย เคเบิลใยแก้ว เรียกอกี อย่างหนึ่งว่า อนิ เตอร์เน็ท กไ็ ด้ 3
Information and Communication Technology (ICT) เทคโนโลยีสารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษว่า Information Technology และมีผู้นิยมเรียกทับศัพท์ย่อว่า IT ซึ่งสุชาดา กีรนันท์ (2541: 23) ให้ความหมายว่า หมายถงึ เทคโนโลยที ุกด้านทเี่ ข้ามาร่วมใน กระบวนการจัดเก็บ สร้าง และส่ือสารสนเทศ (วาสนา สุขกระสานติ 2541: 6-1) กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศว่า หมายถึง กระบวนการต่างๆและระบบงานทช่ี ่วยให้ได้สารสนเทศตามทต่ี ้องการ 4
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร หมายถึง เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับข่าวสาร ข้อมูล และการสื่อสาร นับต้ังแต่การสร้าง การนํามาวิเคราะห์หรือประมวลผลการรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บ และการนําไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่าน้ี มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซ่ึงประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคําสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และระบบการส่ือสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นโทรศัพท์ ระบบส่ือสารข้อมูล ดาวเทียม หรือเคร่ืองมือส่ือสารใดๆ ทั้งมี สายและไร้สาย 5
ความสําคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ • ช่วยเพม่ิ ผลผลติ ลดต้นทุน และเพมิ่ ประสิทธิภาพในการทาํ งาน • เปลย่ี นรูปแบบการบริการเป็ นแบบกระจาย • เป็ นสิ่งทจ่ี าํ เป็ นสําหรับการดาํ เนินการในหน่วยงานต่าง ๆ • เกย่ี วข้องกบั คนทุกระดบั 6
องค์ประกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 1. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ และซอฟท์แวร์ การนําเข้าข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การแสดงผลข้อมูล แผนภาพแสดงกระบวนการจดั การระบบสารสนเทศ 7
องค์ประกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (ต่อ) 2. เทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคม ปัจจุบันได้รับการพัฒนาให้ใช้งาน ร่วมกนั จนกลายมาเป็ น เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) ซึ่งเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ทสี่ ุด คือ อนิ เตอร์เน็ต (Internet) ต้นแหล่งของข้อความ ส่ือกลาง จุดรับข้อความ แผนภาพแสดงกลไกของการส่ือสารโทรคมนาคม 8
ประโยชน์ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร •ความเร็ว •ความถูกต้อง •การเกบ็ บันทกึ ข้อมูล •การเผยแพร่ของข้อมูล 9
ความหมายของคอมพวิ เตอร์ • คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึง เคร่ืองมอื อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ทาํ หนา้ ทรี่ บั ข้อมูล จดั เกบ็ และประมวลผลขอ้ มลู สารสนเทศต่างๆ 10
ขน้ั ตอนการทํางานของคอมพวิ เตอร์ • รับขอ้ มลู • ประมวลผล • แสดงผลลัพธ์ • จดั เกบ็ ขอ้ มลู Input Process Output • สอื่ สารขอ้ มลู Storage 11
ข้อดขี องคอมพิวเตอร์ • ความเรว็ (Speed) • ความเชือ่ ถอื ได้ (Reliable) • ความถกู ต้องแม่นยาํ (Accurate) • เก็บขอ้ มลู จํานวนมาก (Store massive mounts of information) • ย้ายข้อมลู ได้รวดเร็ว (Move information) 12
ววิ ัฒนาการของคอมพวิ เตอร์ • ลกู คิด (Abacus) เปน็ เครอื่ งคาํ นวณเครื่องแรก ที่มนุษย์ไดป้ ระดษิ ฐค์ ิดค้นขึ้นมา โดยชาวจนี และยงั มใี ชง้ านอยู่ในปัจจบุ ัน มลี กั ษณะตา่ งๆ ออกไป ลกั ษณะลกู คิดของ จีน ซง่ึ มีตวั นบั รางบน สองแถว • แท่งเนเปยี ร์ (Napier's rod) เป็นเครอ่ื งมือที่ประกอบดว้ ยแทง่ ไมต้ ีเสน้ เป็นตาราง คาํ นวณหลาย ๆ แทง่ เอาไว้ใชส้ าํ หรับคํานวณ แต่ละแทง่ จะมตี ัวเลขเขยี นกํากับไว้ เมอื่ ต้องการผลลัพธก์ ห็ ยิบแทง่ ทใี่ ช้ระบตุ วั เลขแต่ละหลกั มาอ่านกับแทง่ ดรรชนี (index) ทีม่ ตี วั เลข 0-9 จะได้คําตอบ 13
วิวัฒนาการของคอมพวิ เตอร์ • ไมบ้ รรทดั คาํ นวณ (Slide Rule) คดิ คน้ โดย วิลเลยี่ ม ออทเตรด โดยนํา อัลกอริทมึ ของเนเปียรม์ าเขยี นเปน็ สเกลบนแทง่ ไม้ เพือ่ ใชใ้ นการคาํ นวณ • เครือ่ งคาํ นวณของปาสคาล (Pascal's Pascaline Calculator) คิดคน้ โดยเบลส ปาสคาล ถอื ว่าเปน็ เครอื่ งคาํ นวณใชเ้ ฟอื งเครื่องแรก 14
วิวัฒนาการของคอมพวิ เตอร์ • เครือ่ งคาํ นวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel) คิดค้นโดย กอตตฟ์ รดี วิลเฮล์ม ไลบน์ ิช (Gottfried Wilhelm Leibniz) ไดท้ าํ การปรบั ปรุงเครอ่ื งคํานวณของ ปาสคาลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพดีกวา่ เดมิ โดยมกี ารปรับฟันเฟอื งใหม่ ให้มีความสามารถ คณู และหารได้ (แตเ่ ดิมทาํ ไดเ้ ฉพาะการบวกและลบเลขเท่านน้ั ) 15
ววิ ฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ • เคร่อื งผลตา่ งของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine) คดิ ค้นโดย ชารล์ ส แบบเบจ (Charles Babbage) เป็นเครื่องคาํ นวณท่มี ี ฟนั เฟืองจํานวนมาก และสามารถคาํ นวณค่าของตารางไดอ้ ัตโนมัติ แลว้ สง่ ผลลพั ธไ์ ปตอกลงบนแป้นพิมพ์ 16
วิวฒั นาการของคอมพิวเตอร์ • เคร่ืองวเิ คราะห์ของแบบเบจ (Babbage's Analytical Engine) ต่อมาได้พัฒนาเคร่ืองวิเคราะห์ ซงึ่ จะประกอบดว้ ย • หน่วยความจํา ซ่ึงก็คือ ฟันเฟือง • หน่วยคํานวณ ท่สี ามารถบวกลบคูณหารได้ • บตั รปฏิบตั ิ คล้าย ๆ บตั รเจาะร้ใู ช้เปน็ ตวั เลือกวา่ จะคาํ นวณอะไร • บัตรตวั แปร ใชเ้ ลอื กว่าจะใช้ข้อมูลจากหนว่ ยความจาํ ใด • ส่วนแสดงผล คอื เครอ่ื งพิมพ์ หรอื เครื่องเจาะบตั ร • บุคคลท่ีนําแนวคิดของแบบเบจมาสร้างเครอ่ื ง กค็ อื ลูกชายของแบบเบจ ชื่อ เฮนรี่ (Henry) ในปี 1910 17
วิวฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ จากการคาํ นวณด้วยเครอื่ งวิเคราะห์น้มี ีลักษณะใกลเ้ คียงกับสว่ นประกอบ ของคอมพวิ เตอรใ์ นปัจจบุ นั จงึ ทําให้ ชารล์ ส แบบเบจ (Charles Babbage) ได้รับการ ยกย่องว่าเป็น “บดิ าแห่งคอมพวิ เตอร์” Charles Babbage Babbage's Analytical Engine 18
ววิ ฒั นาการของคอมพิวเตอร์ • ABC เคร่ืองคาํ นวณขนาดเลก็ ทีใ่ ชห้ ลอดสูญญากาศ ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอรร์ ะบบดจิ ิตอลเคร่อื ง จอห์น วนิ เซนต์ คลฟิ ฟอรด์ เบอรี แรก 19
วิวฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ • Mark I เครอ่ื งคํานวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบเี อ็ม โธมสั เจ. วตั สนั 20
วิวฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ • ENIAC เคร่อื งคอมพวิ เตอร์เครือ่ งแรกของโลก คดิ คน้ โดย ดร. จอหน์ ดับบลิว มอชลี่ (John W. Mauchly) และจอหน์ เพรสเปอร์ เอ็คเคริ ์ท (Jonh Presper Eckert) 21
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ • ยุคที่ 1 (ยคุ หลอดสญู ญากาศ) ใช้เทคโนโลยหี ลอดสญู ญากาศ (Vacuum tube technology) ในยุคน้เี ร่มิ ตั้งแตป่ ี ค.ศ. 1951 – 1958 “ตัวเครอื่ งใหญ่ ใชก้ าํ ลังไฟสูง • เกิดความร้อนสูง” หลอดสญู ญากาศ 22
วิวัฒนาการของคอมพวิ เตอร์ • ยุคท่ี 2 (ยุคทรานซสิ เตอร์) เทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ (Transistors technology) - มขี นาดเล็กกว่าหลอดสูญญากาศ - มีความจําทส่ี ูงกวา่ - ไมเ่ สียเวลาในการวอร์มอพั - ใชพ้ ลังงานตํา่ ทรานซสิ เตอร์ 23
ววิ ฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ • ยุคท่ี 3 (ยคุ วงจรรวม) มีการพฒั นาเปน็ แผงวงจรรวม (Integrated Circuits : IC) เปน็ วงจรไมโครอเิ ล็กทรอนกิ ส์ มขี นาดเล็กและบาง น่าเชอื่ ถือมากกวา่ ความเรว็ สูงขน้ึ และทาํ ใหข้ นาดของคอมพิวเตอรเ์ ลก็ ลง Integrated Circuits : IC 24
ววิ ัฒนาการของคอมพวิ เตอร์ • ยุคท่ี 4 (ยุควีแอลเอสไอ) เป็นยคุ ของวงจร (Large-Scale Integration: LSI) เปน็ วงจรรวมประกอบดว้ ยวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสห์ ลายพันวงจรไว้ บนแผงซิลกิ อนซ่งึ เป็นชปิ ขนาดเล็ก และถกู นํามาใช้เป็นชปิ หน่วยความจาํ Large-Scale Integration: LSI 25
วิวฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ • ยคุ ท่ี 5 (ยคุ เครือขา่ ย) - การพฒั นาวงจรวแี อลเอสไอ มคี วามต่อเนอ่ื งและรวดเร็ว - สามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ลงบนแผน่ ซิลคิ อนขนาดเล็ก - คอมพวิ เตอรม์ ขี ดี ความสามารถเพิม่ ขน้ึ อย่างรวดเร็ว - ยุคนีจ้ ะมีความพยายามในการประยุกตใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์กบั งาน หลายประเภท 26
ประเภทของคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกได้ 2 แบบ คือ *แบ่งตามลกั ษณะของข้อมูล *แบ่งตามสมรรถนะ ขนาด และราคา 27
แบ่งตามลกั ษณะของข้อมูลได้ ๓ ประเภทคือ 1. อนาลอกคอมพวิ เตอร์ (Analog Computer) เป็ นเครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ี สร้างขนึ้ เป็ นพเิ ศษ เพื่อใช้กบั งานเฉพาะด้าน 2. ดิจิทัลคอมพวิ เตอร์ (Digital Computer) เป็ นเครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ี ทํางานโดยใช้หลักในการคํานวณแบบลูกคิด หรือหลักการนับ และทํางาน กบั ข้อมูลแบบไม่ต่อเน่ือง 3.ไฮบริดคอมพวิ เตอร์ (Hybrid Computer) เป็ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ใี ช้ กบั งานเฉพาะด้าน มปี ระสิทธิภาพสูงและสามารถทาํ งานทซี่ ับซ้อนได้ 28
แบ่งตามสมรรถนะ ขนาดและราคา ได้ ๕ ประเภทคือ จําแนกออกไดเ้ ป็น 5 ชนิด โดยพจิ ารณาจาก ความสามารถในการเกบ็ ข้อมูล และ ความเรว็ ในการประมวลผล เป็นหลกั ดังนี้ 1. Super Computer 2. Mainframe Computer 3. Mini Computer 4. Workstation 5. Micro Computer or Personal Computer 29
• [email protected] • Line : innostaa 30
ประเภทของคอมพิวเตอร์ 1. Super Computer เครื่องคอมพิวเตอรป์ ระสิทธภิ าพสงู เหมาะสําหรับการรบั และแสดงผลจํานวนมาก ใช้ในงานวิเคราะห์ และคํานวณด้าน วิทยาศาตร์ 31
ประเภทของคอมพิวเตอร์ 2. Mainframe Computer เคร่อื งคอมพวิ เตอรข์ นาดใหญ่ เปน็ เครื่องคอมพวิ เตอรร์ าคาสงู มกั อยู่ทศ่ี นู ย์คอมพิวเตอร์หลกั ขององค์กร และตอ้ ง อยใู่ นหอ้ งทมี่ ีการควบคุมอุณหภูมแิ ละมกี ารดแู ลรักษาเป็นอย่างดี 32
ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 3. Mini Computer เคร่อื งคอมพวิ เตอรข์ นาดกลาง นิยมใชใ้ นสว่ นของธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น ระบบการจองหอ้ งพกั ในโรงแรมขนาดใหญ่ การควบคุมเครือ่ งจกั รในโรงงานอตุ สาหกรรม 33
ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 4. Workstation ลกั ษณะคล้าย computer PC แต่แตกต่างท่สี มรรถนะ Workstation จะประมวลผล เร็วกวา่ บางทีถกู เรยี กว่า ซปุ เปอรไ์ มโครคอมพวิ เตอร์ งานสว่ นใหญใ่ ชเ้ ก่ียวกบั ตวั เลข ทางสถติ ิระดับสูง งานด้านกราฟฟกิ หรือใช้เปน็ เคร่ือง Server สําหรบั เกบ็ ข้อมลู 34
ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 5. Micro Computer เคร่อื งคอมพิวเตอรข์ นาดเล็ก เครื่องคอมพวิ เตอรใ์ ชง้ านทั่วๆ ไป จะเรียกวา่ “เคร่ืองคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคล Personal Computer (PC)” ซ่ึงเรียกรวมทัง้ เครือ่ ง Desktop, Notebook หรอื Laptop และ PDA 35
องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์ประกอบด้วยส่วนสําคญั 5 ส่วนด้วยกนั คือ 1.ฮารด์ แวร์ (Hardware) 2.ซอฟต์แวร์ (Software) 3.ข้อมลู /สารสนเทศ (Data/Information) 4.บคุ คลากร (Peopleware) 5.กระบวนการทาํ งาน (Documentation/Procedure) 36
ฮารด์ แวร์ (Hardware) สง่ิ ที่มองเหน็ และจบั ต้องสัมผสั ไดท้ ง้ั หมดท่ีเก่ียวขอ้ งกับคอมพิวเตอร์ ไม่ ว่าจะเป็นตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Main board) และ อุปกรณ์ต่อพ่วงรอบขา้ ง (Peripheral) ที่เก่ยี วข้อง เชน่ ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เมาส์ หนว่ ยประมวลผลกลาง จอภาพ เคร่ืองพมิ พ์ และอุปกรณอ์ ืน่ ๆ ฮารด์ แวรจ์ ะไมส่ ามารถทํางานดว้ ยตัวเองเดย่ี ว ๆ ได้ จะต้องนํามาตอ่ เชอ่ื ม เพอื่ ทํางานรว่ มกันเป็นระบบท่ีเรียกวา่ \"ระบบคอมพวิ เตอร์ (Computer System)\" ทม่ี โี ครงสร้างของระบบจะทาํ งานตามโปรแกรมหรือซอฟตแ์ วรท์ ี่ เขียนข้ึน 37
หน้าทข่ี องฮาร์ดแวร์ต่างๆสามารถแบ่งเป็ นส่วนสําคญั 5 ส่วน 1) หนว่ ยรบั ขอ้ มูล (Input Unit) 2) หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) 3) หนว่ ยความจํา (Memory Unit) 4) หน่วยแสดงผล (Output Unit) 5) อปุ กรณต์ อ่ พว่ งอ่นื ๆ (Peripheral Equipment) 38
หนว่ ยรบั ขอ้ มลู (Input Unit) • คียบ์ อร์ด (Keyboard) • เมาส์ (Mouse) • OCR (Optical Character Reader) • สแกนเนอร์ (Scanner • ปากกาแสง (Light Pen) • จอยสตกิ (Joy Sticks) • จอสัมผัส (Touch Screen ) ฯลฯ 39
หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) 1) หนว่ ยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) ทํา หน้าท่เี หมือนกับเครอ่ื งคํานวณอยู่ในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ โดยทาํ งาน เกีย่ วกับการคํานวณทางคณิตศาสตร์ และตรรกะศาสตร์ 2) หนว่ ยควบคุม (Control Unit) ทําหนา้ ท่คี วบคมุ ลาํ ดบั ขั้นตอนการ ประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกับอุปกรณ์นาํ เขา้ ข้อมลู อปุ กรณ์แสดงผล และหนว่ ยความจําสํารองดว้ ย 40
หนว่ ยความจํา (Memory Unit) 1) หน่วยความจาํ หลกั (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจาํ ภายใน (Internal Memory) สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ **รอม (Read Only Memory - ROM) เป็ นหน่วยความจําทม่ี ี โปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สามารถเรียกออกมาใช้งานได้แต่จะไม่ สามารถเขียนเพ่ิมเติมได้ และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไปเลีย้ งให้แก่ ระบบข้อมูลกไ็ ม่สูญหายไป ** แรม (Random Access Memory) เป็ นหน่วยความจําทส่ี ามารถ เก็บข้ อมูลได้ เมื่อมีกระแสไฟ ฟ้ าหล่ อเลี้ย งเท่ าน้ัน เม่ือใดไม่ มี กระแสไฟฟ้ามาเลยี้ งข้อมูลทอี่ ยู่ในหน่วยความจาํ ชนิดนีจ้ ะหายไปทนั ที 41
2) หน่วยความจํารอง (Second Memory) หรือหน่วยความจาํ ภายนอก (External Memory) เป็ นหน่วยความจาํ ทต่ี ้องอาศัยส่ือ บนั ทกึ ข้อมูลและอปุ กรณ์รับ-ส่งข้อมูลชนิดต่างๆได้แก่ ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard Disk ฟลอ็ บปี้ ดสิ ก์ (Floppy Disk) ซีดี (Compact Disk - CD) การ์ดเมมโมรี (Memory Card) ฯลฯ 42
หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็ นอุปกรณ์ส่งออก (Output device) ทําหน้าที่แสดงผลลพั ธ์เม่ือ ซีพยี ูทาํ การประมวลผลเช่น หน้าจอ เคร่ืองพมิ พ์และลาํ โพง 43
วงจรการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอร์ 44
อปุ กรณ์ต่อพ่วงอ่ืนๆ • โมเด็ม (Modem) เป็ นอุปกรณ์ทช่ี ่วยให้ติดต่อกบั โลกภายนอกได้อย่าง ง่ายดาย ปัจจุบนั โมเดม็ มที ้งั แบบตดิ ต้งั ภายในเครื่องคอมพวิ เตอร์ เรียกว่า Internal Modem และ แบบภายนอกเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงเรียกว่า External Modem • แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย (LAN card) เป็ นอปุ กรณ์ทที่ าํ หน้าทใ่ี น การรับ-ส่งข้อมูลระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์หรือเวริ ์คสเตช้ัน (Workstation) และเคร่ืองให้บริการข้อมูล (Server) ดงั น้ันเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ทตี่ ้องการเชื่อมต่อกบั เครื่องคอมพวิ เตอร์อื่นๆจาํ เป็ นต้อง ตดิ ต้งั แลนการ์ด 45
ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (program) หรือ ชุดคําสั่งท่ีควบคุมให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทํางานให้ได้ผลลัพธ์ตามท่ี ต้องการ สามารถแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท 1.ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software) 2.ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ (Application Software) 46
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หน้าทห่ี ลกั ใช้ในการจดั การหน่วยรับเข้าและหน่วยส่ออก ใช้ในการจดั การหน่วยความจาํ ใช้เป็ นตวั เช่ือมต่อระหว่างผู้ใช้งานกบั คอมพวิ เตอร์ 47
ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ (Application Software) ซอฟท์แวรส์ ําเรจ็ (Package) 1) ซอฟตแ์ วร์ประมวลคาํ (word processing software) 2) ซอฟต์แวรต์ ารางทํางาน (spread sheet software) 3) ซอฟตแ์ วรจ์ ดั การฐานข้อมลู (data base management software) 4) ซอฟตแ์ วร์นาํ เสนอ (presentation software) 5) ซอฟตแ์ วรส์ ่อื สารข้อมลู (data communication software) ซอฟตแ์ วรใ์ ช้งานเฉพาะ 48
ข้อมลู /สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆทเ่ี รานํามาให้คอมพวิ เตอร์ทาํ การประมวลผลคาํ นวณ หรือกระทาํ การอย่างใดอย่างหน่ึงให้ได้มาเป็ นผลลพั ธ์ทเ่ี ราต้องการ -เจ้าหน้าทป่ี ฏบิ ัตกิ าร บ(Oุคpคerลaาtoกrร) (Peopleware) -บุคลากรทเ่ี กยี่ วข้องกบั ระบบ (System) -ผู้จดั การศูนย์ประมวลผลคอมพวิ เตอร์ (Electronic Data Processing Manager) -ผู้ใช้คอมพวิ เตอร์ (Computer user) กระบวนการทาํ งาน (Documentation/Procedure) เป็ นข้นั ตอนการทาํ งานเพ่ือให้ได้ ผลลพั ธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพวิ เตอร์ 49
คุณสมบตั ขิ องคอมพวิ เตอร์ 1) ลกั ษณะเด่นของคอมพิวเตอรด์ า้ นความจํา (Storage) 2) ลักษณะเดน่ ของคอมพวิ เตอร์ด้านความเรว็ (Speed) 3) ลักษณะเด่นของคอมพวิ เตอร์ดา้ นการปฏิบัติงานอตั โนมัติ (Self ) 4) ลกั ษณะเดน่ ของคอมพวิ เตอรด์ า้ นความน่าเชื่อถอื (Sure) 50
Search