Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัตว์ป่า

สัตว์ป่า

Published by grammyggez, 2021-09-01 01:55:13

Description: กัณฐวีร์ ทิพย์สุนทรศักดิ์

Search

Read the Text Version

กั ณ ฐ วี ร์ ทิ พ ย์ สุ น ท ร ศั ก ดิ ชั น 2 / 2 เ ล ข ที 3 ÊѵǏ»†Ò ààÅСÒÃ㪌ªÇÕ µÔ

คํานาํ รายงานเลม่ นจี ดั ทาํ ขนึ เพือเปนส่วนหนึงของวชาคอมพวิ เตอร์ชัน 2/2เพอื ใหไ้ ดศ้ ึกษาหาความรู้ในเรองสัตวป์ าและไดศ้ กึ ษาอย่างเข้าใจ เพอื เปนประโยชนก์ ับการเรยน ผจู้ ัดทาํ หวงั วา่ รายงานเล่มนีจะเปนประโยชน์กบั ผ้อู า่ น หรอนักเรยน นกั ศกึ ษา ทีกาํ ลงั หาขอ้ มูลเรองนอี ยู่ หากมขี ้อแนะนําหรอขอ้ ผิดพลาด ประการใด ผจู้ ดั ทําขอน้อมรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ทีนีด้วย ผู้จัดทาํ กัณฐวร์ ทพิ ส์ นุ ทรศกั ดิ วนั ที 30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564

สารบญั 4 5 1.เสือโครง 6 เสือโครงอาศัยอยทู ่ไี หนบาง? 7 ลกั ษณะภายนอกของเสอื โครง ? 8 รูปภาพเสือโครง 9 2.ชา้ ง 10 11 ลกั ษณะทวั่ ไปของชาง? 12 13 นิสัยของชาง 14 รูปภาพชาง 15 3.ยรี าฟ ลักษณะพิเศษ สงิ่ ท่ีนาสนใจ อาหาร การสบื พันธุ รูปภาพยีราฟ อา งองิ

เสือโคลง เสือโคร่งอาศยั อยู่ทีไหนบา้ ง ? โดยปกติเสือโครงจะกระจายตัวอยูในเขตผืนปาทัว่ ทวีป เอเชียและทางตะวนั ออกของรัสเซยี ในชว งหน่ึงศตวรรษท่ี ผานมาพบวาเสอื โครง สว นใหญเดินทางไปมาในแถบทวีป เอเชยี ปัจจุบนั แหลงที่อยอู าศัยของเสอื มีขนาดลดลงเหลอื เพยี งรอ ย ละ 7 จากขนาดพ้นื ที่เดมิ เสือและลกั ษณะเฉพาะในแตล ะถิ่น เสือตอ งการท่อี ยูอาศยั ท่สี มบรู ณ อดุ มดวยเหย่ือท่ีเป็นแหลง อาหาร และมีแหลงน้ําเพยี งพอสําหรบั การดาํ รงชีวิต เสอื ตา งชนิดจะอาศยั อยใู นสิง่ แวดลอ มที่ไมเหมือนกนั เชน บางชนิดอาศัยอยใู นปาดิบช้ืน บางชนิดอยใู นปาดงดบิ หรอื ปา ชายเลน อยางเชน เสอื ในภูฏานอาศัยอยูใ นพ้นื ทีส่ ูงกวา ระดับน้ําทะเล ถงึ 4,000 เมตร และอยูในเขตพ้นื ทีเ่ ดียวกบั เสอื ดาวหมิ ะ แตในซนั เดอรแบน ประเทศอินเดยี เสือสามารถวายน้ําในปา ชายเลนกบั ฉลามหวั บาตรและจระเข 4

ลกั ษณะภายนอกของเสอื โคร่ง? สแี ละลวดลาย ส่วนบนของเสอื โคร่งมสี ีตงั แต่โทนแดงสม้ ไปยงั เหลอื ง ปนนําตาล ส่วนลา่ งเปนสีขาว ลาํ ตวั ยงั มีลายพาดผา่ น เปนสดี าํ และเทาเข้ม ลวดลายของเสอื แตล่ ะตัวจะต่างกัน และทังสองด้าน ของลําตัวก็จะมีลวดลายไมเ่ หมือนกันด้วย ในความ เปนจรง ลวดลายของเสอื โคร่งแต่ละตวั ไมม่ ีความแตก ต่างกนั มากนัก เสือตวั ผู้สังเกตได้จากขนทคี อ ซึงจะเห็นได้ชัดเจนใน เสือสุมาตรา เสือเบงกอลบางตัวมสี ีขาวหรอครมแทนทจี ะเปนสสี ม้ เนอื งจากปรากฎอยู่ในลกั ษณะดอ้ ยของยนี ทแี สดงสี บางครังถูกเรยกว่าเสอื “ขาว” นอกจากนี เสือ เบงกอลยงั มีจมกู สีชมพูและตาสฟี า ขนาด ขนึ อยู่กบั เสอื แตล่ ะสายพนั ธ์แุ ละเพศ ความยาวของลาํ ตวั รวมความยาวของหางแลว้ อยู่ทีประมาณ 140-300 เซนติเมตร ความยาวหางอยู่ทีราว 60-95 เซนติเมตร นาํ หนกั เสอื เพศผใู้ นสายพนั ธเ์ุ สอื ไซบีเรยซึงเปนสายพนั ธทุ์ ใี หญ่ ทสี ุด อาจจะมนี ําหนักถงึ 300 กิโลกรัม ในขณะทีเพศผู้ ของสายพันธทุ์ เี ลก็ ทีสดุ นันคอื เสือสุมาตรา มีนําหนักอยทู่ ี ประมาณ 100-140 กโิ ลกรัม ในแต่ละสายพันธ์ุ เสอื เพศผู้ มกั จะหนักกว่าเสอื เพศเมยี 5

6

ช้าง ลักษณะทัวไปของช้าง ธรรมชาตขิ องชาง ชางทุกชนิดไมวา จะเป็นชางพันธุเอเชยี หรอื พนั ธุแ อฟรกิ า มคี วามเป็นอยูเหมอื นกันอยูอยางหน่ึง คือ ชอบ อยูเ ป็นฝูง ชาง ฝูงหน่ึงมกั ประกอบดวยชา ง ๕ - ๑๐ เชือก แตล ะฝงู จะมีชางพลายตวั หน่ึงเป็นหัวหน า ซ่ึงมกั จะเป็นตวั ท่ี แข็งแรงทส่ี ุดของ ฝูง มหี น าทค่ี อยเป็นผปู กปักรกั ษา และ ป องกนั อนั ตรายใหแกชา งในฝงู ของตน และเป็นผูน ําฝงู ไปหา อาหารในแหลง ท่ี มี ความอุดมสมบรู ณ ชางปาทห่ี ากินอยตู ัว เดียว ถาไมใ ชช างแกซ่ึงเดนิ ตามเพ่ือนฝูงไมทัน มักจะเป็นชา ง เกเรทีถ่ กู ขับออกจากฝงู เรยี กวา \"ชางโทน\" ชา งโทนนี้มนี ิสัย ดรุ าย ซ่งึ อาจเป็นอนั ตรายแกผูพบเห็นได ชา งไทยหรือชา ง เอเชยี มนี ิสยั ชอบอากาศเย็น และไมชอบแสง แดดจัด ฉะนัน้ เม่อื เรานํามันมาฝึกใชงาน เชน งานชักลากไม เราจึงใชงานชา ง เฉพาะตอนเชา ตงั้ แต ๖.๐๐-๑๒.๐๐ น. สวนตอน บา ยตอ งใหมนั หยดุ พกั ผอน นอกจากนัน้ เม่อื เราใชง านมันตดิ ตอ กนั ไป ๓ วัน เราจะตอ งใหมนั หยดุ พกั งานอีก ๑ - ๒ วัน แลว จงึ ใหมนั ทํางาน ใหม ทัง้ นี้กเ็ พราะวา ชางเป็นสตั วท่ีมโี รคภัยเบียดเบียนไดงาย ถา เราใชงานมันหนักเกินไป มันอาจ จะเกิดเจ็บปวยข้ึนในฤดทู ่ี มอี ากาศรอ นจัด คือ ระหวางเดือนมนี าคม - พฤษภาคม 7

นสิ ัยของชา้ ง ชา งเอเชยี หรือชางไทยโดยทวั่ ๆไป เม่อื นํามาฝึกใหเ ช่ืองเพ่อื ใชงานไดแลว จะมีนิสัยฉลาด สุภาพ และรักเจา ของ เวนแต ใน บางขณะ เชน ในเวลาตกมันซ่งึ ก็เป็นเพียงในชวั่ ระยะ เวลาหน่ึงเทา นัน้ ในเวลาตกมนั ชางจะมนี ิสัยดรุ า ย จะทาํ ราย ชา ง ดวยกันเองหรอื ทํารายเจาของ ตลอดจนสง่ิ ของที่อยู ใกล ๆ เม่อื พน ระยะตกมันแลว นิสัยดุรายจะหายไปเอง ชา ง บางเชือกอ าจจะมีนิสัย เกเรมาตงั้ แตกาํ เนิด แตก็ไมมากนัก โดยปกตชิ างเป็นสตั วท ีต่ ่ืนกลัวสงิ่ ของหรอื สตั วท ี่มันไมค อย พบเหน็ โดยเฉพาะ ชางเป็นสตั วท ี่มีความรูสึกทางกลน่ิ ไดด ี มาก และมักจาํ กลนิ่ ท่มี ันเคยชนิ ไดด ี ในดานความฉลาดของ ชางเอเชยี หรอื ชางไทยนัน้ จะเห็น ไดจากการทม่ี นั แสดง ละครสัตวห รอื ในดา นการไม มนั ไดแ สดงความเฉลยี วฉลาด ของมนั ออกมา ในดานการรักลูก มันรูจักสง เสยี งดุลูกหรือ ใชงวงตีเม่อื ลูกของมันซน นอกจากนัน้ ยังมผี เู คยพบวา มัน ยืนเฝ าศพลูกของมันที่ฝังดนิ ไวเ ป็นเวลา ๒-๓ วนั ก็มี 8

9

ยรี าฟ ลักษณะพเิ ศษ ดว ยความท่ีเป็นสตั วตวั สูง ยรี าฟจําเป็นตอ งมีหัวใจขนาด ใหญเ พ่อื หมุนสบู ฉีดเลือดไปเลีย้ งสมอง ยีราฟสามารถสูบ ฉีดเลือดไปเลยี้ งสมองไดมากกวา มนุษยถ ึง 3 เทา เพ่อื ไป เลีย้ งสมองท่อี ยสู ูงข้นึ ไปประมาณ 8 ฟตุ เสมอื นกับปั๊มน้ํา ท่สี บู น้ําข้ึนไปยงั ตึกสงู หัวใจของยรี าฟหนักประมาณ 10 กิโลกรมั ระบบไหลเวียนโลหติ จงึ เป็นแบบพเิ ศษ เรยี กวา \"Rete mirabile\" ชวยป องกนั อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ จากการท่ี เลอื ดไปเลยี้ งสมองมากเกนิ ไปเวลายรี าฟกมตัวด่มื น้ํา ระบบไหลเวียนเลือดพเิ ศษนี้จึงเปรยี บเสมอื นน้ํา ยรี าฟ เป็นสตั วท่กี ินพชื กินไดท ัง้ หญาที่ข้ึนอยูกับพ้นื และ พุม ไมสงู ๆ โดยเฉพาะพมุ ไมประเภทอาเคเชยี หรอื กระถนิ ณรงคท มี่ ีหนามแหลม มรี สฝาด และมีพษิ แตยีราฟก็ สามารถกนิ ไดอ ยางไมม ีปัญหา เพราะมลี ิน้ ท่ียาวถึง 45-47 เซนติเมตร และมคี วามหนาสาก ใชต วดั กินไดโ ดยไมไดร ับ อนั ตราย และทนทานตอสารพษิ ไดในระดับหน่ึง[4] แตเ ม่อื ยรี าฟจะด่ืมน้ําหรือกินอาหารที่อยพู ้นื ลา ง ตองถางขาทัง้ คู หน าออก และกมคอลง เพราะมกี ระดูกทข่ี อ ตอ ตนคอเพยี ง 7 ขอเทา นัน้ นับเป็นชว งทีย่ ีราฟจะไดร ับอนั ตรายจากสัตว กนิ เน้ือทีบ่ กุ จโู จมได เพราะเป็นชวงที่อยูใ นทา ท่ีไมคลอ ง ตวั [5] วนั ๆ หน่ึงยรี าฟจะกนิ อาหารเฉล่ียวันละ 20-30 กโิ ลกรัม ขณะท่นี อนหลับในทายนื เพียงวันละ 2 นาที-2 ชวั่ โมงเทานัน้ ยีราฟเม่ือว่งิ จะวิง่ ไดไ มนานนักเน่ืองจากหัว 10

สงิ ทนี ่าสนใจ : เปนสัตว์บกทีสงู ทีสดุ มคี อยาวมาก มีเขาทงั ในตวั ผูแ้ ละตวั เมีย ไม่ผลัดเขา เขามขี น ปกคลุมอยู่ หนงั มขี นสันสีนาํ ตาล มลี ายขาว แปลกตา ปากและลินยาว ใช้รมฝปาก และ ลินม้วนวนจับใบไมไ้ ด้ มีเตา้ นม 4 เตา้ ถนิ อาศัย : พบเฉพาะในทวปแอฟรกา แถบทงุ่ หญ้าสะ วันนา ทางตอนใตข้ องทะเลทรายซาฮาร่า ตงั แตไ่ นจเี รยไปจนจรดแม่นําออเรนจ์ สถานภาพปจจุบัน : สิงมีชวี ตทีมีความเสียงตําต่อการสูญพนั ธุ์ อายเุ ฉลยี : ในสวนสัตว์ยีราฟมอี ายุขยั ประมาณ 25 ป ส่วนในปาอย่ใู นชว่ ง 10 - 15 ป 11

อาหาร ยรี าฟจะเล็มใบไมจ้ ากกงิ ไมใ้ นระดบั สงู ของ ต้นไม้ โดยเฉพาะใบไมต้ ระกูลอาแคเซีย ซงึ ใบไม้จะมีแคลเซยี มและโปรตนี ทีเหมาะกับ การอตั ราการเจรญเติบโตของยรี าฟ โดยใน หนึงวันยีราฟกนิ ใบไมเ้ ฉลยี 34 กิโลกรัม ซงึ เปนปรมาณทนี อ้ ยเมือเทยี บกบั นําหนกั ตัว เนืองจากใบไมเ้ ปนพืชอาหารทีมีคณู ภาพ และระบบทางเดนิ อาหารของยรี าฟเปน ระบบทมี ีประสิทธิภาพ คือเปนสตั ว์กนิ พชื ที อยใู่ นกลุม่ ทมี กี ารขย้อนอาหารทีย่อยแล้ว บางสว่ นออกมาเคยี วซํา ( สัตวเ์ คียวเอือง )และกระเพาะอาหารแบง่ ออกเปน 4 สว่ น เพอื ช่วยในการย่อยพืชอาหาร 12

การสบื พนั ธุ์ การผสมพันธขุ องยรี าฟจะเป็นไปในลกั ษณะทเี่ รยี กวา Polygamous คือตัวผูท่แี ข็งแรงที่เอาชนะเพศผูตัวอ่ืนใน พ้ืนทแ่ี หง นัน้ ซ่งึ ยีราฟเพศผจู ะรวู าเพศเมียตัวใดอยูใ น สภาวะเป็นสัดหรือไม ดวยการทดสอบจากปัสสาวะของเพศ เมีย และการแสดงออกทางใบหน าที่มคี ําศพั ทว า Flehmen respond ( ดภู าพประกอบ ) เม่อื ยรี าฟเพศผพู บยีราฟเพศ เมยี ทอี่ ยูในชว งการเป็นสัด ยีราฟเพศผูจะพยายามเดินตาม เพ่อื ผสมพันธุ การเกีย้ วพาราสี ยีราฟเพศผจู ะเอาคอพักที่หัว หรอื คอของเพศเมยี ทเี่ ป็นสดั ในชวงการผสมพนั ธุยีราฟเพศ ผจู ะยืนเอาสวนหน าอกชดิ สวนทา ยของยรี าฟเพศเมีย และ ชวงการผสมขาหน าพกั ขาทีบ่ ริเวณดานบนของเชิงกราน ยีราฟเพศเมีย 13

14

อา้ งอิง https://www.wwf.or.th/what_we_do/conservation_o f_tigers_khlong_lan_and_mae_wong/about_the_tig er/ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B 9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/944 440 https://home.maefahluang.org/17619518/giraffe https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B 8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9F_(%E0 %B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A5) 15


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook