Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วรรณคดีวิจักษ์ ม.3

วรรณคดีวิจักษ์ ม.3

Published by ครูอาร์ม ธนพนธ์, 2021-01-24 12:17:47

Description: วรรณคดีวิจักษ์ ม.3

Search

Read the Text Version

สารบญั  บทท่ี ๑ บทละครพดู เรื่องเห็นแกล กู  บทที่ ๒ นทิ านคาํ กลอนเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณหี นีนางผีเส้อื สมทุ ร  บทท่ี ๓ พระบรมราโชวาท  บทท่ี ๔ อศิ รญาณภาษติ  บทที่ ๕ บทพากยเอราวณั



บทท่ี ๑ บทละครพดู เรือ่ งเห็นแกลกู ผแู ตง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยูหัว ลักษณะการประพนั ธ บทรอยแกว ละครพูดขนาดส้นั เร่อื งยอ พระยาภกั ดนี ฤนาถกบั นายลาํ้ เคยเปนเพอ่ื นสนิทนายล้ํา นายลํา้ มบี ตุ รสาวช่ือ ลออ เมื่ออายุได ๒ ขวบ นายลํ้าถูกตัดสิน จําคุกเปนเวลา ๑๐ ป ฐานทุจริต พระยาภักดีจึงอุปการะแมลออเปนบุตรบุญธรรม ๑๕ ปตอมา นายลํ้ามาที่บานพระยาภักดี ในสภาพสิ้นเนื้อประดาตัวหวังพึ่งพาแมลออที่กําลังจะแตงงาน แตพระยาภักดีไมยินยอมใหนายล้ําแสดงตนวาเปนบิดาของ แมลออ เพราะเกรงวา บุตรสาวจะอบั อายและถูกสังคมรังเกียจ จึงเสนอเงินใหแกนายลํ้า ๑๐๐ ช่ัง แตนายลํ้าไมยอมจนท้ังคู เกือบตองใชกําลัง ครั้นแมลออกลับมาบานก็ไดสนทนากับนายล้ํา นายล้ําจึงไดรับรูความรูสึกของแมลออที่มีตอตนในฐานะ ผูใหก าํ เนดิ และไมอาจลบภาพบดิ าท่แี สนดใี นมโนภาพของแมล ออได นายลาํ้ ยอมจากไปโดยไมบอกความจริงแกแ มล ออ

บทท่ี ๑ บทละครพูดเร่อื งเห็นแกล กู คุณคาทางวรรณคดี  คณุ คา ดา นเนือ้ หา  คณุ คาดานวรรณศลิ ป  การใชบ ทสนทนาท่ีเหมาะสมกบั สถานภาพของตัวละคร  การใชบ ทสนทนาท่ีสอดคลอ งกบั ลกั ษณะนิสยั และอารมณความรูส ึกของตัวละคร  การใชถอ ยคําทส่ี ่ือความหมายลึกซ้งึ  การสอื่ ความหมายโดยนยั  คุณคา ดา นสงั คมและสะทอนวถิ ไี ทย



บทที่ ๒ นทิ านคํากลอนเร่อื งพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผเี ส้ือสมทุ ร ผแู ตง พระสุนทรโวหาร (ภู) หรอื สุนทรภู ลักษณะการประพันธ นทิ านคํากลอน เรอื่ งยอ พระอภัยมณีอยูกินกับผีเส้ือสมุทรจนมีบุตรหนึ่งคน ชื่อสินสมุทร เมื่อสินสมุทร อายุ 8 ป ไดว่ิง เลนไปเจอแผนหินที่ปดปากถ้ําไวจึงเปดออก และไปจับเงือกชรามาอวดพอ พระอภัยมณีจึงเลาความจริง แตห นหลงั ใหฟ ง วาแมเ ปนนางงยักษแปลง เงือกชราอาสาจะชวยเหลือใหสองพอ ลูกหนีจากผเี ส้อื สมทุ ร

บทท่ี ๒ นทิ านคาํ กลอนเร่อื งพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณหี นีนางผเี สอ้ื สมทุ ร คณุ คาทางวรรณคดี  คณุ คา ดา นเนือ้ หา  โครงเรอื่ ง  คุณคาดา นวรรณศิลป  ลักษณะการประพันธ - ประพันธดวยกลอนสุภาพหรือกลอนแปด บทหนงึ่ มี 4 วรรค  รสวรรณคดี - เสาวรจนี นารปี ราโมทย พิโรธวาทัง สลั ลาปง คพิสัย  ศิลปะการประพันธ - การเลนเสียงสัมผัสในท้ังสัมผัสพยัญชนะและ สมั ผสั สระ



บทที่ ๓ พระบรมราโชวาท ผแู ตง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั รชั กาลท่ี ๕ ลกั ษณะการประพันธ จดหมายรอยแกว และใชเทศนาโวหาร เรื่องยอ พระบรมราโชวาทเนนใหปฏิบัติตนอยางเครงครัดในการวางพระองคใหเหมาะสมเมื่อ ไปศึกษาตางประเทศ เชน ไมไวยศวาเปนเจาเพราะจะตองรักษายศศักดิ์ ระวังพระองคมาก นอกจากนัน้ ยงั ใหเ ปนผูออ นนอมวา งา ยสอนงาย ความในพระบรมราโชวาทที่ทรงยาํ้ อยา งยิ่ง

บทที่ ๓ พระบรมราโชวาท คณุ คา ทางวรรณคดี  คณุ คาดานวรรณศลิ ป  ใชเทศนาโวหารดวยสํานวนภาษางายๆตรงไปตรงมา เชน ขอ จดหมายคําส่ังตามความประสงคใหแกบรรดาลูก ซ่ึงจะใหออกไป เรียนประเทศยุโรป จงประพฤตติ ามโอวาทที่จะกลา วตอ ไปนี้  คณุ คาดา นสังคม  สมัยกอนนั้นการใหความรูน้ันถือวามีคามากกวาทรัพยสินเงินทอง เพราะเปน ของติดตัวไมเ สือ่ มสูญ ดงั คําสอนในพระบรมราโชวาท



บทที่ ๔ อิศรญาณภาษิต ผูแ ตง หมอ มเจาอศิ รญาณ (มหากุล) ลักษณะการประพนั ธ อิศรญาณภาษติ แตงดวยกลอนเพลงยาว ซง่ึ มลี กั ษณะคลา ยกลอนสภุ าพ เร่ืองยอ เกิดขึ้นจากความนอยอกนอยใจของผูแตงหลังถูกตําหนิวาสติไมดี จึงไมนาแปลกใจที่กลอน เพลงยาวนี้จะมีเน้ือหาที่แฝงไปดวยนํ้าเสียงเหน็บแนม ประชดประชัน โดยจุดมุงหมายหลักของการแตง อิศรญาณภาษิตคือการส่ังสอนและเตือนใจผูอานเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่อตองอยูรวมกับผูอื่นในสังคม โดยเฉพาะคนที่มีอาํ นาจมากกวา หรือผอู าวุโสกวา

บทท่ี ๔ อศิ รญาณภาษิต คุณคาทางวรรณคดี  คณุ คาดานวรรณศิลป  ใชถอยคาํ งา ย ๆ มาเรยี งรอยไดเหมาะเจาะและมีความหมายลึกซ้งึ  คณุ คาดา นสังคม  ใหขอ คิดในการดําเนินชีวติ เพอื่ ดํารงอยูในสงั คมไดอยางมีความสุข



บทที่ ๕ บทพากยเ อราวณั ผแู ตง พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา นภาลัย รชั กาลท่ี ๒ ลกั ษณะการประพันธ กาพยฉบงั ๑๖ จาํ นวน ๔๐ บท บทพากยโขนหรือเรยี กวา \"คําพากย\" ซ่งึ กาพยฉบัง ๑๖ มลี กั ษณะ คือ ๑ บท มี ๑๖ คาํ แบง เปน ๓ วรรค วรรคแรกมจี าํ นวน ๖ คาํ วรรคที่ ๒ มี ๔ คาํ วรรคสุดทายมี ๖ คํา เรอื่ งยอ เนื้อเรื่องจะพรรณนาภาพชางเอราวัณซ่ึงเปนชางที่เนรมิตรขึ้นมา จากนั้นก็พรรณนากองทัพของอินทรชิตซึ่ง แสดงใหเห็นถึงความยิ่งใหญและความพรอม ตอมาก็พรรณนาธรรมชาติกลาวถึงพระรามต่ืนบรรทม แลวพรรณนาฉาก ยามเชางแลวพรรณนากองทัพชองพระรามที่ยิ่งใหญ และบุญญาธิการของพระราม จากน้ันกลาวถึงพระลักษณ ทอดพระเนตรทัพพระอินทรแปลงจึงตรัสถาม สุครีพดวยความสงสัย สุครีพทูลเตือนใหระวังพระองค ฝายอินทรชิตก็เร่ิม ใหบ ริวารจบั ระบําถวายจนพระลกั ษณเ คลิบเคลิ้มหลงใหล อนิ ทรชิตจึงแผลงศรพรหมาสตร สังหารพระลกั ษณ

บทที่ ๕ บทพากยเ อราวัณ คุณคา ทางวรรณคดี  ไดร ับความเพลิดเพลนิ จาการชถอยคาํ ทแ่ี สดงพลงั ทางภาษา  ไดศ กึ ษาวรรณคดีของชาตทิ แี่ สดงถึงวัฒนธรรมของคนไทย  ทาํ ใหท ราบถึงลกั ษณะของชางเอราวณั วา มีลกั ษณะอยางไร  แสดงพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถของ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลานภาลัยในดานกวนี พิ นธ



ส.ณ.ธนพนธ รอดขวัญ 6206510010 นางสาวนชิตา นาราวนั 6206510028 นางสาวภาชินี สบื สุข 6206510022 นางสาวพิมนิภา จันทเลิศ 6206510140


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook