ซอฟต์แวรฟ์ รี ดๆี กม็ ใี นโลก (ปรบั ปรุงคร้งั ท่ี 3)
หนังสือ e-book : ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดๆี กม็ ีในโลก (ปรบั ปรุงคร้งั ที่ 3) ผู้เขียน : วสันต์ คุณดลิ กเศวต, [email protected], www.facebook.com/wasankds เผยแพร่ครงั้ ท่ี 1 : 15 มนี าคม 2011 (ซอฟตแ์ วรฟ์ รี ดีๆ กม็ ใี นโลก) เผยแพร่ครง้ั ท่ี 2 : 12 สิงหาคม 2011 (ซอฟต์แวรฟ์ รี ดีๆ ก็มใี นโลก Reloaded) เผยแพร่ครง้ั ท่ี 3 : 24 เมษายน 2013 (ซอฟต์แวรฟ์ รี ดๆี กม็ ใี นโลก - ปรัปปรุงคร้งั ที่ 3) จดั ทาำ และเผยแพร่โดย : ชมรมสวรรค์บนดิน www.poeclub.org จดั ทาำ โดยใช้โปรแกรม : Ubuntu, LibreOffice, Inkscape, Gimp, Shutter หนังสอื e-book “ซอฟต์แวรฟ์ รี ดๆี กม็ ใี นโลก” อนญุ าตให้แจกจา่ ย ทำาสำาเนา โดยไม่มมี ูลคา่ แตห่ ้าม จำาหน่าย หรอื ดัดแปลงแก้ไขส่วนหนง่ึ ส่วนใด นอกจากจะได้รบั อนุญาตเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร ชื่อและเครือ่ งหมายการค้าท่อี า้ งถึง เปน็ ของเจา้ ของ บริษัทหรอื เปน็ ขององคก์ รแตล่ ะราย นายวสนั ต์ คุณดิลกเศวต มไิ ดอ้ ้างความเปน็ เจา้ ของ ตวั แทน หรือมี สว่ นเก่ียวข้องแต่อยา่ งใด หนงั สือเล่มน้ถี กู ออกแบบให้พิมพบ์ นกระดาษ A4 ทง้ั ด้านหน้าและด้านหลงั “ลดใชก้ ระดาษ ลดโลก ร้อน”
สารบัญ สารบญั ..................................................................................4 จากใจผู้เขียน ...........................................................................5 บทที่ 1 : หนังสอื เลม่ นี้คืออะไร? เพ่อื ใคร? ...........................7 บทที่ 2 : ลิขสทิ ธ์ิซอฟต์แวร์ ไมส่ นใจ ไม่ได้แลว้ ...................9 ละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ คืออะไร? 9 วงจรการละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิซอฟตแ์ วร์ในประเทศไทย 11 บทที่ 3 : หว่านอะไร กเ็ ก็บเก่ยี วผลของส่งิ น้ัน ....................25 ผลของตน้ ละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ 26 คณุ ยังจะให้อาหารตน้ ไมล้ ะเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ตอ่ ไปไหม? 28 บทท่ี 4 : ถกู ปลกู ฝังมาแบบนี้ .............................................29 คอมพวิ เตอร์เคร่ืองแรกมากบั ความไมร่ ู้ 29 เรยี นมาแบบนี้ ถกู สอนมาแบบน้ี 30 บทที่ 5 : รจู้ ักกับของฟรี ....................................................33 ฟรแี ละดกี ม็ ี 33 ฟรี แตท่ าำ ไมยังไมค่ ่อยมคี นใช้? 34 รจู้ ักกับโอเพ่นซอร์สเพราะ Chantra 36 บทที่ 6 : ใชง้ านโอเพน่ ซอร์ส ..............................................39 เรม่ิ จาก OpenOffice.org 39 เปลยี่ นมาใช้ LibreOffice 41 ประสบการณก์ บั OpenOffice.org และ LibreOffice 43 การนำา LibreOffice มาใชง้ านแทนออฟฟศิ ตวั เดิมในองค์กร 46 โอเพน่ ซอรส์ ตวั อืน่ จะตามมาเอง 49 แนะนำาตัวอนื่ ๆ 52 บทท่ี 7 : พิชิตโอเพน่ ซอร์สตวั สุดทา้ ย ..................................57 เรม่ิ ต้นใช้ Linux 58 เรมิ่ ตน้ กบั Ubuntu 59 พชิ ิต Ubuntu 60 ขา่ วลอื ที่ไม่จริง 68 สนใจ Ubuntu แลว้ ใช่ไหม ? 68
จากใจผเู้ ขยี น ด้วยราคาของซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ท่ีมีราคาสูงถึงสูงมาก ผู้คนจาำ นวนมาก จึงหันไปใช้แผ่นก๊อป ใชซ้ อฟตแ์ วร์เถ่ือน โหลดของเถ่ือนมาใช้ หรือกค็ ือ เลือกท่ีจะใชซ้ อฟตแ์ วรล์ ะเมิดลขิ สิทธิ์ จากสถิติปี 2011 ประเทศไทยมีอัตราการละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์บนคอมพิวเตอร์ คิดเป็น 72% ซึ่งน่ันเป็นจำานวนไม่น้อยเลย แต่ถึงแม้ มีอัตราการใช้ซอฟต์แวร์อย่างถูกลิขสิทธิ์เพียง 28% ประเทศ ก็ตอ้ งจ่ายเงินไปเป็นจาำ นวนหลายหมืน่ ล้านบาท ทมี่ า globalstudy.bsa.org/2011 ปัญหาการละเมิดลิขสิทธ์ิ ส่งผล กระทบที่ต้นตอของชีวิต กระทบ ทคี่ วามคดิ และจนิ ตนาการ ผลที่ ตามมาจึงลึกและกว้าง กว่าที่จะ เห็นด้วยตาเปล่า เมล็ดไม่ดี เพียง เมล็ดเดียว จะก่อร่างสร้างตัวจน เป็นต้นไม้ใหญ่ และจะให้ผลท่ีมี พิษ ออกม า อีกม า กม า ย โ ดย เฉพาะอย่างยิ่ง เม่ือต้นไม้นั้น ได้ รบั อาหารอยา่ งสม่ำาเสมอ ผู้เขียนปรารถนาเป็นอย่างย่ิง ท่ีจะเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ไขปัญหาด้านการละเมิดลิขสิทธิ์ เพราะแท้จริงแล้ว เราไม่จาำ เป็นต้องเสียเงินซื้อซอฟต์แวร์ราคาแพงๆ ก็สามารถหาซอฟต์แวร์ดีๆ ประสิทธิภาพสูงมาใช้ได้ เพียงแต่หลายท่านยังไม่ทราบ หรือยังติดอยู่ท่ีทัศนคติและความเคยชิน เดิมๆ ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผเู้ ขยี นจงึ พยายามประชาสมั พันธ์ ส่งเสรมิ และจดั อบรมการใชซ้ อฟต์แวรฟ์ รี ประสิทธิภาพสูงบางประเภท เพ่ือเป็นทางเลือกหนึ่งในการ ลด ละ เลิก การละเมิดลิขสิทธ์ิ เพื่อ ประเทศไทยจะได้มีความคิด มีจินตนาการท่ีมากขึ้น เพ่ือท่ีจะพัฒนาขึ้นไปเป็นผู้นำาทางด้านความ คิดมากข้ึน หากท่านใดต้องการร่วมด้วยช่วยกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว เรายินดีเป็นเพื่อนร่วมก้าวเดินไปกับ ท่าน ด้วยประสบการณ์ท่ีเราสะสมมากว่า 10 ปี หวังเปน็ อยา่ งย่ิงวา่ ทกุ ท่านจะได้รบั ประโยชนจ์ ากหนังสือเลม่ นี้ ขอพระเจา้ อวยพรทุกท่าน วสันต์ คณุ ดลิ กเศวต (ผูเ้ ขยี น)
ซอฟต์แวรฟ์ รี ดๆี กม็ ใี นโลก (ปรบั ปรุงคร้งั ท่ี 3)
หนงั สอื เลม่ นค้ี อื อะไร? เพอ่ื ใคร? 1 หนังสือเล่มน้ีถูกเขียนข้ึน เพื่อบอกเล่าประสบการณ์การเปลี่ยนแปลงความเคยชินเดิมๆในการใช้ ซอฟต์แวร์ของผเู้ ขียนเอง เมื่อกวา่ 10 ปีที่แล้ว ผู้เขยี นได้พยายามเปลี่ยนซอฟต์แวร์หรอื โปรแกรมต่างๆที่ ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเป็นซอฟต์แวร์ที่ถูกลิขสิทธิ์ ถูกต้องตามกฎหมาย โดยที่ไม่ต้องเสียเงินซื้อ บางโปรแกรมท่ีในอนาคตอาจต้องซื้อ ก็ต้องพิจารณาเลือกให้เหมาะสมกับงาน ต้องคิดให้มากข้ึน มอง ซอฟต์แวร์เป็นทรัพยากรท่ีต้องบริหารจัดการ ไม่ใช่อะไรๆก็จะเอาดีที่สุดไว้ก่อน แต่ทว่า ซื้อแต่แผ่นก๊อป ชอ๊ ปแต่ซอฟตแ์ วร์เถ่ือนอย่างเดยี ว ปัจจุบนั ผู้เขียนใช้ซอฟต์แวร์ฟรีที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องทุกตัว จึงได้นาำ ประสบการณ์ในการเปลี่ยนแปลงการ ใชซ้ อฟต์แวร์ จาก 0 ถงึ 100 มาเล่าสู่กนั ฟัง ท้ังนี้ก็เพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้กับทุกท่านหรอื องค์กรต่างๆ ท่ีต้องการจะหยุดแผ่นก๊อป สต็อปซอฟท์แวร์เถ่ือน ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายให้กับตัวท่านและองค์กรของ ท่าน ชว่ ยกันบรรเทาและแก้ไขปัญหาของชาติด้วยกัน เพราะผลเสียจากปญั หาการละเมิดลขิ สิทธ์นิ ั้น ไม่ได้เกิดต่อผู้ที่ใช้หรือเกิดต่อองค์กรท่ีใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์เท่าน้ัน ผลเสียทางอ้อมแบบ ร้ายลึก มันเลวรา้ ยยง่ิ กวา่ นัน้ หลายเท่านัก ปัจจุบันผู้เขียนหันมาทำางานด้านน้ีเต็มตัวแล้ว ก็คือ เป็นนักเขียน เขียนหนังสือคู่มือการใช้งาน ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สบางตัวแจกฟรี(ดาวน์โหลดได้ท่ี www.poeclub.org) เป็นวิทยากร อบรมการใช้ งานซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สบางตัว เช่น LibreOffice, Gimp และ Inkscape เป็นต้น นอกจากน้ีก็ เป็นที่ ปรึกษา ให้กับองค์กรในการโยกย้ายระบบจากโปรแกรมออฟฟิศตัวเดิม มาใช้เป็น LibreOffice ซ่ึงเป็น ซอฟต์แวร์ในตระกูลเดียวกับ MS Office แต่ LibreOffce น้นั เป็นซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สท่ีเป็นของฟรี แต่ ประสิทธภิ าพน้ันไมธ่ รรมดา ประสบการณ์ในการทำางาน ทาำ ให้ผู้เขียนต้องมาอัพเดทหนังสือเล่มนี้อีกคร้ัง เป็นครั้งท่ี 3 เพ่ือ บอกเล่าไม่เพียงประสบการณข์ องตัวเองเทา่ นนั้ แตย่ งั มาบอกเลา่ ประสบการข์ องคนอ่ื นด้วย อีก ทั้งต้องยำ้าถึงความนา่ กลวั จากการใชซ้ อฟต์แวร์ละเมิดลขิ สิทธิ์ ที่นับวันก็ยิ่งทวีมากขึ้นเรอื่ ยๆ
8 ซอฟต์แวร์ฟรี ดีๆ กม็ ีในโลก “ทาำ ไมเราต้องสนใจลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ?” นี่เป็นคำาถามท่ีหลายๆคน อาจไม่เคยสนใจเลย แต่ ณ เวลานี้ ท่โี ลกเปดิ กวา้ งมากขึ้น ไมส่ นใจ คงไม่ไดแ้ ล้ว ในระดับองค์กร การบรหิ ารจัดการซอฟตแ์ วร์ ถือเปน็ ความรบั ผิดชอบของทกุ องคก์ ร และเปน็ พันธะทาง กฎหมาย เปน็ ส่ิงท่ที ุกองค์กรตอ้ งทำา โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในปจั จบุ ันที่คอมพิวเตอรก์ ลายเป็นสิ่งจำาเป็นต่อ การทาำ งานไปแล้ว นอกจากน้ี ด้วยแรงกดดันจากบริษัทเจ้าของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ แรงกดดันจากกฏ หมาย และ การบริหารองค์กรที่ต้องการความโปร่งใส(โดยเฉพาะองค์กรขนาดใหญ่) ท้ังหมด เป็นแรง กดดันทที่ ำาให้การบริหารจัดการซอฟต์แวร์ในองคก์ รเป็นส่งิ จำาเป็น ด้วยแรงกดดันดังกล่าว สง่ ผลให้แนวโน้มทผี่ า่ นมาและจะส่งผลต่อเนื่องไปในอนาคตด้วย โลก จะหนั มา ใช้ซอฟต์แวร์ฟรกี นั มากขึ้น โดยเฉพาะซอฟตแ์ วร์ในตระกูลโอเพน่ ซอร์ส “ซอฟตแ์ วร์โอเพน่ ซอร์สคืออะไร?” อธิบายสั้นๆ ณ ตอนน้ี โอเพ่นซอร์ส ก็คือ กลุ่มซอฟต์แวร์ประเภทหน่ึง ซ่ึงมีท้ังแบบแจกฟรีและจาำ หน่าย (ส่วนใหญ่แจกฟรี) แต่โอเพ่นซอร์สไม่ได้มีดีแค่เพียงการแจกฟรีเท่าน้ัน เพราะโอเพ่นซอร์สคำานึงถึงอนาคตของตัวซอฟต์แวร์ด้วย โอเพ่นซอร์ส หลายตวั มีประสิทธิภาพสูง ทัดเทียมและทดแทนซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ ทมี่ รี าคาแพงๆได้เป็นอยา่ งดี ถึงแม้โอเพ่นซอร์สจะแจกฟรี แต่โดยส่วนตัวแล้วพบว่า ผู้คนจำานวนไม่น้อยที่ได้พบเจอ ยงั ติดกับการใช้ ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธ์ิอยู่ จึงไม่เหลียวแลโอเพ่นซอร์สเลย ฉะนั้นในหนังสือน้ี ผู้เขียนจึงพยายาม อธิบายว่า ใช้โอเพน่ ซอร์สแลว้ เป็นอย่างไร? ดีอย่างไร? ดีกบั ใคร? ผู้เขียนไม่ได้เรียนจบทางด้านคอมพิวเตอร์โดยตรง แต่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองมือในการทาำ งานทุกวัน เหมือนกันหลายๆท่าน การเปล่ียนมาใช้โอเพ่นซอร์สไม่ได้ยากเลย ท้ังยังเป็นเรื่องท่ีทำาแล้วสนุก และ ภูมิใจเปน็ อย่างย่ิง ท่ีสาำ คัญ ผู้เขียนไม่เคยเข้ารับการอบรมหรือเข้าคอร์สการใช้โอเพ่นซอร์สใดๆเลย แต่ ใชเ้ วลาไม่นาน ก็สามารถเปล่ียนจาก MS Office มาเปน็ OpenOffice.org ซ่งึ เป็นของฟรีได้แล้ว โปรแกรม อน่ื ๆก็เช่นเดียวกัน(แตใ่ ช้ใหช้ ำานาญน้นั เปน็ อีกเร่อื งหน่ึง) มีเพยี ง 1-2 โปรแกรมเทา่ น้นั ทใ่ี ช้เวลานาน ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สไม่ยากอย่างท่ีคิด และก็มีดีกว่าท่ีหลายคนได้ต้ังแง่เอาไว้ คนทวั่ โลก ต่างก็ ประสบกับปัญหาลิขสิทธิ์และราคาของซอฟต์แวร์ และต่างก็ช่วยกันหาทางออก ฉะนั้นท่านจึงมีเพื่อน มากมายรวมทั้งผู้เขียนด้วย ติดปัญหาอะไร มีคนรอช่วย มีคนคอยตอบคาำ ถามเยอะแยะ เพียงแต่ ขอให้ ก้าวออกมาเท่าน้ัน มคี นชว่ ยแน่ๆ บางประเทศ อย่างรัสเซียถึงกับประกาศว่า ในองค์กรของรัฐจะเปล่ียนมาใช้ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส ท้ังหมด ประเทศอืน่ ๆก็หันมาสนบั สนุนโอเพ่นซอร์สกันอย่างกว้างขวาง องค์กรใหญ่ๆของท้ังภาครัฐและ เอกชนในประเทศไทยก็ต่ืนตัวในเรื่องนี้กันมาก ถ้าซอฟต์แวร์ฟรี ไม่มีดี ก็คงไม่เจริญเติบโตขนาดนี้ นอกจากน้ี หลายๆคน หลายๆประเทศ ก็คงไม่สนบั สนุนกันอยา่ งกวา้ งขวางขนาดนี้
ลิขสทิ ธิซ์ อฟตแ์ วร์ ไม่สนใจ ไมไ่ ด้แล้ว 2 ก่อนท่ีจะอธิบายว่า ผู้เขียนสามารถเปล่ียนมาใช้ซอฟต์แวร์ฟรีที่ถูกลิขสิทธ์ิได้อย่างไร จาก 0 กลายมา เปน็ 100 ได้อย่างไร ผเู้ ขียนขออธิบายภาพรวมวงจรปัญหาการละเมิดลิขสิทธ์ิและผลกระทบก่อน วา่ มนั มีผลเสียอย่างไร? กระทบกับใครบ้าง? ซง่ึ วงจรน้ีก็จะตอบคาำ ถามว่า “ทาำ ไมเราต้องใหค้ วามสนใจกับ ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์?” ซึ่งเป็นคำาถามท่ีหลายๆคนอาจไม่เคยสนใจเลย เพราะคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว เพราะต้งั แต่ใช้มาเป็นสิบปไี ม่เคยต้องเสียเงินซื้อ เป็นต้น แต่ ณ เวลานี้ ผู้เขยี นขอกล่าววา่ “ไม่สนใจ ไม่ ได้แล้ว” โดยเฉพาะถ้าท่านเป็นผู้บริหารองค์กร หรือเป็นผู้บริหารงานด้านไอทีขององค์กร “ทำาไมนะ หรอื ?” อธบิ ายไวใ้ นบทนี้แล้ว ละเมิดลิขสทิ ธ์ิ คืออะไร? ปัจจุบัน ทุกท่านคงคุ้นเคยกับคาำ ว่า “ละเมิดลิขสิทธิ์” เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการละเมิดลิขสิทธิ์ ซอฟต์แวร์(หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์) แล้ว “การละเมิดลขิ สทิ ธ์ิซอฟตแ์ วรค์ ืออะไร?” การละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์ คือการคัดลอก ทาำ ซ้าำ หรือจัดจาำ หน่ายซอฟต์แวร์โดยไม่ได้รับอนุญาต จากเจ้าของสิทธ์ิ เมื่อคุณซื้อซอฟต์แวร์ ความจริงแล้วคุณเพียงแต่ซื้อใบอนุญาตท่ีจะใช้งานซอฟต์แวร์ เท่าน้ัน ไม่ใช่ซื้อตัวซอฟต์แวร์ ใบอนุญาต(License) คือ สิ่งที่จะบอกว่า คุณสามารถติดต้ังซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้กี่ ครั้ง ถ้าคุณทาำ สำาเนาของซอฟต์แวร์น้ันๆ ขึ้นมากกว่า จำานวนสิทธิ์การใชง้ านท่ีระบุในใบอนุญาต คุณก็กาำ ลังทาำ ผิดกฎหมาย หากคุณทาำ การคัดลอก ดาวน์โหลด แบ่ง ปัน ขาย หรือติดต้ังซอฟต์แวร์หลายๆชุด ลงบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ท่ีบ้านหรือท่ีทำา งาน คุณกาำ ลังละเมิด ลิขสิทธิซ์ อฟต์แวร์ (ท่มี า www.stop.in.th)
10 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดีๆ กม็ ีในโลก เพราะซอฟตแ์ วร์เชิงพาณิชย์ เป็นซอฟต์แวร์ทมี่ ีเจ้าของ(มีลิขสิทธ์ิ) การจะนำามาใช้อย่างถูกต้อง เราต้อง ซ้ือ แต่ผู้คนจำานวนไม่น้อย เลือกที่จะใช้ซอฟต์แวร์เถ่ือน โดยการซ้ือแผ่นก๊อป ดาวน์โหลดของผิด กฎหมายมาใช้ หรือกค็ ือ เลือกท่ีจะใชซ้ อฟตแ์ วรล์ ะเมดิ ลขิ สทิ ธิ์แทนการการซื้อซอฟตแ์ วร์แท้มาใช้ จากสถิติ อัตราการละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์ ในประเทศไทยปี 2011 อย่ทู ี่ 72% ภาพจาก globalstudy.bsa.org/2011/ แรกๆน้ัน ผู้เขียนเข้าใจว่า เพราะซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์มีราคาแพงถึงแพงมาก ผู้คนไม่มีเงินที่จะซ้ือ จึงจำาเป็นต้องใช้ของเถ่ือน แต่จริงๆแล้วมนั ไม่ใช่อย่างน้ัน เพราะแม้แต่ซอฟต์แวร์ราคาถูกๆ ก็ยังไม่ยอม ซื้อ จากข่าวสาร ไม่น่าเช่อื วา่ ซอฟต์แวร์ทพ่ี ฒั นาโดยคนไทยราคาเพยี ง 199 บาท ก็ยงั ถูกละเมิดลิขสิทธิ์ อย่างกว้างขวาง องค์กรท่ีถูกจับกุมการละเมิดลิขสิทธ์ิ ส่วนใหญ่ก็เปน็ องค์กรใหญ่ที่มีเงิน แต่ไม่ยอมซื้อ “อย่างนี้เรียกว่า เป็นนิสัยได้ไหม?” เพราะเราใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์จนติด ใช้มาตั้งแต่เข้าเรียน จนทาำ งาน ใช้จนกลายเป็นนิสัย ใช้จนไม่รู้สึกผิด ต่อมความแรงกลัวต่อความผิดไม่มีเร่ืองละเมิดลิขสิทธิ์ อยู่ในนั้น จนกระทงั่ ถูกจบั นนั่ แหละ จงึ รวู้ า่ นี่แหละคอื มะเรง็ ความคิดดีๆน่ีเอง ผู้เขียนเคยเจอท่านหน่ึง ดื้อแพ่งกล่าวว่า “ใช้ MS Office มาเป็นสิบปี ไม่เคยต้องซ้ือ มันเป็นของฟรี” ทงั้ ๆที่ MS Office เป็นซอฟต์แวรล์ ิขสิทธท์ิ ่ีเราตอ้ งซ้ือและราคากไ็ ม่ใช่ถูกๆ ไม่ว่าทัศนคติของเราต่อการใช้ซอฟต์แวร์จะเป็นอย่างไร ไม่ว่าเราจะอ้างเหตุผลอะไรก็ตาม ตัวตนของ ความจริงมนั มีบทบาทของมันอยู่แล้ว และเราก็ไม่สามารถเปลยี่ นผิดให้เปน็ ถกู ได้ ส่งิ ทีจ่ ะบอกวา่ ผดิ หรือ ถูกคือกฎหมาย ซึ่งผิดกฎหมายแน่ๆหากท่านใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธ์ิ เพียงแต่ท่านยังไม่ถูก พิพากษาเทา่ นั้น การไมม่ ีเงนิ ไม่ใชข่ ้อแกต้ วั ข้ึนศาลไหนกแ็ พ้ แทจ้ รงิ แลว้ องค์กรใดหรือใครกต็ าม ทใ่ี ช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธ์ิ ทา่ นเพียงรอวนั ถกู พพิ ากษา เสรภี าพ ของท่านอยู่ในความเส่ียง หากท่านยังเป็นองค์กรเล็ก ท่านก็เป็นเพียงปลาเล็กปลาน้อย แต่วันใดท่าน เติบโตเป็นปลาใหญ่ ท่านมีความเส่ียงสูงท่ีจะถูกจับไปขาย หรือก็คือ มีความเส่ียงสูง ที่จะถูกจับละเมิด ลิขสทิ ธ์ิ บริษัทเจ้าของลขิ สิทธิ์ซอฟตแ์ วร์ท้งั หลาย ไม่ยอมให้ทา่ นใช้ของเขาฟรีๆไปตลอดแน่นอน
ลิขสทิ ธิซ์ อฟตแ์ วร์ ไมส่ นใจ ไม่ได้แลว้ 11 ท่านทราบหรือไม่ว่า บริษัทเจ้าของลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์ต่างๆทั้งในและต่างประเทศ ได้รวมตัวจัดต้ังหน่วย งานหนึ่งขึ้นมา เพ่ือเป็นตัวแทนในการตรวจจับการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์โดยเฉพาะ หน่วยงานดัง กล่าวก็คือ BSA (The Software Alliance) หรอื พันธมิตรซอฟต์แวร์ แน่นอนว่า เขาเข้ามาตรวจจับ ในประเทศไทยด้วย นอกจากน้ี ยงั มี กฎหมาย UCA (Unfair Competition Act) หรือ กฎหมายป้องกันการแข่งขันท่ีไม่ เป็นธรรมของสหรัฐอเมริกา ซ่ึงถือกาำ เนิดเมื่อไม่นานมาน้ี แต่เป็นที่น่าพรั่นพรึงสาำ หรับบริษัทส่งออก ทง้ั หลาย และก็มีโรงงานในประเทศไทยแหง่ หน่งึ ถกู ดำาเนนิ คดีดว้ ยกฎหมายนี้มาแลว้ ก่อนจะอธิบายถึง การทาำ งานของ BSA และกฎหมาย UCA มาดูภาพรวมหรือดูวงจรการละเมิดลิขสิทธ์ิ ในประเทศไทยกันกอ่ น วงจรการละเมดิ ลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์ในประเทศไทย แผนภาพในหน้าถัดไป เป็นผังสรุปวงจรการละเมิดลิขสทิ ธ์ิในประเทศไทยที่ผู้เขียนสรปุ ออกมาให้เห็นเปน็ ภาพรวมคร่าวๆ จากผังน้ีแหละ จะตอบคำาถามว่า “ทาำ ไมเราต้องให้ความสนใจกับลิขสิทธิ์ ซอฟตแ์ วร์?” เริ่มจากสถาบนั การศึกษา ทุกวันนี้ เมื่อผู้เขยี นถามนักเรยี นนกั ศึกษาว่า “ท่ีโรงเรียนที่วทิ ยาลัยสอนโปรแกรมอะไร?” คาำ ตอบที่ได้รับ ก็ คื อ MS Office, MS Windows, 3D Studio, AutoCAD, Dreamweaver, Adobe Premiere, Adobe PhotoShop เป็นต้น ซ่ึงลว้ นเป็นซอฟตแ์ วร์ทต่ี อ้ งซ้ือมาใชท้ ้งั สนิ้ และแนน่ อนวา่ นักเรียนนักศึกษาไมไ่ ด้ซ้ือ รู้ๆกันอยู่ว่าสามารถหาได้จากที่ไหน และหาได้ไม่ยากด้วย ถ้าไม่หามาใช้ จะทำาการบ้านส่งได้อย่างไร หมดสมัยท่ีจะมานั่งทำางานในห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนแล้ว ฉะน้ัน นักเรียนนักศึกษาก็ต้องไปขวย ขวายหามาติดต้ังที่เครื่องส่วนตัว ตามทัศนของผู้เขียน แม้ไม่อยากฟันธงแต่ก็ต้องฟันธง สถาบันการ ศึกษาน่ีแหละ คือแหล่งปลูกฝังให้เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ จะด้วยตั้งใจหรือไม่ต้ังใจก็ตาม จะมีสถาบัน การศึกษาสักกแี่ ห่ง มีนักเรยี นนกั ศึกษาสกั กค่ี น ที่กล้าออกมายืนยันวา่ ใชซ้ อฟต์แวรอ์ ยา่ งถูกกฎหมาย เข้าทำางาน เม่ือระบบการศึกษาปลูกฝงั อะไรไว้ สอนอะไรให้ เม่ือนักเรยี นนกั ศึกษาจบออกมา กต็ ้องนาำ อยา่ งน้ันไปใช้ เม่ือเข้าทาำ งานตามองค์กรต่างๆ กลับไปเป็นครูอาจารย์ก็ดี ทำางานในบริษัทเอกชนก็ดี หรือไปเป็น ข้าราชการก็ดี กต็ ้องขวนขวายหาซอฟต์แวร์ท่ีได้เลา่ เรียนมามาใช้ ซงึ่ ภาระตอ่ มาก็เปน็ หนา้ ที่ขององค์กร ตา่ งๆท่ีตอ้ งจัดซื้อจัดหาซอฟตแ์ วร์มาให้พนักงานใช้ และคอ่ นขา้ งแนน่ อนอีกเชน่ กันวา่ องค์กรหรอื หน่วย งานต่างๆ ส่วนใหญ่ไม่ได้ซ้ือซอฟต์แวร์แท้มาใช้ มิเช่นนั้นอัตราการละเมิดลิขสิทธิ์ของประเทศไทยคงไม่ สงู ถึง 72%
14 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดๆี กม็ ีในโลก องคก์ รของทา่ นอาจอยู่ในรายชอ่ื ผ้ตู ้องสงสัย บริษัทเจ้าของลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์ทงั้ หลาย พัฒนาซอฟต์แวร์มาเพื่อจาำ หน่าย แน่นอนว่าเขาต้องการให้ผู้ ใช้งานซ้ือไปใช้ เหมือนกับเราๆท่านๆท่ีทำาธุรกิจก็ต้องการกำาไร ต้องการขายสินค้า ฉะนั้น เม่ือมีผู้ที่นาำ สินค้าของเขาไปใช้โดยไม่จา่ ยเงนิ เขากม็ สี ิทธท์ิ จี่ ะดาำ เนนิ การตามกฎหมาย การละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟตแ์ วร์ สามารถเรียกว่า เป็นการโจรกรรมได้เลย เพราะไม่ต่างจากการขโมย โทษทางกฎหมายมีท้ังจาำ คุกและ ปรับ และอตั ราโทษกม็ ิใชน่ ้อยๆ เมื่อบริษทั เจ้าของลิขสิทธิซ์ อฟต์แวร์ มีสิทธิดำาเนินการตามกฎหมายต่อผู้ท่ีละเมิดสินค้า ทา่ นอาจไม่รู้ตัว ว่า เขาอาจบันทึกช่ือของท่านไว้แล้ว ในฐานะผู้ต้องสงสัย ที่กาำ ลังใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธ์ิอยู่ เขาไม่ ยอมให้ใช้ของเขาฟรีๆไปตลอดแน่นอน มันมีหลายวิธีท่ีจะสืบทราบว่า ท่านกาำ ลังละเมิดลิขสิทธิ์ ซอฟต์แวร์อยู่หรือเปล่า โดยเฉพาะอย่างย่ิงในโลกปัจจุบันที่ทุกอย่างออนไลน์ เพียงแต่เขาต้องการหลัก ฐานตามกฎหมายท่ีจะขอหมายศาลเพื่อเข้าไปตรวจค้นเท่านัน้ ปลาเล็ก ปลาใหญ่ ผ้เู ขียนขอเปรียบเทยี บอย่างนี้ เมือ่ ครั้งท่ีเรายังเรยี นอยู่ เราเปรียบเหมือนปลาเล็ก ปลาน้อยทช่ี ินกับการได้อาหารมาฟรีๆ ได้มาง่าย ๆ ได้มาอยา่ งชิวชวิ โดยไม่สนใจอะไร เมือ่ ปลาโตขน้ึ มาอีกหนอ่ ย เรยี นจบมงี านทาำ หรือมี กิจการเล็กๆ ปลากย็ ังเคยชินกับอาหารอร่อยๆ ท่ี ได้มาฟรีๆ
ลิขสทิ ธ์ิซอฟต์แวร์ ไม่สนใจ ไม่ไดแ้ ลว้ 15 แตท่ วา่ เม่ือปลาโตเตม็ ที่แล้ว มกี ิจการใหญ่โต มี พนกั งานหลายสบิ หลายร้อยคน เจา้ ของอาหาร เขากจ็ ะมาเกบ็ เกยี่ วผลประโยชน์จากปลาไป ไมม่ ี อาหารที่ไหนไดม้ าฟรีๆ ตลอดไป ใช้ซอฟตแ์ วร์เถื่อนแล้ว กเ็ หมือนเป็นปลา ท่รี อวัน ให้เขามาจับไปขายกเ็ ทา่ น้ัน หากติดตามและสังเกตุข่าวสาร จะพบว่า โรงเรียนหรือสถานบันการศึกษา จะไม่มีข่าวถูกตรวจจับ ละเมิดลิขสิทธ์ิ เพราะน่ีคือแหล่งเพาะพันธ์ุปลาดีๆนี่เอง มีปลาเล็กปลาน้อย รอวันเติบโตเป็นปลาใหญ่ เต็มไปหมด แต่กลุ่มที่ถูกตรวจจับละเมิดลิขสิทธ์ิมากท่ีสุด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม บริษทั ห้างร้านขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มที ุนจดทะเบียนเปน็ สิบเปน็ ร้อยล้านบาท นเี่ ป็นปลาท่ีโตเต็มท่ี พร้อมแล้วทจ่ี ะจบั ไปขาย โดนจับแตล่ ะคร้งั วา่ กันหลักล้าน หลกั สบิ ล้านข้ึนไป ร้จู ักกับ BSA บริษัทเจ้าของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ได้รวมตัวจัดต้ังหน่วยงานหนึ่ง ก็คือ BSA (The Software Alliance) หรือ พันธมิตรซอฟต์แวร์ (ชื่อน้ีเป็นช่ือใหม่ ช่ือเดิมก็คือ Bussiness Software Alliance หรือ พันธมิตร ธุรกิจซอฟต์แวร์) เพ่ือเป็นตัวแทนในการตรวจจับการละเมิดลิขสิทธิ์ ซอฟต์แวร์ของสมาชิก สมาชิกของ BSA มีหลายบริษัท เช่น Adobe, Apple, Autodesk, AVG, Corel, Kaspersky, McAfee, Microsoft, Thai Software, Symantec เป็นตน้ ลว้ นแตม่ ีชื่อเสียงโดง่ ดงั ทงั้ น้นั สมาชิกของ BSA มีหลายบริษัท นั่นหมายถึง BSA มีสิทธ์ิตรวจ จับซอฟต์แวร์หลายๆตัวด้วยกัน เฉพาะของ Microsoft บริษัท เดียว ก็ใช้กันทั้งสาำ นกั งานแลว้ BSA อธิบายพันธกิจของเขาไว้สวยหรูทีเดียว เช่น ส่งเสริมการใช้ ซอฟต์แวร์อย่างถูกกฎหมาย ซ่ึงก็น่าสนับสนุนเป็นอย่างย่ิง แต่งาน อย่างหนึ่งท่ีเขาทำาด้วย ก็คือ ตรวจจับการละเมิดลิขสิทธ์ิ ซ่ึงแน่นอนว่า ผใู้ ชซ้ อฟตแ์ วร์ละเมิดลิขสิทธิ์ท้ังหลาย ไม่ชอบแน่ๆ
16 ซอฟต์แวร์ฟรี ดๆี กม็ ใี นโลก หน้าเวบ็ ของ BSA (www.bsa.org) BSA จะรวบรวมข้อมูลจากผู้ท่ีแจ้งเบาะแสเข้าไป เขามีเบอร์ฮอตไลน์รับแจ้งโดยเฉพาะ หรือจะแจ้งผ่าน เว็บไซต์ก็ได้ มีรางวัลให้ด้วย สูงสุดถึง 250,000 บาทเลยทีเดียว มีบางชว่ งที่ให้ถึง 500,000 บาทเลยที เดียว(แต่ให้เงินเม่ือไร ไม่ทราบ) รางวัลช่างล่อตาล่อใจเหลือเกิน หลายคนทำางานท้ังปียังไม่ได้ขนาดนั้น เลย มีโฆษณาของ BSA ตัวหน่ึง หากใครท่ีเป็นเจ้าของหรือเป็นกรรมการบริษัทได้ดูแล้ว ต้องหนาวๆร้อนๆ กนั เลยทเี ดยี ว ครา่ วๆก็คือ เจ้านายบังคบั ให้พนักงานติดต้ังซอฟตแ์ วร์เถื่อน พนกั งานไมท่ ำาตามก็เลยโดน ไล่ออก จากน้นั ก็มีมือที่ 3 ยืน่ โทรศัพท์ให้ เพ่ือให้โทรไปแจ้งท่ี BSA ภาพจากคลปิ วิดีโอของ BSA (www.bsa.org) พนกั งานในองคก์ รของทา่ นอาจรอ้ นเงิน หรืออาจไม่พอใจผบู้ รหิ าร จงึ ส่งขอ้ มูลไปให้ BSA กไ็ ด้ หลกั ฐาน และคำาพดู จากปากพยานท่ีมาจากคนในองค์กรย่อมนา่ เชื่อถือ และเขาก็สามารถเกบ็ หลกั ฐานได้โดยท่ีผู้ บริหารไมร่ ้ตู วั จากการสอบถามบรษิ ทั ที่ถกู ตรวจจบั การละเมิดลขิ สทิ ธิ์ เม่ือถกู ยื่นหมายศาลเพื่อขอเขา้ ตรวจ เจ้าหนา้ ท่ที ่เี ข้าตรวจมากบั แผนผังทแ่ี สดงวา่ เครอื่ งคอมพิวเตอร์อยตู่ รงไหนบ้าง มหี ลักฐานขนาดนี้ ถ้าคนในไม่แจง้ ไม่ช่วยส่งหลักฐานให้ มีรจึ ะได้หลักฐานขนาดน้ี
ลขิ สทิ ธซ์ิ อฟตแ์ วร์ ไมส่ นใจ ไม่ได้แลว้ 17 เม่ือ BSA เข้าตรวจค้น แม้คุณจะถอนโปรแกรมออกจากเครื่องไปแล้ว(Uninstall) เขาก็มีวิธีตรวจสอบว่า เคยลงไว้หรือไม่ มีวิธีเดียวที่จะไม่พบ ก็คือต้อง Format Harddisk หากตรวจพบการละเมิด เขาอาจจะ ยกเครื่องคอมพิวเตอร์ไป เพ่ือใช้เป็นหลักฐาน งานต่างๆของคุณก็ต้องหยุดชะงัก เขาตรวจเจอแค่ไหนก็ ยกไปเท่านั้น การตรวจจับครั้งน้ี แน่นอนว่าผู้บริหาร กรรมการองค์กรทุกท่านต้องรับผิดชอบ จะบอก ไม่รู้ไม่เห็นไม่ได้ จากน้ัน ก็ต้องไปเจรจาต่อรองกับ BSA ต่อไป จะจ่ายค่าปรับ จะยินยอมซื้อของถูก ลิขสิทธ์ิ หรือจะยอมโดนฟ้องร้อง ก็เลือกเอาเอง แต่ไม่ว่าจะกรณีใดก็เตรียมเงินไว้เยอะๆก็แล้วกัน จากขา่ วสารท่ีได้มา เมื่อ BSA เข้าตรวจค้น กวา่ 90% ไม่พลาด เม่ือท่านโดนเข้าตรวจค้น BSA ก็จะประเมินความเสียหายว่าซอฟต์แวร์ถูกละเมิดไปเป็นจาำ นวน เท่าไร เม่ือสรุปตัวเลขได้แล้ว ความเสียหายท่ีท่านต้องชดใช้ต้องคูณ 2 เข้าไป เพราะต้องชดเชย ที่ใชม้ าแล้วด้วย นอกจากน้ีก็ตอ้ งลงประกาศหนังสือพิมพ์เพอื่ ขอโทษต่อการใช้ซอฟตแ์ วร์ละเมิด ลขิ สทิ ธ์ิด้วย โหดมัย๊ ละนั่น.... แต่ผ้เู ขียนว่า กส็ มนา้ำ สมเน้ือดี ผู้เขียนเช่ือว่าหลายๆบริษัท เคยได้รับจดหมาย จาก BSA และก็ได้รับหลายฉบับด้วย เพราะถึงแม้ ไม่มีใครโทรไปท่ี BSA เขากม็ ีขอ้ มูลคร่าวๆ ว่าองค์กร ของท่านใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธ์ิหรือไม่ โดย ปกติหากท่านใช้ซอฟต์แวร์แท้ ผู้ใช้จะต้องทำาการ Activate ซอฟต์แวร์ ก็คือ การโทรไปแจ้งหรือลง ทะเบยี นทางอนิ เตอร์เน็ต แลว้ ลองคิดดูว่า ถ้าองค์กร ของท่านไม่เคย Activate ซอฟต์แวร์เลย หรือ Activate ไปนอ้ ยมาก เขาจะไม่สงสัยอะไรเลยหรือ? โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ โลกปัจจุบันทท่ี ุกอย่างออนไลน์ มันย่ิงไม่ยากเลยท่ีจะสืบทราบว่าท่านใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธ์ิหรือเปล่า หลังจากที่ท่านติดตั้ง โปรแกรมเสร็จ ใครจะรวู้ ่า ซอฟตแ์ วร์ได้ถูกออกแบบมาให้ส่งข้อมูลกลับไปที่บริษัทเจ้าของซอฟต์แวร์ตัว นน้ั หรอื เปล่า? BSA ทราบดีว่า ประเทศไทยมีอัตราการละเมิดลิขสิทธิ์สูง เขามีตัวเลข เพียงแต่คนจับมีน้อยกว่าคน ละเมิดลิขสิทธ์ิ และการตรวจจบั กม็ ีข้ันตอน ดังน้ัน กต็ ้องว่ากันไปทีละคิว ไม่ต้องห่วง เขามีรายชื่อผู้ต้อง สงสัยไว้แล้ว รอแต่จะถึงคิวเม่ือไรเท่าน้ันเอง เขาไม่ยอมให้ใช้ของเขาฟรีๆไปตลอดแน่นอน นอกจากน้ี องคก์ รธรุ กิจอ่ืนๆทที่ ำาถกู ต้อง ก็ไมย่ อมถกู เอาเปรียบเช่นเดียวกัน
18 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดๆี กม็ ใี นโลก ใจจริงแล้ว ผู้เขียนสนับสนุนงานของ BSA เพราะปรารถนาจะให้ทุกคนใช้ซอฟต์แวร์อย่างถูกลิขสิทธ์ิ มนั เปน็ สง่ิ ท่ีถกู ต้อง แต่ทั้งนี้ผู้เขียนกส็ นบั สนุนซอฟตแ์ วร์โอเพ่นซอร์สด้วย การใช้ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส จะทำาให้เราเป็นอิสระอย่างแท้จริง เพราะสมาชิก BSA โดยส่วนใหญ่ ต้ังราคาซอฟต์แวร์ไว้สูงเกินไป ฐานะอย่างเราๆ จะเอาเงินท่ีไหนไปซ้ือ สิ่งจำาเป็นสาำ หรับชีวิตประจาำ วันยังลำาบากเลย ย่ิงไปกว่านั้น อีก 3 ปี 5 ปี ข้างหนา้ ก็ต้องเสียเงินซ้ือซอฟต์แวร์ตัวเก่าแต่เวอรช์ ั่นใหม่อีก เพราะบริษัทเจ้าของลิขสิทธิ์ ซอฟตแ์ วร์ทั้งหลายตั้งใจให้เปน็ อยา่ งนน้ั อยู่แล้ว รจู้ ักกับ UCA UCA ช่ือคล้ายๆ BSA “น่ีเป็นชื่อองค์กรตรวจจับการละเมิดลิขสิทธ์ิอะไรอีกหรือเปล่า?” แค่ BSA ราย เดียวก็แย่แลว้ UCA ไม่ใช่องค์กร แต่เป็นกฎหมาย UCA น่าพรั่นพรึงกว่า BSA เสียอีก โดยเฉพาะกับบริษัทผู้ส่งออก สินคา้ ไปสหรฐั อเมรกิ าท้ังหลาย กฎหมาย UCA (Unfair Competition Act) หรือ กฎหมายป้องกันการแข่งขันท่ีไม่เป็นธรรม เป็น กฎหมายของสหรฐั อเมริกา ซึง่ ถือกาำ เนิดเม่ือไม่นานมานี้ อย่างที่เราทราบๆกันดี ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศผู้พัฒนาซอฟต์แวร์หมายเลข 1 ของโลก ซอฟตแ์ วรท์ ีเ่ ราใช้สว่ นใหญ่มาจากประเทศนี้ เม่อื มีการละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟตแ์ วร์มากๆ สหรฐั อเมริกาจึง เป็นประเทศผู้เสียหายหมายเลข 1 ของโลกด้วย ดว้ ยกฎหมายของแตล่ ะประเทศเพียงอย่างเดยี ว สหรฐั อเมรกิ าไม่อาจม่ันใจได้วา่ ลิขสิทธิ์ทางปัญญาของ ตนเองถูกคุ้มครองอย่างจริงจัง ไม่เช่นนั้นอัตราการละเมิดลิขสิทธ์ิคงไม่สูงมากมายขนาดนี้ แน่นอนว่า แต่ละประเทศย่อมปกป้องผลประโยชน์ของตนเอง “ในเม่ือเธอ ไม่คุ้มครองของของฉัน ฉันก็ต้องลงมือ เอง” ฉะนั้น สหรัฐอเมริกาจึงได้ออกกฎหมาย UCA ออกมา แน่นอนว่ากฎหมายของสหรัฐอเมริกา นาำ มาบังคับใช้เหนืออธิปไตยของต่างประเทศไม่ได้ แต่บังคับใช้ในประเทศของตนเองได้ ฉะนั้น กฎหมายน้ี จึงพุ่งเป้าไปที่บริษัทส่งออกทั้งหลาย ที่ส่งสินค้าไปขายยังประเทศสหรัฐอเมริกา และยังมีผลพวงต่อไป ยงั บริษทั ที่ทำาการค้ากบั บรษิ ทั ส่งออกท้ังหลายด้วย กฎหมาย UCA น้ี เปน็ ที่น่าพร่ันพรึง ตอ่ บรษิ ัทสง่ ออกท้งั หลายที่ใช้ซอฟตแ์ วรล์ ะเมดิ ลขิ สิทธ์ิ ด้วยกฎหมายไทย การจะเข้าไปตรวจสอบการใช้ซอฟต์แวร์ในบริษัทต่างๆ ใช่ว่าอยากจะเข้าไปก็เข้าไป ได้ มันมีกระบวนการทางกฎหมาย ต้องขอหมายศาล ซ่ึงต้องมีเจ้าทุกข์ มหี ลักฐาน ศาลจึงจะออกหมาย ให้ได้ มันเปน็ ความสมดุลท่รี ะบบจะต้องคุ้มครองทงั้ ผู้กล่าวหาและผู้ที่ถูกกล่าวหา ด้วยระบบดังกล่าว มันก็ไม่ง่ายท่ีจะเข้าไปตรวจสอบบริษัทต่างๆ แต่กฎหมาย UCA ไม่ใช่อย่างนั้น ไม่จาำ เป็นที่จะตอ้ งมีใครเข้าไป ไม่จาำ เป็นที่จะต้องมีใครแจ้ง แต่ผูท้ ่ีถูกกลา่ วหาดว้ ยกฎหมายน้ี จะต้อง ชแี้ จงการใช้ซอฟตแ์ วร์ภายในองคก์ รด้วยตัวเอง
ลิขสทิ ธซ์ิ อฟตแ์ วร์ ไม่สนใจ ไม่ไดแ้ ล้ว 19 หากบรษิ ทั เจ้าของลิขสทิ ธ์ิซอฟต์แวร์ มีขอ้ สงสยั วา่ บรษิ ทั ของท่านกำาลงั ละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ของเขา ซึ่งสามารถสืบทราบได้ไม่ยาก โดยเฉพาะโลกปัจจุบันที่ทุกอย่างออนไลน์ เขาสามารถดำาเนินการด้วย กฎหมาย UCA ได้ทปี่ ระเทศสหรัฐอเมริกา ยนื่ ฟ้องศาลที่นั่น แต่แทนท่ีเขาจะขอเข้าตรวจ เปล่าเลย! เขา เพียงสง่ จดหมายแจง้ มาทที่ า่ น(ผา่ นทางอัยการหรือทนายความกว็ ่ากนั ไป...) เนื้อความประมาณวา่ “ขณะนี้ บริษัทของท่านต้องสงสยั วา่ กำาลังใช้ซอฟตแ์ วร์ของเราอยา่ งไม่ถกู ต้อง ขอใหท้ า่ นส่งข้อมูลมายงั เราเพ่ือช้ีแจ้งข้อเท็จจริงว่า บริษัทของท่านได้จัดซ้ือซอฟต์แวร์อย่างถูกต้อง ภายในระยะเวลาที่กาำ หนด หากเลยกาำ หนดนี้ไปแล้วทา่ นยังไม่ส่งข้อมลู เราจะดาำ เนินคดตี ามกฎหมาย” เมื่อบริษัทของท่านได้รับจดหมายดังกล่าว ท่านจาำ เป็นต้องส่งข้อมูลไปให้เขา มิเช่นนั้นท่านจะถูกดาำ เนิน คดีฝ่ายเดียว ซ่ึงผลของมันเลวร้ายมาก โดยเฉพาะเม่ือท่านเป็นบริษัทส่งออกท่ีใช้ซอฟต์แวร์ละเมิด ลิขสิทธ์ิ สินค้าของท่านมีสิทธ์ิถูกส่ังให้นาำ ออกจากช้ันวางหรือถูกยึด และท่านก็จะถูกระงับการนาำ เข้า จากประเทศสหรฐั อเมรกิ าด้วย ท่ีเลวร้ายกว่าน้ัน มันมีผลพวงเป็นห่วงโซ่ไปยัง ผู้สั่งซ้ือสินค้าของท่านท่ีอยู่ในสหรัฐอเมริกาด้วย เพราะ เขาจะถกู ดาำ เนนิ คดีด้วย หากยงั ส่ังสินคา้ จากทา่ น
20 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดๆี กม็ ีในโลก หรือถ้าท่านเองทาำ อย่างถูกต้อง แต่ไปส่ังสินค้าจากบริษัทที่ใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธ์ิ ท่านเองก็จะถูก ฟอ้ งรอ้ งด้วย สรปุ งา่ ยๆกค็ ือ ใครที่ยงุ่ เกี่ยวกับบรษิ ัทที่ใช้ซอฟตแ์ วรล์ ะเมดิ ลิขสทิ ธิ์ ซวยยกแก้ง นอกจากน้ีคู่แข่งทางการค้าของท่าน ก็มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหาย จากความเสียเปรียบในการทำาธุรกิจ ด้วย เพราะสาเหตุหน่ึงที่ท่านต้นทุนต่ำา ซ่ึงอาจจะตำ่ากว่าคูแ่ ข่ง ก็เพราะใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธ์ิท่ีหา มาได้ฟรีๆ โหดดแี ทก้ ฎหมายน้ี... กฎหมายน้ีดีมากต่อผู้ที่ทาำ อย่างถูกต้อง แต่น่ากลัวมากต่อผู้ท่ีใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธ์ิ ถ้าถูกดาำ เนิน คดีด้วยกฎหมาย UCA ท่านสามารถต่อสู้คดีได้ แต่สุดท้าย ก็ต้องนำาข้อมูลการใช้งานซอฟต์แวร์ใน องค์กรไปช้ีแจงอยู่ดี ถ้ารู้แก่ตัวว่าผิดจริง แนะนำาให้ยอมความจะดีกว่า จ่ายค่าเสียหายและซ้ือ ซอฟต์แวร์ของเขามาใชจ้ ะดีกว่า ส่วนเร่ืองการโดนฟ้องรอ้ งจากคแู่ ขง่ กแ็ ล้วโชคกแ็ ล้วกัน เม่ือปลายปี 2555 มีข่าวทางโทรทัศน์ ว่ามีโรงงานแห่งหนึ่งถูกดาำ เนินคดีด้วยกฎหมาย UCA เป็นราย แรกในประเทศไทยและรายแรกในโลกด้วย ซึ่งจากน้ันหน่วยงานต่างๆ ก็ออกมาให้ความรู้ในเรื่องนี้กัน มาก
ลิขสิทธ์ซิ อฟตแ์ วร์ ไมส่ นใจ ไม่ไดแ้ ล้ว 21 กฎหมาย UCA นนั้ ยงั ใหม่ คนไทยยังไม่ค่อยรู้จกั รอให้กฎหมายนีอ้ าระวาดอกี สักพัก รบั รองได้ตาตืน่ กัน ระนาว ณ ตอนน้ี มีเพียงไม่ก่ีรัฐในประเทศสหรัฐทีม่ ีกฎหมาย UCA (เท่าที่ทราบคือ 3 รฐั ) แตค่ าดว่าทั้งประเทศ สหรัฐอเมริกาจะนำากฎหมายนี้มาใช้ รวมไปถึงทางฝากประเทศในกลุ่ม EU ด้วย เพราะทั้งประเทศ สหรัฐอเมริกาและประเทศในกลุ่ม EU เศรษฐกิจไม่ค่อยจะดีนัก บางประเทศเรียกว่าเลวร้ายเลยก็ว่าได้ แต่ประเทศเหลา่ น้ัน กย็ ังมีอตั ราการละเมิดลิขสิทธทิ์ ่ตี ำ่ากวา่ คา่ เฉล่ยี ของทั้งโลก และก็ต่าำ กว่าบ้านเรา ทางออก ด้วยแรงกดดนั จาก... 1. กฏหมายไทย ซึ่ง BSA ใช้กฎหมายน้เี พ่ือดำาเนินคดีกับองคก์ รที่ ใช้ซอฟต์แวรล์ ะเมิดสิทธิ์ 2. กฏหมาย UCA กฏหมายทน่ี ่าพรน่ั พรงึ สาำ หรบั บรษิ ัทส่งออก ซง่ึ มผี ลกระทบตอ่ ไปยังบรษิ ทั ท่ีส่งั ซื้อสินคา้ จากองคก์ รที่ใช้ ซอฟตแ์ วร์ละเมิดสิทธ์ิด้วย 3. การบริหารองคก์ รทีต่ ้องการความโปร่งใส ถ้าทา่ นเปน็ ผู้ บรหิ ารองคก์ ร ความรบั ผิดชอบใดๆ ตอ่ การใชซ้ อฟตแ์ วร์ละเมิด ลิขสิทธิจ์ ะตกอยูท่ ท่ี ่าน โดยเฉพาะองคก์ รขนาดใหญ่ทั้งหลาย ด้วยแรงกดดันในขา้ งต้น ทาำ ให้เราไม่สามารถนิ่งเฉยตอ่ ประเด็นด้านลิขสทิ ธิ์ซอฟต์แวร์ได้อีกต่อ ไป เราจะใช้ชีวิตแบบชิวๆ ไม่ได้อีกแล้ว โดยเฉพาะเมื่อโลกยิ่งเปิดกว้าง ประชาคมอาเซียนกาำ ลังจะมา การแขง่ ขนั จะรุนแรงยิ่งขึ้น ผู้ทที่ ำาถกู ต้องคงไมย่ อมถกู เอาเปรียบได้ง่ายๆ โดยเฉพาะกบั ประเทศท่มี อี ตั รา การละเมิดลิขสิทธิต์ ำ่าๆ อยา่ งสิงคโปร์ (33%) เม่ือครั้งยังเด็ก ยังเป็นนกั เรียนนักศึกษา เราไม่เคยได้สัมผัส ไม่เคยรู้สึกต่อแรงกดดันดังกล่าว เปรียบได้ กับเด็ก ที่ยังแบมือขอเงินพ่อแม่ จึงไม่รู้สึกว่าการหาเงินน้ันลำาบาก จึงใช้ชีวิตอย่างชิวๆ แต่เม่ือเติบใหญ่ แรงกดดันต่างๆในข้างต้น จะค่อยๆถาโถมเข้ามา ยิ่งเติบใหญ่แรงกดดันก็ย่ิงมาก ฉะน้ันการบริหาร จัดการซอฟต์แวร์ในองค์กรจึงเป็นสิ่งจำาเป็น เป็นความรับผิดชอบ เป็นพันธะทางกฎหมาย เป็น ส่ิงที่ทุกองค์กรต้องทำา เป็นสถานการณ์ท่ีบังคับให้ต้องทำา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในปัจจุบัน ท่ี คอมพิวเตอรก์ ลายเป็นสง่ิ จำาเปน็ ตอ่ การดำาเนินธุรกิจไปแลว้ อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะบริหารจัดการซอฟต์แวร์อย่างไร มีอยู่ 3 ทางเลือก เพ่ือที่จะรอดจากการตรวจจับ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแ์ วร์
22 ซอฟต์แวร์ฟรี ดๆี กม็ ีในโลก ทางเลือกที่ 1 : ซอ้ื ซอฟต์แวร์แท้มาใช้ ซอฟต์แวร์แท้ แน่นอนว่าราคาไม่ถูก เฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำางานพื้นฐานเพียงอย่างเดียว ใช้แต่ โปรแกรมออฟฟิศ ราคาซอฟต์แวร์ต่อเครื่องยังปาเข้าไป 13,000 (โดยประมาณ - ระบบปฏิบัติการและ โปรแกรมออฟฟิศ) ลูกค้ารายหน่ึงของผู้เขียน ซ้ือเคร่ืองคอมพิวเตอร์มา 15,000 บาท ซ้ือซอฟต์แวร์มา อีกประมาณ 13,000 บาท เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในบริษัทมีก่ีเคร่ืองก็คูณเข้าไป สมมุติว่ามี 100 เคร่ืองก็ 13,000x100 = ล้านสาม เฉพาะคา่ ซอฟตแ์ วร์อย่างเดียว การลงทนุ ด้านซอฟต์แวร์ แทบไม่ตา่ งไปจากการลงทุนด้านอสังหารมิ ทรพั ย์เลยทีเดียว ถ้ามันจบที่การลงทุนครั้งเดียว ราคานั้นอาจจะพอรับได้ แต่น่ีมันไม่จบ ในอนาคตอีก 3 ปี 5 ปี ก็ต้อง ลงทนุ ใหม่อีกครั้ง เพราะซอฟตแ์ วร์มีการพัฒนาปรับรุ่นให้ใหม่อยู่เสมอ บางทา่ นอาจจะบอกว่า “ฉันจะ ไม่ปรับรุ่นตามเขา แม้เขาจะออกรุ่นใหม่มาก็ตาม” อย่างไรก็ดี ผู้เขียนเชื่อว่า อีก 5 ปี อีก 7 ปีข้างหน้า สายที่สุดก็ 7 ปี ก็ตอ้ งปรบั รุ่นตามอยดู่ ี เพราะบรษิ ทั เจา้ ของลิขสทิ ธิ์ซอฟต์แวรต์ ้ังใจจะใหเ้ ป็นอย่างนั้นอยู่ แลว้ เพราะซอฟต์แวรก์ ็มีเวลาหมดรับประกนั หมดการสนับสนุนเช่นกนั ทางเลอื กที่ 2 : ใชซ้ อฟต์แวร์ฟรีท่ถี ูกกฎหมาย ซอฟต์แวร์ฟรีท่ีถูกกฎหมาย อย่างเช่น ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส หากดั้งเดิมองค์กรไม่ได้ใช้ซอฟต์แวร์ โอเพ่นซอร์ส การจะเปล่ียนมาใช้โอเพ่นซอร์สนน้ั จะต้องมีกระบวนการย้ายระบบ ซึ่งพนกั งานในองค์กร อาจไม่เคยรู้จักซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สเลย เพราะไม่มีการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาเท่าใดนัก อยู่ๆจะเปล่ียนมาใช้เลย เพราะโดนกดดนั มากๆ รบั รองโอกาสล้มเหลวสูง และจะทำาให้มีทัศนคตทิ ีต่ ดิ ลบ ต่อโอเพน่ ซอร์สได้ ทง้ั ๆท่ีไม่ใชค่ วามผดิ ของโอเพน่ ซอร์สเลย ทาำ อะไรในส่ิงท่ีไม่เคยทาำ ไม่เคยได้เรียนรู้ เรามักจะกลัว การย้ายระบบจึงไม่ใช่เร่ืองง่าย มีท้ังผู้ที่ทาำ แล้ว สาำ เร็จและผู้ที่ทำาแล้วล้มเหลว ฉะนั้นจึงมีผู้ท่ีทำาอาชีพน้ีโดยเฉพาะ ก็คือ ให้บริการช่วยเหลือเพ่ือย้าย ระบบแบบครบวรจร ผูเ้ ขียนกท็ ำาอาชีพน้ีเช่นเดียวกัน เปน็ ท้ังวิทยากรอบรม และเปน็ ทป่ี รึกษาด้วย กระบวนการในการย้ายระบบมีประเด็นสำาคัญอยู่ 2 ประเด็น ก็คือ 1. ด้านเทคนิค 2.ด้านการบริหาร การเปลี่ยนแปลง ด้านเทคนิค เช่น การใช้งานซอฟต์แวร์, ด้านการแก้ไขปัญหาการใช้งาน, ด้านการ ฝึกอบรมพนักงาน เป็นต้น ด้านนี้ต้องยกหน้าที่ให้ผู้ท่ีมีประสบการณ์กับซอฟต์แวร์ตัวนั้นๆ แต่ประเด็น ด้านการบริหารการเปล่ียนแปลงน้นั ยากกวา่ อยู่ๆจะทำาให้พนักงานท่ีเคยชนิ และใช้ซอฟตแ์ วร์ตัวน้ันๆจน คล่อง เปลี่ยนไปใช้ซอฟต์แวร์อีกตัวท่ีไม่เคยรู้จัก แถมประสิทธิภาพด้อยกว่า แรงต่อต้านจึงเกิดขึ้นเป็น ธรรมดา(ที่ไหนไม่มีก็แปลกแล้วละ) ถ้าบริหารการเปล่ียนแปลงไม่ดี โอกาสล้มเหลวสูงมาก จาก ประสบการณ์ของผู้เขยี น ปจั จัยสาำ คัญที่จะทาำ ให้ประสบความสาำ เร็จอยู่ท่ีผู้นาำ ผนู้ ำาองค์กรท่ีเอาจริงเอา จงั ได้ชยั ชนะเสมอ
ลิขสทิ ธซ์ิ อฟต์แวร์ ไม่สนใจ ไม่ไดแ้ ลว้ 23 ทางเลือกท่ี 3 : ผสมระหว่าง 2 ทางเลือก เนื่องจากศักยภาพของซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส ไม่สามารถทดแทนซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ได้ทั้งหมด แต่ เราสามารถบริหารจัดการเพ่ือเลือกใช้ท้ังโอเพ่นซอร์สและซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์รวมกันได้ กี่ เปอร์เซน็ ต์ทสี่ ามารถใช้โอเพ่นซอร์ส? ก่ีเปอรเ์ ซน็ ต์ทต่ี ้องใชซ้ อฟต์แวรเ์ ชิงพาณชิ ย์? เป็นสิง่ ที่ต้องประเมิน ก่อนการย้ายระบบ ผู้เขียนเคยเจอตั้งแต่ประมาณ 50% ไปจนถึง 100% ขึ้นอยู่กับการใช้งาน ซึ่งแต่ละ องคก์ รไม่เหมือนกัน ปลอ่ ยไว้อยา่ งน้ีดหี รอื ไม่ จรงิ ๆแล้ว สิ่งท่ีเกิดข้ึนในวงจรการละเมิดลิขสิทธ์ิ เปน็ ผลดีตอ่ ผู้เขียน(ท่ีทาำ อาชีพ ณ ปัจจบุ ันนี้) และ เป็น ผลดีต่อบริษัทเจ้าของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ปล่อยไปอย่างน้ีเรื่อยๆ สถาบันการศึกษาอยากจะสอนอะไรก็ สอนไป ไมต่ ้องสนใจว่าจะหาซอฟตแ์ วรม์ าจากไหน จากนั้นก็รอใหน้ กั เรียนนักศกึ ษาจบออกมาหางานทาำ รอให้ปลาเลก็ เติบโตเปน็ ปลาใหญ่ ผ้ทู อ่ี ยูป่ ลายทางอยา่ งผ้เู ขยี นกับบรษิ ทั เจา้ ของลิขสทิ ธิ์ซอฟตแ์ วร์ ค่อย แบ่งเค้กกันระหว่าง 2 ทางเลือก แม้ผู้เขียนจะได้เค้กช้ินเล็กหน่อยก็ไม่ว่ากัน สักวันหนึ่ง... บริษัทต่างๆก็ ตอ้ งเลือกสักทาง และไมว่ ่าจะเลือกทางเลือกใด เราไดป้ ระโยชนท์ ้งั น้ัน แต่ทวา่ ปล่อยไวอ้ ย่างน้ีดจี ริงๆหรือ? ผลเสียมนั มีตอ่ ผทู้ ่ใี ชซ้ อฟต์แวร์ละเมิดลิขศิทธิ์เทา่ นั้นหรอื ? ในบทต่อไปจะไดต้ แี ผ่ ออกมาให้เหน็ วา่ ผลเสียจากปญั หาการละเมิดลขิ สิทธนิ์ นั้ มันเลวร้ายกวา่ นนั้ มาก
24 ซอฟต์แวร์ฟรี ดีๆ กม็ ใี นโลก
หว่านอะไร กเ็ ก็บเกีย่ วผลของส่งิ นน้ั 3 ในบทที่แล้ว ได้อธบิ ายถงึ สง่ิ คุกคามและผลกระทบ ท่จี ะเกิดตอ่ ผู้ทใ่ี ชซ้ อฟต์แวร์ละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ ซง่ึ ผลของ มันนั้นน่ากลัวมิใช่น้อย แต่ผลดังกล่าวเป็นแค่ยอดของภูเขานาำ้ แข็งเท่านั้น ผลทางอ้อมท่ีซ่อนอยู่ มันเลว รา้ ยและร้ายลึกยิ่งกวา่ นั้น การละเมิดลิขสิทธิ์ ดูเหมือนเป็นปัญหาเล็กน้อย ดูเหมือนไม่มีผู้เสียหาย เพราะเรามักคิดไปว่า บริษัท ซอฟตแ์ วร์เขาใหญโ่ ตร่าำ รวย นอกจากนี้ก็ไม่เหน็ มใี ครบาดเจบ็ ไม่เหน็ มีใครตาย แต่ถา้ พจิ ารณาทั้งระบบ แลว้ เป็นปญั หาใหญ่ต่อประเทศชาติไม่นอ้ ยเลย ปัญหาการละเมิดลิขสิทธ์ิรากมันฝังลึกมาก เรียกว่าฝังลง DNA แล้วก็ได้ มองเผินๆเหมือนเราได้ ประโยชน์ ได้ใช้ของฟรี ประหยัดเงิน แต่ถ้ามองในภาพรวม เราเสียเอกราชทางความคิดไปแล้ว ผู้เขียน เชื่อว่าหลายๆท่าน ต้งั แต่เกิดมาก็อยู่กับมนั เลย(รวมท้ังผู้เขียนด้วย) ถูกปลูกนิสัย ถูกบม่ เพาะ ถูกสอนให้ ใช้ของเถื่อนมาต้ังแต่เด็กโดยไม่รู้ตัว จนไม่มีจิตสำานึกว่าการใช้ของเถ่ือนนั้นผิดอีกแล้ว จากรุ่นสู่รุ่น จน ทุกอย่างกลายเป็นเร่ืองปกติ อย่างไรก็ดี ความจริงมันมีตัวตนของมันอยู่แล้ว เราคงไม่สามารถ เปล่ียนแปลงความจริงไดว้ า่ “การใชซ้ อฟต์แวร์ละเมิดลิขสทิ ธเิ์ ป็นส่ิงผดิ ” วงจรการละเมิดลิขสิทธ์ิที่เกิดข้ึนในประเทศ เป็นโครงสร้างทท่ี ำาให้ประเทศไม่มีความคิดใหม่ๆ ต้องรอให้ ต่างชาติคิดก่อนแล้วเราค่อยทำาตาม “ใครจะไปคิด ในเม่ือมีคนให้ มีคนทำาให้ใช้ ฟรีๆ (ทง้ั ๆที่เขาไม่ได้ให้ ใชฟ้ รี)” หรอื “ใครจะไปคดิ คดิ ไป ขายไปก็สขู้ องเถื่อนไม่ได้” เมื่อเราหว่านอะไรออกไป เราก็เก็บเกยี่ วผลของส่งิ น้ัน นี่เปน็ กฎธรรมชาติ เม่ือหว่านเมลด็ แตงกวา ก็ต้องเก็บเก่ียวผลแตงกวา ผลแตงกว่าจะดก จะใหญ่แค่ไหน ข้ึนอยู่กับว่าได้รับการดูแล ได้รับอาหารดี เพยี งไร ประเทศไทยได้หว่านเมล็ดพันธุ์ที่ช่ือว่า “เมล็ดละเมิดลิขสิทธิ์” มานานแล้ว เมล็ดละเมิดลิขสิทธ์ิ เมื่อ เตบิ โตเปน็ ตน้ ไม้ใหญ่ ก็ต้องออกดอกออกผล เมล็ดเพียงเมลด็ เดยี วจะกอ่ ร่างสรา้ งตวั จนกลายเปน็ ต้นไม้ ใหญ่ และตน้ ละเมิดลิขสิทธ์ิจะให้ผลอย่างมากมายเม่ือได้รับอาหารอย่างสม่ำาเสมอ ซึ่งเราก็ทราบๆดีกัน อยูแ่ ล้ววา่ ตน้ ละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิได้รบั อาหารทีด่ ีเพยี งไร
26 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดๆี กม็ ีในโลก ตอ่ ไปน้คี ือส่งิ ที่ประเทศไทยและคนไทยกำาลังเก็บเกี่ยวอยู่ หรือกาำ ลังจะเกบ็ เก่ียวเพ่ิมเติมใน อนาคต ผลของตน้ ละเมิดลขิ สทิ ธิ์ คุมกำาเนดิ ซอฟตแ์ วร์ไทย การละเมิดลิขสิทธ์ิ ไม่ได้ทำาร้ายเฉพาะตวั ท่าน บริษัทของท่าน และบริษัทเจ้าของลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์ของ ต่างชาติเท่าน้ัน แต่ยังทาำ ร้ายหรือทำาลายบริษัทซอฟต์แวร์ในประเทศด้วย ทาำ ร้ายคนในประเทศ เดยี วกันน่ีแหละ... การละเมิดลิขสิทธ์ิไม่มีสัญชาติ ไม่เคยสนว่าซอฟต์แวร์มาจากประเทศไหน ฉะนน้ั ประเทศใดทมี่ ีอัตรการ ละเมิดลิขสิทธสิ์ ูง ซอฟต์แวรท์ พี่ ัฒนาในประเทศกต็ ้องโดนละเมิดลิขสิทธิ์สงู ไปด้วย สู้กับบริษัทซอฟต์แวร์ต่างชาติก็หนักแล้ว ยังต้องมาสู้กับการละเมิดลิขสิทธิ์ในประเทศด้วย “ศึกนอกก็ หนักแลว้ เจอศึกในย่งิ หนักไปใหญ่” เมื่อบริษทั ซอฟตแ์ วร์ในประเทศเจอศึกหนักขนาดนั้น กต็ ้องหดตวั ลง กาำ ไรก็น้อยลง เลวร้ายนั้นก็ต้องปิด ตวั ลงไป การจ้างงานก็น้อยตามไปด้วย คนทาำ งานด้านนี้ก็ไม่อยากทาำ นักเรียนนักศึกษาท่ีกาำ ลังจะจบมา กต็ กงาน ประเทศตอ้ งจ่ายเงินซ้ือซอฟตแ์ วรม์ หาศาล เม่ือบริษัทซอฟต์แวร์ในประเทศสู้กบั การละเมิดลิขสิทธิ์ไม่ได้ ซอฟต์แวร์สายพันธ์ไทยจึงถูกคุมกาำ เนิดไป โดยปริยาย บ้างก็ผนั ตวั เองไปนาำ เข้าซอฟต์แวรจ์ ากต่างประเทศมาขาย เพราะซอฟต์แวรต์ ่างประเทศเขา แข็งจึงเอาตัวรอดได้ ประเทศของเขามีการละเมิดลิขสิทธ์ิต่ำา ฉะน้ันก็ต้องไปเรียนรู้ผลิตภัณฑ์ของเขา เพ่อื สนับสนนุ งานขายใหก้ ับเขา ขายใหก้ ับองค์กรใหญ่ๆ ในประเทศ เพราะองคก์ รใหญ่ๆต้องทาำ อยา่ งถูก ต้องโปรง่ ใส จากข้อมูลภาพรวมการใช้ซอฟต์แวร์ในประเทศไทย ปีหน่ึงๆ ประเทศต้องจ่ายเงินซ้ือซอฟต์แวร์ เป็นเงิน จำานวนมาก โดย 70-80% ของการใช้ซอฟต์แวร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ต้องนำาเข้าจากต่างประเทศ มีเพียง 20-30% เท่านั้น ที่เป็นซอฟต์แวร์ท่ีพัฒนาโดยคนไทย สาเหตุก็เพราะว่าในบางกลุ่มของซอฟต์แวร์ คน ไทยยังไม่สามารถพัฒนามาทดแทนได้(ข้อมูลจาก www.sipa.or.th ) แน่นอน... ใครจะไปกล้าคิด คิด ไปกข็ ายสขู้ องเถ่ือนไม่ได้ ประเทศขาดรายไดจ้ ากภาษี ของเถื่อน ของละเมิดลิขสิทธ์ิ เป็นของผิดกฎหมาย เวลาซ้ือขายก็ต้องทาำ ในที่ลับ ฉะนั้นรัฐจึงไม่สามารถ เรยี กเกบ็ ภาษีจากใครได้
หว่านอะไร ก็เกบ็ เกีย่ วผลของสงิ่ น้ัน 27 ถูกกีดกันทางการค้า ประเทศไทยติดอยู่ในบัญชีประเทศท่ีถูกจับตามองพิเศษด้านการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ซ่ึงผู้ท่ีข้ึน บัญชีประเทศไทย กค็ ือ ประเทศที่เสียหายจากการละเมิดลขิ สิทธ์ิ เชน่ สหรัฐอเมรกิ า เมื่อถูกข้ึนบัญชีก็หมายความว่า เขาสามารถใช้ประเด็นน้ีมาอ้าง เพ่ือกีดกันหรือโต้ตอบทางการค้าได้ “ในเม่ือของของฉันมีให้ซื้อ ประเทศของท่านไม่ยอมซื้อ ง้ันของของท่านก็อย่ามาขายในบ้านฉันเลย” เม่ือถูกกีดกันทางการค้า สินค้าจากประเทศไทยจะถูกควบคุมเป็นพิเศษ ส่งผลกระทบไปยังสินค้าอื่นๆ เช่น สนิ คา้ การเกษตร, เสื้อผ้า, และ จุดจุดจดุ ซ่ึงไม่รู้อิโหนอ่ ิเหน่ แตก่ ็พลอยติดรา่ งแห่ไปด้วย แต่ก็เลี่ยง ไม่ได้ ปฏิเสธไมไ่ ด้ว่าไมร่ ้ไู ม่เห็น เพราะสินค้าของท่านมาจากประเทศไทย ทาำ ลายความฝัน สมัยผู้เขียนเป็นนักเรียน ไม่มีคอมพิวเตอร์ให้ใช้ ได้ใช้คร้ังแรกก็เม่ือตอนเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยปี 1 เม่ือได้คลุกอยู่กับคอมพิวเตอร์ ก็รู้เลยว่าใช่ “เราเกิดมาเพื่อส่ิงนี้” จากน้ันก็มีความฝันอยากเป็น โปรแกรมเมอร์ อยากทาำ เกมส์คอมพิวเตอร์ อยากทาำ นูน้ ทำาน่ี ซึ่งเพื่อนๆหรอื คนจาำ นวนมากในปจั จบุ ันกม็ ี ความฝนั คล้ายๆกัน แตค่ วามฝนั ย่งิ เปน็ ความจรงิ ไปได้ยาก เม่ือเจอกับการละเมิดลิขสิทธิ์ ในโลกความจริงเราต้องกินข้าว แต่ถ้าเปน็ โปรแกรมเมอร์ทาำ ซอฟต์แวร์หรือเกมส์ขาย แล้วมันขายสู้ของ เถ่ือนไม่ได้ เราจะเอาเงินที่ไหนกินขา้ ว หลายคนเลิกลม้ ความฝนั หลายคนต้องไปทำางานทีต่ ัวเองไม่ไดร้ กั หลายคนถงึ กบั เลิกอาชีพน้ีไป เพราะ “ฆาตกรท่ชี ื่อวา่ ละเมิดลิขสิทธ์ิ” กลายเป็นทาสทางความคิด ข้อนผ้ี ู้เขียนให้ 5 ดาว เพราะน่าเปน็ หว่ งทสี่ ุด เม่ือเราใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์จนติด เราจะสูญเสียเอกราชทางความคิด ส่ิงที่เป็นไทยๆจะค่อยๆ เลือนหายไป ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ กับ ส่ิงที่เป็นไทยๆ ดูเหมือนอยู่คนละฝาก ไม่เห็นจะเก่ียวกัน ไม่รู้จะมาบรรจบกัน ไดอ้ ยา่ งไร แต่ลองตรองดูให้ดี หากโครงสร้างของสังคมไทย เร่ิมต้ังแต่ระบบการศึกษา ไม่เปิดโอกาส ไม่ยอมให้ความคิดใหม่ๆได้เกิด เพราะถูก ข่มขู่หรือถูกฆาตกรรมด้วยฆาตกรที่ชื่อว่า “ละเมิดลิขสิทธ์ิ” ความคิดใหม่ๆก็ไม่เกิด แต่ใน สถานการณ์ปัจจุบนั ท่ี โลกเปิดเสรีมากข้ึน โดยเฉพาะด้านส่ือ ซ่ึงสามารถแลกเปลี่ยนข้ามโลกได้ภายใน ไม่ก่ีวินาที ซึ่งต่อไปก็อีกหลายอย่างที่จะมาพร้อม AEC วัฒนธรรมและความคิดจากประเทศอื่นๆก็จะ ไหลเขา้ มาทางช่องทางเหลา่ นั้น ใครๆก็ชอบสิ่งใหม่ๆ ชอบจนิ ตนากรใหม่ๆ เพราะสิ่งเหล่านัน้ ทาำ ใหเ้ ราตื่น เต้น มีความสุข ทำาให้โลกนี้ไม่น่าเบ่ือ แต่ถ้าส่ิงใหม่ๆจากความคิดของคนไทยถูกฆาตกรรมไปหมด ก็คงต้องรอรับจากประเทศอ่ืนๆ ท่ีเขาทะนุบำารุงความคิดใหม่ๆเป็นอย่างดี และสิ่งเหล่าน้ันจะ
28 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดีๆ กม็ ีในโลก ค่อยๆปลูกฝังเข้ามาในระบบความคิดของเรา สอนเราให้คล้อยตามวันแล้ววันเล่า ส่ิงท่ีเป็นไทยๆ ก็จะ ค่อยๆเลือนหายไป เราจะกลายเปน็ แต่ผซู้ ้ือ เป็นหน้ี ทาำ มากได้นอ้ ย เปน็ ผตู้ ามฝา่ ยเดียว ทัง้ หมดนี้จะเกิด ขึ้นอยา่ งแยบยล ถา้ เราสญู เสียเอกราชทางความคิด เพราะเราปล่อยให้ฆาตกรท่ชี ือ่ ว่า “ละเมิดลิขสทิ ธ์ิ” ลอยนวล ผลจากต้นละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นผลที่มีพิษ กินเข้าไปแล้วทาำ ลายสมอง เปน็ พิษทำาให้คนไทยไม่กล้า คิด ไม่กล้าทำาอะไร จนกลายเป็นว่าต้องรอให้ต่างชาติคิด แล้วรอทำาตามอย่างเดียว ต่างชาติคิด อะไรออกมา ดีหมด คนไทยคดิ อะไรออกมา “ใชไ้ ด้หรือเปลา่ เนย่ี ?” ตวั เลขอัตราการละเมิดลิขสิทธิท์ ่วั โลกท่ีผู้เขียนทราบมา มีประเด็นบางอย่างสะกิดใจให้ต้องคิด ประเทศ อเมริกาซึ่งเราทราบกันดีว่า เป็นผู้นำาด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์หมายเลข 1 ของโลก ท่ีนี่มีอัตราการ ละเมิดลิขสิทธิ์ 19% ตำ่าที่สุดในโลก ญี่ปุ่น 21% โซนยุโรปอยู่ที่ 25-50% ประเทศไทย 72% โซน แอฟรกิ าเกิน 75% ตัวเลขข้างต้น เกือบจะเรียกได้ว่าสัมพันธ์กับความเจริญของประเทศด้วย ประเทศใดท่ีตัวเลขการ ละเมิดลิขสิทธ์ิตำ่าๆ เกือบจะฟันธงได้เลยว่า เป็นผู้นำาด้านความคิดด้วย ฉะนั้นเขาจึง ทำาน้อยแต่ได้มาก หนั ไปทางไหนชาตอิ ืน่ ก็ต้องหันตาม ตวั เลขบง่ บอกลำาดบั ไล่ตามกันมาเลยทเี ดียว ประเทศใดทตี่ วั เลขการ ละเมิดลิขสิทธ์ิสูงๆ คลา้ ยกับว่าต้องรอให้ประเทศอน่ื คิดกอ่ น รอทำาตาม ทาำ มากแต่ได้น้อย เอกราชทางความคิดของเราจะค่อยๆถูกยึดครอง แม้แต่สิ่งดีๆที่บรรพบุรุษค้นพบ เช่น สมุนไพร ไทย, เกษตรกรรมวิถี, วิถีชีวติ แบบไทยๆ ก็จะค่อยๆเลือนหาย เพราะเราจะคอ่ ยๆอยากเป็นเหมือนคนอื่น เหน็ วา่ ของของคนอ่ืนดีกวา่ เรา เหน็ วา่ ของของเราล้าหลัง เกษตรบ้านเราก็กลายเป็นเกษตรเคมีเหมือนต่างประเทศ ยาบ้านเราก็กลายเป็นยาเคมีเหมือนต่าง ประเทศ อะไรอีกละ...ท่ีจะกลายเป็นเหมือนต่างชาติ? แล้วส่ิงทเ่ี ป็นนัน้ มันเหมาะกับคนไทยหรอื เปล่า? อยา่ งนีเ้ รียกว่าเสียเอกราชทางความคิดได้ไหม? ลองตรองดูให้ดีเถอะวา่ เราจะเป็นเหมือนชาติ ที่เจรญิ แลว้ หรือ จะกลายเปน็ ทาสกันแน่ คณุ ยงั จะใหอ้ าหารต้นไมล้ ะเมิดลิขสิทธติ์ อ่ ไปไหม? ผลของต้นละเมิดลิขสิทธ์ิ เป็นพิษขนาดน้ี ท้ังต่อท่าน ต่อบริษัทของท่าน ต่อคนไทยด้วยกันเอง และต่อ ประเทศชาติ ท่านยังจะให้อาหารต้นละเมิดลิขสิทธ์ิอยู่ไหม? ยังจะใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์ ยังจะซื้อ แผน่ กอ็ ป ชอ็ ปของเถ่ือนอยไู่ หม? ถ้าต้องการเปลี่ยนมาใช้ซอฟต์แวร์อย่างถูกกฎหมาย แต่ไม่รู้จะเริ่มอย่างไร ผู้เขียนได้เล่าประสบการณ์ ของตนเองไว้แล้ว เพอื่ เปน็ แรงใจให้กบั ทา่ นทต่ี ้องการเร่ืมตน้ ใหม่ อยา่ งน้อยท่ีสดุ กเ็ พ่ือตวั ท่านเอง
ถกู ปลกู ฝังมาแบบน้ี 4 คอมพิวเตอรเ์ ครือ่ งแรกมากับความไม่รู้ คอมพวิ เตอรเ์ ครื่องแรกในชวี ติ ผ้เู ขียนยงั จำาได้ดี ผูเ้ ขียนรกั มนั มาก ก็คือ 486DX4 100 MHz Ram 4MB จอ 14 นิ้ว ฮาร์ดดิสก์น่าจะ 120MB และใช้ดิสก์เก็ตต์ขนาด 3.5 น้วิ ความจุ 1.44MB ซีดีรอมยงั ไม่มีใช้ ราคาเครื่องน้ี 30,000 บาท สมัยน้ันยังใช้ DOS เป็น OS(ระบบปฏิบัติการ) หน้าจอดาำ ๆ เวลาใช้งานต้องพิมพ์คำาส่ัง โปรแกรมพิมพ์ เอกสารทใี่ ช้ ก็คอื เวริ ด์ จฬุ า หรือ เวริ ด์ ราชวถิ ี ภาพ : หนา้ จอเวริ ด์ ราชวิถี ภาพ : หนา้ จอ DOS ต่อมาไม่นานนัก ก็ได้รู้จักกบั Windows และรูจ้ ักกบั เม้าส์ เป็นครัง้ แรก(ไฮเทคสุดๆ) Windows ตัวแรกที่ ผู้เขียนใช้ ก็คือ Windows 3.11 ซ่ึงยังเป็น Windows ทใ่ี ช้งานผ่าน DOS อยู่ ก็คือ ต้องพิมพ์ “WIN” ทห่ี น้า จอ DOS จงึ จะเรียก Windows มาใช้งาน นนั่ ประมาณปี 2538
30 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดๆี กม็ ีในโลก เมอ่ื ใชค้ อมพิวเตอร์เป็นครง้ั แรก ไม่เคยทราบมาก่อนวา่ โปรแกรมท่ีติดมากบั เคร่อื งตอ้ งซ้ือดว้ ย คิดว่ามัน แถมมากับเครื่องเสียอีก ไม่เคยรู้ ไม่เคยทราบมาก่อน ซื้อคอมพิวเตอร์มาก็มีแบบน้ีมาให้แล้ว ไม่ได้ แกลง้ โง่ตาใส แตส่ มยั นน้ั ไม่รจู้ รงิ ๆ แตต่ อ่ มาก็เก่งข้ึน เพราะร้วู ่า หากจะไปหาโปรแกรมใหม่ๆมาใช้ ในราคาถูกๆ จะไปหาได้ท่ไี หน (ซึง่ ทา่ นก็ รวู้ ่าท่ีไหน...) สมัยนยี้ ่งิ หาง่ายไปใหญ่ เรียนมาแบบน้ี ถกู สอนมาแบบนี้ เมื่อย้อนดูสมัยเรยี น ผู้เขียนได้เรยี นแต่โปรแกรมทมี่ ีลิขสิทธ์ิเป็นส่วนใหญ่ เมื่อแรกเร่ิมเรียนคอมพิวเตอร์ เป็นช่วงที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ใหม่ๆ ผู้เขียนเริ่มท่ี DOS ก่อน สมัยนั้น DOS บรรจุใส่แผ่นดิสก์เก็ตต์ ขนาด 1.44 MB สมัยนี้คงหาไม่ได้แล้ว อยากได้ DOS ก่ี แผ่นก็ก๊อปเอา โปรแกรมพิมพ์งาน เวิร์ดราชวิถี เวิร์ด จุฬา ก็เช่นกัน อยากได้เท่าไรก็ก๊อปเอา คาำ สั่งก๊อปปี้น่ี เรียกได้ว่าหลบั ตายังพมิ พ์ได้เลย จรดมอื ลงบนคีย์บอร์ด ใช้เวลา 0.2 วินาทีก็เรียบร้อย ทุกวันนี้ยังไม่รู้เลยว่า โปรแกรมเหลา่ น้นั ฟรหี รือไม่ฟรี แผนดสิ ก์เกต็ ต์ เม่ือเข้ามหาวทิ ยาลัย ต่อมาก็ได้เรียน โปรแกรมภาษา C สาำ หรับการเขียนโปรแกรม เรียน AutoCAD สำาหรับ เขียนแบบ เรียน 3D Studio สาำ หรับงานออกแบบ ที่ห้องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย ก็มีเวิร์ดราชวิถี มีเวิร์ดจุฬาให้ แต่ไม่เห็นมีใครใช้ ใช้แต่ MS Office กันทั้งนั้น นอกจากน้ี ณ เวลานั้น ผู้เขียนสนใจงาน กราฟิกเปน็ พิเศษ จึงฝกึ ใช้ PhotoShop , CorelDraw และ Macromedia Authorware เพม่ิ เตมิ ดว้ ย ต่อมา ได้มาทราบในภายหลงั วา่ แต่ละโปรแกรมไม่ได้ใช้กนั ฟรีๆ ต้องซื้อ และราคาก็แสนแพงทั้งนนั้ เลย บางโปรแกรมซ้ือรถยนต์ได้เป็นคัน บางโปรแกรมก็ซื้อมอเตอร์ไซค์ได้เป็นคัน สมัยน้ันตัวเลือกมีไม่มาก นัก ทางมหาวิทยาลยั สอนอะไรให้ ก็ไดแ้ บบนั้นมา เมื่อเรียนจบและทาำ งาน ก็ยังคงอยู่ในสภาพแวดล้อม เดิมๆ โปรแกรมเดมิ ๆ ผเู้ ขยี นถูกปลกู ฝงั มาแบบนี้ เรียนมาแบบนี้ เมือ่ รวู้ า่ โปรแกรมต่างๆที่ ได้เรียนมาและใช้อยู่ “มนั ต้องซื้อมา ใช้นะ” ถงึ กับอ้ึงเลย นม่ี ันข่าวร้ายชัดๆ แต่ละตวั แพงๆทั้งน้ัน จะเอาเงินมากมายที่ไหนมาซื้อ เฉพาะตวั เครื่องคอมพิวเตอร์ เวลาจะซอื้ ยงั ต้องคิดแล้วคิดอีก ผูเ้ ขียนได้รวบรวมราคาซอฟต์แวร์ตา่ งๆ จากอินเตอร์เน็ตและจากหน้าร้าน มาให้ดูเป็นตวั อย่าง เพื่อดูว่า ซอฟต์แวร์ลิขสิทธ์ิ มีราคาเท่าไรกันบ้าง (ราคาโดยประมาณ เนื่องจากแต่ละร้านค้าจาำ หน่ายในราคาที่ แตกต่างกนั ฉะน้ันกรณุ าอยา่ นำาไปอา้ งอิง ใหต้ รวจสอบจากตวั แทนจำาหนา่ ยจะดีทีส่ ุด)
ถูกปลกู ฝงั มาแบบน้ี 31 ตาราง : ราคาซอฟต์แวร์ ราคา(บาท) 4,000 –8,000 ซอฟต์แวร์ MS Windows 8 3,400 (MS Windows 8 มหี ลายรุ่น มีหลายทางเลือก ราคาคอ่ นข้างแตกตา่ งกนั มาก) 8,700 MS Office Home & Student 2013 (ใช้งานท่ีบา้ นเท่านั้น) 15,000 MS Office Home & Bussiness 2013 (ไม่มี Access และ Publisher) 29,000 MS Office Professional 2013 24,600 Adobe PhotoShop CS6 17,000 Adobe Illustrator CS6 33,000 Corel Draw X4 165,000 Adobe Premiere Pro CS6 55,000 AutoCAD 160,000 AutoCAD LT (หากเข้าใจไมผ่ ิด เขียนแบบได้เฉพาะ 2D) 3D Studio Max ราคาซอฟตแ์ วร์บางตวั ทีจ่ าำ ได้ ถกู ลงกว่าเมื่อปี 2538 ทัง้ ๆทก่ี ผ็ ่านมาหลายปี อตั ราเงนิ เฟ้อกเ็ พ่มิ ขนึ้ ทุกปี ราคาดงั กล่าวเป็นราคาโดยประมาณต่อชุด หากต้องการใช้กบั คอมพวิ เตอร์ 5 เคร่ือง กต็ อ้ งซ้ือ 5 ชุด แต่ โดยปกติ เมื่อซ้ือหลายชดุ เขากจ็ ะลดให้อีก เป็นแผนการตลาดทวั่ ๆไป ด้วยราคาแสนแพงนี้เอง หากบริษทั ไม่หามาให้ มหาวิทยาลัยไม่มีให้ใช้ เราจะไปเอาเงินที่ไหนมาซื้อ เหตุ น้ีเอง ผู้เขียนจงึ ฝงั ใจมาตลอดวา่ จะตอ้ งทำาอะไรสกั อย่างกบั ส่ิงเหลา่ น้ี ปญั หาน้ี ไม่ได้เป็นปญั หาของผู้เขยี นคนเดียว แตเ่ ปน็ ปัญหาของคนทั้งชาติ โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษา และคนทำางาน โดยเฉพาะในยคุ นี้ทค่ี อมพิวเตอร์ได้กลายเปน็ สิ่งจาำ เปน็ ไปแลว้ หลายๆท่าน ก็คงรู้สึกหรือคิดคล้ายๆกัน เมื่อผู้เขียนเข้าไปค้นหาข้อมูลตามเว็บไซต์ จึงได้พบกับท่านท่ี พยายามจะหาทางออกของปัญหาเหล่าน้ี ซง่ึ ผู้เขียนรูส้ ึกดีใจ รู้สกึ เหมือนมเี พื่อนที่เขา้ ใจ มีเพ่ือนที่จะรว่ ม แก้ปัญหานี้ด้วยกัน เพราะฉะนั้น หากใครก็ตามที่ไม่มีเงินซื้อซอฟต์แวร์ ไม่ต้องห่วง มีทางออก แน่นอน คนทั่วโลกต่างก็ช่วยกันหาทางออกสำาหรับปัญหาน้ีเช่นกัน ไม่ต้องกลัว คุณมีเพ่ือน มากมาย
32 ซอฟต์แวร์ฟรี ดีๆ กม็ ใี นโลก
รจู้ กั กบั ของฟรี 5 ฟรีและดกี ม็ ี ซอฟต์แวร์ท่สี ามารถนำามาใช้ได้ฟรีๆ โดยไม่ต้องเสียเงินซื้อ ท่ีน่าสนใจมีอยู่ 2 กลุ่มใหญ่ด้วยกนั ก็คือ ฟรี แวร์ และ โอเพน่ ซอร์ส ฟรีแวร์ คือ โปรแกรมฟรี ที่ผู้พัฒนาให้ใช้ฟรีๆ แต่เขาจะไม่เปิดเผยซอร์สโค้ด( Source code = รหัสใน การเขยี นโปรแกรม) แต่โอเพ่นซอร์สมนั มอี ะไรมากกว่าน้ัน โอเพ่นซอร์ส เปน็ กลุ่มซอฟต์แวร์ ท่ีเปิดเผยซอร์สโค้ด ตัวซอฟต์แวร์และ ซอร์สโค้ดอนุญาตให้นาำ ไปใช้, ทาำ สาำ เนา, แจกจ่าย, และแก้ไขปรับปรุงได้ โดยจะนำาไปพัฒนาต่อเพื่อขายหรือแจกฟรีก็ได้ แต่ประเด็นสาำ คัญก็คือ ต้องเปิดเผยซอร์สโค้ดท่ีถือเป็นหัวใจสาำ คัญในการพัฒนาซอฟต์แวร์ตัว น้ันๆ ซอฟต์แวร์ตัวนั้นจึงจะถูกเรียกว่าซอฟต์แวร์โอเพ่นซอ ร์ส ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส ไม่ใช่ของฟรีเสมอไป แต่โดยส่วนใหญ่จะเป็นของ ฟรี หลายๆท่านจึงมักจะเข้าใจว่า โอเพ่นซอร์สเป็นซอฟต์แวร์ฟรี ผู้เขียน ก็ฝังใจเช่นน้ันเหมือนกัน โอเพ่นซอร์สที่เป็นของฟรี จะมีช่ือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า FOSS หรือ Free Open Source Software เพิ่มคาำ ว่า Free มาข้างหน้าอีก 1 คาำ ฟรีแวร์เขาจะหยุดแจก หยุดพัฒนาเมื่อไรก็ไม่รู้ และส่วนใหญ่ฟรีแวร์มักจะเปน็ โปรแกรมเล็กๆ หรือเป็น โปรแกรมที่ให้ใช้เพ่ือประชาสัมพันธ์โปรแกรมอ่ืนๆของเขาอีกที หากต้องการใช้ตัวเต็มๆ ก็ต้องจ่ายเงิน อย่างเชน่ AVG Antivirus เปน็ ต้น โอเพ่นซอร์ส เขาคิดไกลกว่าแค่เพียงการได้มาใช้ฟรีๆ เขาคิดถึงการพัฒนาต่อยอดในอนาคตด้วย เพราะโอเพ่นซอร์สเปิดเผยซอร์สโค้ด จึงมีกลุ่มผู้พัฒนาโอเพ่นซอร์ส เกิดขึ้นทั่วโลก หากคนเก่าหายไป คนใหมก่ ็มาแทนอยู่เสมอๆ ใช้โอเพ่นซอร์สอุ่นใจกวา่ ใชฟ้ รีแวร์ โปรแกรมฟรๆี ประสทิ ธภิ าพสูงท้ังหลาย ท่ี สามารถทดแทนโปรแกรมดีๆ ลขิ สทิ ธแิ์ พงๆ ส่วนใหญ่จะเป็นโอเพ่นซอร์ส ทง้ั น้ัน
34 ซอฟต์แวร์ฟรี ดีๆ กม็ ีในโลก จะโอเพ่นซอร์สหรือจะอะไรก็ตาม ปกติก็ไม่ค่อยสนใจเทา่ ใดนกั หากเป็นของฟรี มคี นใช้เยอะ(จะไดม้ ีคน ช่วยเยอะๆ) ตอบสนองต่องานที่ทาำ อยู่ สรุปว่าผเู้ ขียนใช้หมด ท่ีอธิบายไปในข้างต้น แค่เพียงเกร่ินให้รู้จัก โอเพ่นซอรส์ เทา่ น้นั ตอนนี้โอเพ่นซอร์สกาำ ลงั ดัง ทกุ ทา่ นจึงสามารถค้นหาขอ้ มูลได้ไมย่ ากในอินเตอรเ์ นต็ “เขาแจกฟรีแลว้ ได้อะไร? เขาอย่ไู ด้อยา่ งไรกับการแจกฟรี ?” น่เี ปน็ คำาถามที่ผเู้ ขียนถกู ถามบ่อยๆ คาำ ตอบน้ันง่ายมาก คนไทยน่าจะเข้าใจคำาตอบดีอยู่แล้ว ก็เขาพอใจ เท่าน้ี พอใจที่จะทำาเพื่อสังคมเพื่อชาวโลก ไม่ต้องร่ำารวยมหาศาล เป็นความพอเพียงในเวอร์ช่ันของ ซอฟตแ์ วร์ องคก์ รผู้พฒั นาซอฟตแ์ วรโ์ อเพ่นซอร์ส มรี ายได้จากเงินบรจิ าคบ้าง รายได้จากการขายสอ่ื การสอนหรือ ของชำาร่วย บ้างก็ บริษัทผู้ผลิตฮาร์ดแวร์รายใหญ่ให้การสนับสนุน รัฐบาลของหลายๆประเทศก็ให้การ สนับสนุน ประเทศอย่างรัสเซียถึงกับประกาศว่า องค์กรของรัฐจะเปลี่ยนมาใช้ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส ทงั้ หมด ฉะนัน้ รับรองเขาอยไู่ ด้ ให้ทุกท่านลองนึกตามดู หากองค์กรผพู้ ัฒนาโปรแกรม LibreOffice (The Document Foundation) ซ่ึงเป็น ซอฟต์แวร์ประเภทเดียวกับ MS Office แต่เป็นโอเพ่นซอร์สแจกฟรี หาก The Document Foundation ออกมาประกาศสั้นๆวา่ “ไม่มีเงิน” หรือ “จะไม่ทำาต่อแล้ว” รบั รองทั้งโลกได้สะเทือน เพราะผู้คนบนโลก ใช้ LibreOffice ไม่นอ้ ยเลยทเี ดยี ว ถา้ ท่านเปน็ องค์กรหนึ่งที่ใชโ้ อเพ่นซอร์ส ก็อย่างลมื บรจิ าคให้เขาบา้ ง นิดๆหน่อยๆ รวมกนั หลายๆคน ทงั้ โลกมันก็ไมน่ ้อยเลย เพื่อให้เขาได้ทำางานต่อไป และกเ็ พอื่ ให้เรามซี อฟตแ์ วรด์ ีๆใช้กนั ตอ่ ไป “ทาำ ไมเราตอ้ งใหค้ วามสนใจ หรอื ตอ้ งหันมาใชซ้ อฟตแ์ วรโ์ อเพ่นซอร์ส ?” น่ีเป็นอีกคำาถามหน่ึงที่ผู้เขียนถูกถามบ่อยๆ คงไม่ต้องอธิบายกันตรงน้ีแล้ว ให้ย้อนกลับไปอ่าน 2 บท ก่อนหนา้ ก็จะทราบว่าทำาไมเราต้องให้ความสนใจกบั ซอฟต์แวร์โอเพน่ ซอรส์ โอเพ่นซอร์ส ถือเป็นทางออกของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ท่ีต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายด้านซอฟต์แวร์ ซ่ึงจะ ชว่ ยให้เป็นอิสระอยา่ งแทจ้ รงิ ฟรี แตท่ ำาไมยังไม่คอ่ ยมีคนใช้? เปน็ ทนี่ า่ เสียดาย ทโี่ อเพ่นซอร์ส ถงึ แม้จะฟรีแตค่ นส่วนใหญ่ ยังไมค่ อ่ ยใช้ จากประสบการณ์และจากท่ีได้ติดตามสื่อต่างๆ ปัญหามันอยู่ท่ีทัศนคติและความเคยชินเดิมๆ คนส่วน ใหญ่จึงยงั คงใช้โอเพ่นซอร์สกันน้อย เขาถูกปลูกฝัง ถูกสอนอะไรมา ก็ใช้แบบนั้น โอเพ่นซอร์สจึงเป็นส่ิง ใหม่ท่ีหลายคนไม่อยากเสียเวลา ไม่อยากเร่ิมต้นใหม่ “เปล่ียนมาใช้ โอเพ่นซอร์สแล้วยังไง? งานก็ไม่มี อะไรดีขึน้ เปน็ ภาระอีกต่างหาก หน้าที่ในแต่ละวันก็มากพออยแู่ ล้ว มีอะไรใหค้ ิดให้ทำาตง้ั มากมาย”
รู้จักกบั ของฟรี 35 หากไม่ได้รับจดหมายหรอื ไม่โดน BSA เข้าไปตรวจสอบ ก็จะเป็นอยอู่ ยา่ งนี้เสมอไป จะเรยี กวา่ ไม่เหน็ โลง ศพไมห่ ลงั่ นาำ้ ตาก็ได้ ผู้เขยี นเคยไปพูดกบั หลายคน ให้หันมาใช้โอเพ่นซอร์สกนั เถอะ เอาซีดีไปแจกด้วย บ้างกต็ ้ังใจฟังดี บา้ งก็ ต่อว่ากลับมา บ้างก็ประชดประชัน (..ฮึ่ม...เด๋ียวแจ้ง BSA ให้เข้าไปตรวจให้หมดเลยนี่ ... ) แต่จากนั้น ก็ไม่มีใครถามกลับมาเลย ว่าจะใชอ้ ย่างไร? เร่ิมอยา่ งไร? สรปุ แล้วกค็ ือ พูดกบั ใครก็ไม่มใี ครสนใจ ผู้เขียนเคยเห็นสาำ นักงานแห่งหน่ึง พยายามจะนำา ปลาดาวออฟฟิศ(ของฟรี) มาใช้แทน MS Office แต่ ใช้ไม่ทนั ไร ก็บ่นไม่ดีอย่างนนู้ ไม่ดีอย่างนี้ เจ้านายก็ประมาณว่า ลูกน้องว่าง้ี ไม่รู้จะทำายังไง มันใช้ไม่เป็น เด๋ียวงานฉันเสีย ก็เลยปล่อยไปอย่างนั้น แหม… ก็มีอคติต้ังแต่ต้น ใช้งานไม่ทันไรก็เลิกแล้ว ไม่อยาก เปล่ียนแปลง อะไรๆก็ไม่ดีไปหมด เคยขับ Benz อยู่ดีๆ พอจะให้เปล่ียนมาใช้ TOYOTA ก็ ตั้งแง่แล้ว แต่คุณรู้ไหม TOYOTA เขามีรุ่นดีๆ พอฟัดพอเหว่ียงกับ Benz เลยที่เดียว บางรุ่น ตงั้ ใจทำาออกมาให้ดกี วา่ ด้วยซำา้ ไป ผู้เขียนปรารถนาเหลือเกิน ที่จะบอกว่า การเปลี่ยนมาใช้โอเพ่นซอร์สไม่ยากอย่างท่ีคิด ไม่ได้เสีย เวลาอะไรมากมาย ปัญหามันอยู่ท่ีทัศนคติของท่านนั่นแหละ หากท่านปลี่ยนความคิดท่ีมีต่อ โอเพน่ ซอร์สเม่ือไร จากท่ีเกลียดๆจะรกั มันเลยละ เช่ือผู้เขียนเถอะ หากได้ลองอย่างเปิดใจ มีคนช่วยสร้างทัศนคติดีๆให้ก่อน แล้วจะติดใจ ข้อมูลใน อินเตอร์เน็ตมีมากมาย ค้นหาได้สบาย ไม่รู้ก็ถามได้ มีคนคอยตอบคำาถามเต็มไปหมด เท่าที่สัมผัส หลายคนท่ีเปลย่ี นมาใช้โอเพน่ ซอร์ส กลายเปน็ พวก โอเพน่ ซอร์ส Lover ไปเลย รวมทั้งผูเ้ ขียนดว้ ย ท่าน จะกลายเป็นพวกหายใจเข้าหายใจออกเป็นโอเพ่นซอร์ส หาเสื้อโอเพ่นซอร์สมาใส่ หาวอลล์เปเปอร์มา แปะ ค้นหาโปรแกรมฟรีๆมาทดลองตลอดเวลา ต้ังช่ือหมาสุดโปรดเป็นชื่อโปรแกรมโอเพ่นซอร์ส “นอ้ ง ก้ิม(Gimp) น้องอุ๊(Ubuntu) น้องอิ้ง(Inkscape)” เป็นต้น ไปท่ีไหนก็ถามเขาไปทวั่ “โปรแกรมท่ีคุณใช้ของ แท้หรือเปลา่ ราคาเทา่ ไร ?” บางคนก็อุทศิ ชวี ิตให้โอเพ่นซอร์ส โดยการเขยี นหนังสือแจกฟรีก็มี ใชแ้ ล้วติดใจท้งั นั้น ทง้ั ฟรี ทงั้ ภูมิใจ ทงั้ ยังตอ้ งการให้คนอน่ื ๆ เปลย่ี นมาใช้ด้วย ซ่งึ มนั กด็ ตี อ่ ประเทศชาติ ทัง้ นน้ั เอาละ... มาดกู นั ตอ่ ว่า ผูเ้ ขยี นเรม่ิ ตน้ กับ โอเพ่นซอรส์ ได้อย่างไร จาก 0 กลายมาเปน็ 100% ได้อย่างไร
36 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดีๆ กม็ ใี นโลก รจู้ กั กับโอเพน่ ซอรส์ เพราะ Chantra ผู้เขียนรู้จักกับโอเพ่นซอร์สคร้ังแรกเม่ือกว่าเกือบ 10 ปกี ่อน ช่วงน้ันว่างๆอยู่ก็เลยเข้าไปค้นหาอะไรดูเล่นๆ ในอินเตอร์เน็ต เผอิ้ญ... ไปยังไงมายังไงจาำ ไม่ได้แล้ว ไปพบกับเว็บไซต์หนึ่ง(www.thaiopensource.org) ซึ่ง ให้ดาวน์โหลดโปรแกรมฟรีๆ แถมยังมีคู่มือฟรีให้ด้วย อา่ นๆดแู ต่ละโปรแกรม ดคู ูม่ ือท่ีเขาแจก ไมร่ ูจ้ ักสักตวั แต่ติดใจอยู่ประโยคหนึ่ง ก็คือ “โปรแกรมน้ี... ใช้ แทน โปรแกรมน้ี...” เช่น OpenOffice.org ใช้แทน MS Office เป็นต้น สะดุดตรงนี้เอง ก็เลยตัดสินใจ ซีดี Chantra รวมโปรแกรมโอเพ่นซอรส์ ไวม้ ากมาย ดาวน์โหลดมาลองใช้ดู ภาพจาก www.thaiopensource.org ตัวแรกที่ดาวน์โหลดมาก็คือ Chantra 3.02 ซึ่งเป็น ไฟล์ .iso สำาหรับเขียนลงแผ่นซีดี ในแผ่นซีดี Chantra(จนั ทรา)น้ี มีโปรแกรมโอเพ่นซอร์สหลายตวั รวมอยู่ในน้ัน มคี มู่ ือเปน็ ไฟล์ PDF อยดู่ ว้ ย จดั หนา้ มาสวยงามทเี ดียว เมือ่ มี Chantra ก็ตอ้ งมี Suriyan Suriyan(สุริยัน) เป็นระบบปฎิบัติการ Linux ตระกูลหน่ึง สำาหรับการใช้งานบน Server ทางภาครัฐนาำ มาพัฒนาต่อยอดให้ เหมาะกับคนไทย แต่ ณ เวลานั้น ผู้เขียนยังไม่กล้า เพราะไม่คุ้น เคยกบั Linux แมจ้ ะหาเอกสารมาอา่ นๆดแู ล้วกต็ าม กย็ งั ไม่เขา้ ใจ แค่วิธีติดต้ัง ผู้เขียนก็งงเป็นไก่ตาแตกแล้ว กลัวคอมพิวเตอร์มี ปญั หา กลวั ข้อมูลหาย ท่ีสาำ คญั Suriyan เปน็ OS สำาหรับ Server จงึ ไมม่ ีความจาำ เป็นตอ้ งใช้ ฉะนัน้ ก็เลยไม่ได้ใช้ Suriyan
รู้จกั กบั ของฟรี 37 นอกจาก Suriyan แล้ว ก็ยังมี Thai OS (ไทยโอเอส) ซ่ึงเป็น OS น้องใหม่ของคนไทย เป็น OS สาำ หรับเครื่อง คอมพิวเตอร์ทั่วไป สามารถใช้แทน Windows ได้ ทราบ มาว่า Thai OS ถูกบังคับให้ใช้ในหน่วยงานของภาครัฐ บางแห่งด้วย ต่อไปคงจะขยายผลไปเรื่อยๆ (ดูข้อมูล เพม่ิ เตมิ เกี่ยวกบั Thai OS ได้ที่ thaios.sipa.or.th) เสียดายที่รู้จักกับ Thai OS ช้าไปหน่อย ไม่เช่นน้ันต้องลองใช้เป็นแน่ ผู้เขียนรู้จักกับ Ubuntu ก่อน จึงใช้ Ubuntu มาตลอด (Ubuntu เปน็ ระบบปฏบิ ตั ิการสาำ หรับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทว่ั ไปเช่นกนั ) Chantra เป็นจุดเริ่มต้น ท่ีทาำ ให้รู้จักกับโอเพ่นซอร์ส จากจุดนี้เอง เรื่องราวของการเป็น โอเพ่นซอร์ส Lover ก็เริ่มต้นข้ึน( ...โรแมนติกจังเลย... ) จนกระทั่งวันน้ี โปรแกรมทุกตัวในคอมพิวเตอร์ท่ีผู้เขียน ใช้ เป็นของฟรที ่ีถูกลิขสิทธิ์ทง้ั หมด แต่กย็ ังทาำ งานได้ตามปกติ ภมู ใิ จสดุ ๆ
38 ซอฟต์แวร์ฟรี ดีๆ กม็ ใี นโลก
ใชง้ านโอเพน่ ซอร์ส 6 ผู้เขียนไม่ได้เรียนจบคอมพิวเตอร์สายตรง และไม่เคยเข้าคอร์สเรียนการใช้งานโอเพ่นซอร์สที่ไหนเลย ไม่ใช่จะอวดว่าเก่ง แต่อยากบอกว่าโอเพ่นซอร์สส่วนใหญ่ ถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้คล้ายๆกับ โปรแกรมทเ่ี ราค้นุ เคยกนั ดี ตา่ งกันบ้าง แตห่ ลกั การทาำ งานคล้ายๆกนั ฉะนัน้ ใช้เวลาไม่นานกใ็ ช้เป็นแล้ว (แตข่ อย้ำาว่า ใช้ให้เกง่ น้ันเปน็ อกี เรื่องหน่งึ ) เริม่ จาก OpenOffice.org โปรแกรมในแผ่น Chantra ตัวแรกท่ีผู้เขียนทดลองใช้ ก็คือ OpenOffice.org เห็นโฆษณาว่า สามารถใช้แทน MS Office ได้ OpenOffice.org ประกอบไปด้วยหลาย โปรแกรม ท่ีคล้ายๆกบั MS Office กค็ อื Calc (เทยี บเทา่ Excel) Writer (เทียบเทา่ Word), Impress (เทยี บเท่า PowerPoint), Base (เทียบเทา่ Access), และ Draw
40 ซอฟต์แวร์ฟรี ดๆี กม็ ใี นโลก ภาพ : หน้าจอ OpenOffice.org Writer ภาพ : หน้าจอ OpenOffice.org Calc
ใชง้ านโอเพน่ ซอรส์ 41 ภาพ : หน้าจอ OpenOffice.org Impress ภาพ : หน้าจอ OpenOffice.org Draw เปลยี่ นมาใช้ LibreOffice ผู้เขียนรู้จักและใช้ OpenOffice.org มาประมาณ 10 ปี แต่ ณ ปัจจุบันผู้เขียนเปลี่ยนมาใช้ LibreOffice แล้ว สาเหตุที่เปล่ียนไม่ใช่ว่า OpenOffice.org ไม่ดี แต่เพราะมี การเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรผ้พู ฒั นา OpenOffice.org ทาำ ให้ผ้เู ขียนกต็ ้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
42 ซอฟต์แวร์ฟรี ดๆี กม็ ใี นโลก “LibreOffice อ่านว่าอะไร แปลว่าอะไร” ผเู้ ขียนมีเพื่อนคนหนึ่งเปน็ คนฟิลปิ ปินส์ เมอื่ เขาเห็นชื่อโปรแกรมนี้เขาบอกวา่ “Libre” มาจากภาษา สเปนแปลว่าฟรี LibreOffice จงึ แปลว่า ฟรีออฟฟศิ เวลาอ่านให้อ่านว่า “ลิ เบร่ ออฟฟิศ”(แลบล้ิน และสนั่ ด้วย) อยา่ งไรก็ดี หลายๆคนกต็ ิดเรียกว่า “ลเิ บอร์ออฟฟิศ” LibreOffice มีทมี่ าจาก OpenOffice.org โดยจะเรียกทัง้ 2 ตวั น้ีวา่ เปน็ ญาตสิ นทิ กันก็ได้ มโี ปรแกรมในชุดเหมอื นกัน กค็ อื Writer, Calc, Impress, Draw, Base แตจ่ ะมีคาำ วา่ LibreOffice อยู่ข้างหน้า เชน่ LibreOffice Writer เปน็ ต้น OpenOffice.org มีมากว่า 20 ปี แล้ว และมีช่ือเสียงโด่งดังเป็นที่ รู้จักดีในวงการ ผู้พัฒนา OpenOffice.org ในสมัยนั้นก็คือ Sun Microsystem แต่ทว่าต่อมา Sun Microsystem ถูกเขา้ ครอบครองกิจการโดย Oracle บรษิ ัทซอฟต์แวร์ยักษใ์ หญ่ เหตุการณ์นี้ทำาใหผ้ ู้คนทง้ั โลกทีใ่ ช้ OpenOffice.org หวน่ั เกรงกันมาก เปน็ หว่ งว่า Oracle จะทำาอยา่ งไรต่อ ไปกับ OpenOffice.org เพราะ Oracle เป็นบริษัทซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ท่ีเน้นการพาณิชย์เป็นหลัก ซ่ึงใน เวลาต่อมา ก็ไม่ผิดจากที่หลายคนเป็นห่วง Oracle ยังให้ OpenOffice.org เป็นของฟรีอยู่ แต่กลับไม่ พฒั นาต่อ เหมือนเป็นโชคดีในโชคร้าย เพราะต่อมาทีมงานพัฒนา OpenOffice.org พากันลาออกยกทีมเพราะไม่ เห็นด้วยกับนโยบายของผู้บริหาร และได้นาำ ซอร์สโค้ดของ OpenOffice.org มาพัฒนาเป็นโปรแกรมชุด ออฟฟิศตัวใหม่ที่ชื่อว่า LibreOffice สิ่งท่ีทำาน้ันสามารถทำาได้อย่างถูกกฎหมาย เพราะ OpenOffice.org นน้ั เปน็ ซอฟต์แวร์โอเพน่ ซอร์ส ใครจะนำาซอรส์ โคด้ ไปทำาอะไรก็ได้ เมื่อ LibreOffice ออกมาไม่ทันไร ก็ได้รับการตอบรับอย่างดีจากผู้ใช้งาน OpenOffice.org เดิมทั่วโลก เพราะการใช้งานเหมือนกบั OpenOffice.org มาก(ก็มาจากโค้ดเดียวกนั ) ปัจจุบันผู้พัฒนา LibreOffice ได้จัดต้ังเป็นมูลนิธิท่ีชื่อ The Document Foundation สาำ นักงานต้ังอยู่ท่ี ประเทศเยอรมัน ซึ่งต้องผ่านการตรวจสอบอย่างเข้มงวดกว่า 2 ปีจึงสามารถจัดต้ังได้ และเม่ือจัดตั้ง แล้ว nVidia ผู้ผลิตการ์ดจอยักใหญ่ของโลก Intel ผู้ผลิตชิปประมวลผลยักษ์ใหญ่ของโลก ประกาศ ให้การสนับสนุนมูลนิธิน้ีแล้ว(ยังไม่รวมอื่นๆอีก) ฉะนั้นจึงมั่นใจได้ว่า LibreOffice จะได้รับการพัฒนา อยา่ งตอ่ เนื่อง และจะไม่ล้มหายตายจากไปง่ายๆ
ใชง้ านโอเพ่นซอร์ส 43 ส่วน OpenOffice.org คงจะไม่ได้รับการพัฒนาต่อในชื่อน้ีอีกแล้ว เพราะต่อมา Oracle ได้ยกซอร์สโค้ด ของ OpenOffice.org ให้กับ Apache อย่างเป็นทางการ ซึ่ง Apache ก็ได้นำาซอร์สโค้ดไปพัฒนาเป็น ซอฟต์แวร์ตัวใหม่ที่ชื่อ Apache OpenOffice ในทัศนของผู้เขียน Apache OpenOffice ยังตามหลัง LibreOffice อยู่มาก และองค์กรของรฐั ในประเทศไทย เชน่ SIPA ก็ดนั ไปทาง LibreOffice ประสบการณ์กับ OpenOffice.org และ LibreOffice โดยทั่วไป เราใช้ศักยภาพของโปรแกรมในตระกูลออฟฟิศเพียง 10-20% เท่านั้นในการทาำ งาน ผู้เขียน เองในระยะแรกก็เป็นเช่นนั้น ดังน้ันเมื่อเร่ิมต้นใช้ OpenOffice.org จึงใช้เวลา 3-4 วันก็สามารถทำาความ คุ้นเคยได้แล้ว โดยเฉพาะเมื่อเคยใช้ MS Office มาก่อน (แต่การใช้ใหช้ าำ นาญนน้ั เปน็ อีกเร่ืองหน่ึง) Writer ผู้เขียนเคยใช้ Word มาอย่างไร Writer ทำาได้ทุกอย่างเหมือนกันหมด เม่ือก่อนใช้ Word พิมพ์งานท่ัวๆไป Writer ทาำ แบบน้ันได้สบาย แต่ตอนนี้ผู้เขียนใช้ Writer ทำางานได้มากกว่าที่เคยใช้ Word เพราะตอนนี้ใช้ Writer เขียนหนังสือเป็นร้อยๆหน้า จัดหน้าส่ิงพิมพ์ พิมพ์ฉลาก เรียกได้ว่าใช้ Writter ได้อย่างเต็ม ศักยภาพมากกว่าแต่กอ่ น ภาพ : หนา้ จอ LibreOffice Writer การจัดการรูปภาพใน Writer ทำาได้ดีมาก ทำาหัวกระดาษท้ายกระดาษแบบแยกบทก็ได้ ทำาสารบัญ อัตโนมัติก็ง่าย การจัดการฟอนต์จัดหน้ากระดาษก็ทำาได้ดี สามารถจัดหน้าให้เหมือนกับหนังสือท่ีขาย ทว่ั ๆไปได้เลย ตอบสนองการทาำ งานได้อย่างลงตวั
44 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดีๆ กม็ ีในโลก Calc ผู้เขียนเคยใช้ Excel มาอย่างไรก็สามารถใช้ Calc ทำางานท่ีเคยทำาใน Excel ได้หมด ใส่สูตรคำานวณ ใส่ ฟังก์ชั่น ทาำ แผนภูมิ ทาำ ตาราง วิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น การใส่สูตรในเซลล์ของ Calc สัญลักษณ์จะต่าง จาก Excel เล็กน้อย แต่ก็สามารถปรับแต่งให้เหมือนกับ Calc ได้ Calc เป็นอีกตัวหนึ่งท่ีผู้เขียนใช้งาน บ่อยมาก นกึ ถึงการคำานวณ นกึ ถึงการสรา้ งแผนภมู ินึกถึง Calc กอ่ นอื่นใด ภาพ : หน้าจอ LibreOffice Calc Impress Writer และ Calc ใช้งานได้พอฟัดพอเหวี่ยงกับ Word และ Excel แต่สำาหรับ Impress ไม่ค่อยจะสะดวก สบายเหมือนกับ PowerPoint PowerPoint มีลูกเล่นที่จะช่วยจัดฟอนต์ จัดหน้าให้สวยๆมากมาย Impress มีน้อยกว่า แต่เรื่องน้ีถือว่ารับได้ สวยไม่สวย ข้ึนอยู่กับคนทำาด้วย แล้วก็ขึ้นอยู่กับเนื้อหาใน การนำาเสนอมากกวา่ ผเู้ ขียนเห็นหลายๆสไลด์ของหลายๆคน แค่วางรูปกบั พิมพ์ข้อความเท่าน้ันเอง แต่ ไม่ใช่ว่า Impress จะทำาได้เทา่ น้ี ทาำ ได้มากกวา่ น้มี าก
ใช้งานโอเพน่ ซอร์ส 45 ภาพ : หนา้ จอ LibreOffice Impress Draw Draw เสมือนเป็นโปรแกรมลูกผสมระหว่าง Impress กับ Inkscape(โปรแกรมวาดภาพแบบเวค็ เตอร์) ใน MS Office ไม่มีให้เทียบกบั ตวั น้ี(บางทา่ นเทียบกับ VIZIO) ภาพ : หนา้ จอ LibreOffice Draw
46 ซอฟต์แวร์ฟรี ดๆี กม็ ใี นโลก ผู้เขียนใช้ Draw บ่อยในการทำาแผนภูมิหรือทำาผังต่างๆ สะดวก ใช้งานง่าย หรือแม้กระท่ังจัดหน้าส่ิง พมิ พ์ก็ทาำ ได้ดี รูปวาดอาจมีให้เลือกนอ้ ยไปหน่อย แตห่ ากใช้งานจนคล่อง จะสามารถสร้างสรรค์รูปวาด ตา่ งๆได้มากมาย ทงั้ แบบ 2D และ 3D การนาำ LibreOffice มาใช้งานแทนออฟฟิศตัวเดมิ ในองคก์ ร โปรแกรมออฟฟิศอย่างเช่น MS Office ถือเป็นโปรแกรมสามัญประจาำ เคร่ือง ที่เกือบทุกเครื่องต้องมี เพราะเป็นโปรแกรมท่ีถกู ใชง้ านบ่อยมาก ลองคิดดู หากสาำ นักงานของท่านมีคอมพิวเตอร์ 100 เคร่ือง MS Office 2013 ราคาไลเซนส์ละ 8,700 บาท(รุน่ สำาหรับใช้งานในสำานักงาน) คิดเป็นเงินท้ังสิ้น 870,000 บาท(ไม่รวม MS Windows) โปรแกรม ตัวเดียวปาเข้าไปเกือบล้าน แต่ถ้าคุณหันมาใช้ LibreOffice จะประหยัดไปได้ท้ังหมด เอาเงินไปซื้อ คอมพวิ เตอร์ใหม่ได้ไม่นอ้ ยเลย ถ้ามันจบท่ี 870,000 ก็น่าลงทุน แต่น่ีมันไม่ใช่!!! อีก 3 ปี 5 ปี ข้างหน้า ก็ต้องลงทุนอีก เพราะ MS Office ออกเวอร์ชั่นใหม่ๆเสมอ แม้เราจะบอกว่า “จะไม่เปล่ียนรุ่น MS Office ตามเขา แม้เขาจะออก เวอร์ชั่นใหม่มาก็ตาม” แต่ผู้เขียนเช่ือว่าสักวันหนึ่ง ก็ต้องเปล่ียนอยู่ดี อย่างสายที่สุดก็ 7 ปี เพราะ ซอฟตแ์ วรก์ ็มีหมดรบั ประกนั ประชนั LibreOffice กบั MS Office เน่ืองจากผู้เขียนเป็นวิทยากรอบรม LibreOffice และ เป็นที่ปรึกษาให้กับองค์กรในการย้ายระบบจาก MS Office ไปเป็น LibreOffice ฉะน้ันผู้เขียนจึง ถูกเชญิ ให้ไปนาำ เสนองานอยบู่ อ่ ยๆ และส่ิงหนึ่ง ท่ีต้องทาำ บ่อยๆ ก็คือ ประชันการใช้งาน ระหว่าง LibreOffice (หรือ OpenOffice.org ใน อดตี ) กับ MS Office ผู้เขียนมักถูกถามว่า “MS Office ทาำ แบบนี้ได้ ภาพ : ประชัน OpenOffice.org กับ Microsoft Office LibreOffice ทาำ แบบนี้ได้ไหม?” โดยส่วนใหญ่ ผู้เขียนสามารถใช้ LibreOffice ตอบคาำ ถามได้ เกือบทัง้ หมด ไม่ใชจ่ ะอวดว่าเกง่ แต่เพราะโดย ส่วนใหญ่เราใช้ศักยภาพของโปรแกรมเพียง 10-20% เทา่ นนั้ แตท่ งั้ นก้ี ็ต้องยอมรบั วา่ ความสะดวกสบายน้นั สู้ไม่ได้ สมมตุ ิ MS Office คลกิ 1 ครั้ง LibreOffice จะคลิก 2 คร้ัง เป็นต้น อย่างไรก็ดี ความสะดวกสบายใน LibreOffice ก็มี แต่ต้องตั้งค่าก่อน เช่น ตั้งคีย์ลัด, เพมิ่ ปมุ่ คำาส่ัง เป็นต้น
ใช้งานโอเพ่นซอรส์ 47 เมื่อประชันเรื่อยมา ก็พบว่า ฟังก์ชั่นการทาำ งานบางอย่างท่ีมีใน MS Office แต่ใน LibreOffice ไม่มีก็มี อย่างไรก็ดี วิธีตรงๆไม่มี กส็ ามารถใชว้ ธิ ีอ้อมๆได้ สุดท้ายกใ็ ห้ผลเหมือนกนั แมข้ ั้นตอนจะมากกวา่ “มีไหมที่ LibreOffice ทำาไม่ได้เลย?” ขอตอบว่า “มี” แต่น้อย ถ้าเผอิ้ญ... จาำ เป็นต้องใช้ฟังก์ชั่นการ ทำางานน้ันท่ี LibreOffice ไม่มี ผู้เขียนก็จะบอกว่า “ให้คนน้ีคนเดียวใช้ MS Office ได้ ท่ีเหลือย้ายไปใช้ LibreOffice ให้หมด” ซ่ึงใน 1 องค์กรก็จะมีไม่เยอะ ส่วนใหญ่ท่ีเจอก็เพียง 5-10% เท่านั้น แต่ก็เคยเจอ บางองคก์ รที่มี 50% เทา่ น้นั ที่สามารถเปล่ยี นมาใช้ LibreOffice ได้ แนวทางการนำา LibreOffice มาใช้ในองคก์ ร การนำา LibreOffice มาใช้งานแทน MS Office ในระดับบุคคลหรือใช้ท่ีบ้าน เป็นเรื่องท่ีไม่ยาก เปล่ียน ความเคยชิน ลองผิดลองถูกสักพักก็ใช้ได้แล้ว แต่ในระดับองค์กรนั้นไม่ง่าย... เพราะน่ีคือการเปลี่ยน ระบบ มันกระทบหลายอย่าง ฉะนั้นจึงต้องมีกระบวนการในการย้ายระบบ อยู่ๆจะเปลี่ยน ก็ใช่ว่าจะ เปล่ียนได้เลย เพราะมนั กระทบกบั งานปัจจบุ ันแน่นอน ดีไม่ดจี ะล้มเหลว กลายเปน็ สรา้ งทัศนคติท่ีตดิ ลบ ตอ่ LibreOffice ไปด้วย แผนภาพในหนา้ ถัดไป เปน็ กรอบแนวทางการย้ายจาก MS Office ไปเป็น LibreOffie ท่ีผู้เขียนใช้นาำ เสนอ เมื่อไปพบกับผทู้ ตี่ อ้ งการคาำ ปรกึ ษา จากประสบการณ์ กระบวนการดังกล่าวมีปจั จยั สำาคัญที่จะทาำ ให้ประสบความสำาเร็จอยู่ 2 ประการกค็ อื 1. ด้านเทคนิค 2. ด้านการบรหิ ารการเปลีย่ นแปลง (Change Management) ด้านเทคนิค : ประเด็นด้านเทคนิค เช่น การประเมินผู้ใช้งาน, การใช้งานซอฟต์แวร์, การแก้ไขปัญหา การใช้งาน, การฝึกอบรมพนักงาน เป็นต้น ด้านน้ีต้องยกหน้าท่ีให้ผู้ที่มีความชำานาญกับ LibreOffice ถ้า องค์กรของท่านไม่เคยใช้ LibreOffice มาก่อน แนะนาำ ให้เรียกหาใครกไ็ ด้ท่ที ำางานด้านน้มี าช่วย ด้านการบริหารการเปล่ียนแปลง : กระบวนการในการย้ายระบบจาก MS Office มาเป็น LibreOffice ไม่ได้มีประเด็นด้านเทคนิคเพียงอย่างเดียว ไม่ใช่แค่เพียง “ซอฟต์แวร์ตัวนี้ใช้งานอย่างไร?”, “จะอบรม พนักงานอย่างไร?” แต่มันเก่ียวข้องถึงการเปล่ียนแปลงขนานใหญ่ที่กระทบต่อทุกคนท่ีใช้คอมพิวเตอร์ กระทบกับงานปัจจุบันด้วย การบริหารการเปล่ียนแปลงเป็นประเด็นท่ีสาำ คัญมาก เพราะอยู่ๆจะทาำ ให้พนักงานท่ีเคยชินและใช้ MS Office จนคล่องจนติด เปลี่ยนไปใช้ LibreOffice ท่ีไม่เคยรู้จัก แถมประสิทธิภาพด้อยกว่า แรงต่อต้านจึง เกิดข้ึนเปน็ ธรรมดา(ทไ่ี หนไมม่ ีก็แปลกแลว้ ) นอกจากนี้ ยังมีคาำ ถามที่ต้องตอบให้ได้ก่อน เช่น “งานเก่าๆไฟล์เก่าๆที่ทาำ ไปแล้วจะทำาอย่างไร?”, “คน อื่นๆท่ีไม่ได้ใช้ LibreOffice จะแลกเปลี่ยนไฟล์กับเราได้ไหม?”, “จะเอาอะไรมาเป็นเกณฑ์วัดว่าใคร เปลี่ยนได้ ใครเปลี่ยนไม่ได้” เป็นต้น ถ้าบริหารการเปลย่ี นแปลงไมด่ ี โอกาสลม้ เหลวสงู มาก
48 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดๆี กม็ ใี นโลก กรอบแนวทางการยา้ ยจาก MS Office ไปเป็น LibreOffice
ใชง้ านโอเพน่ ซอร์ส 49 จากปัญหาที่ได้อธิบายไปก่อนหน้า องค์กรที่พยายามหันมาใช้ LibreOffice/OpenOfice.org แทน MS Office จึงประสบปัญหาแรงต่อต้านและการไม่ได้รับความร่วมมือจากพนักงานเสมอ ครั้งหนึ่ง ผู้เขียน เคยไปอบรมให้กับองค์กรแห่งหนึ่ง ท่ีไม่ได้ส่ือสารเพื่อปรับทัศนคติของพนักงานก่อน แค่เพียงแจ้ง พนักงานว่าจะเปลี่ยนจาก MS Office ไปเป็น OpenOffice.org/Libreffice จากน้ันก็จัดอบรมเลย ผู้เขียน สัมผัสถึงแรงต้านได้อย่างชัดเจน ผู้เข้าอบรมถามเหมือนจะกินหัวให้ได้ แต่ก็เข้าใจ น่ีเป็นเรื่องปกติ เขา ถูกปลูกฝังมาอย่างนี้ ของละเมิดลิขสิทธ์ิมันคือยาเสพติดทางความคิดดีๆน่ีเอง เขาเสพติดมานาน ต้อง เข้าใจเขาหน่อย มาแก้ปัญหากันท่ีปลายเหตุแบบน้ี ปัญหามันก็เยอะเป็นธรรมดา ย่ิงไปหักดิบเขา ยิ่งไป กันใหญ่ ฉะนั้น ต่อมา เม่ือผู้เขียนได้รับเชิญให้ไปอบรมท่ีไหน ก็จะขอนาำ เสนอกระบวนการในการย้ายระบบด้วย เสมอ จนกระท่ังกลายมาเปน็ อาชีพที่ปรึกษาในการย้ายระบบในปจั จบุ นั จากประสบการณ์ หัวใจสาำ คัญที่จะทาำ ให้การบริหารจัดการการเปล่ียนแปลงประสบความสำาเร็จ อยู่ท่ีผู้นาำ องค์กร ผู้นาำ องค์กรท่ีเอาจริงเอาจังได้ชัยชนะเสมอ ที่ปรึกษาก็ทาำ ได้แค่ให้คำาปรึกษาเท่านั้น ส่วนทา่ นจะเชอื่ หรือไม่เชอ่ื จะปฏิบตั อิ ยา่ งไร ท่านตอ้ งตัดสนิ ใจเอง ผู้เขียนเคยเจอองค์กรหนึ่ง มีผนู้ าำ ท่ีนา่ นับถือมาก ไม่ยอมกับเรื่องละเมิดลิขสิทธ์ิโดยเด็ดขาด อะไรท่ีต้อง ซื้อก็ซ้ือ อะไรทีใ่ ช้เปน็ โอเพ่นซอร์สได้ก็ใช้ โอเพ่นซอรส์ ตัวอืน่ จะตามมาเอง ผู้เขียนเร่ิมต้นจาก OpenOffice.org เป็นตัวแรก ซึ่งต่อมาก็ได้ทราบแล้วว่า OpenOffice.org ก็ได้ออกลูก ออกหลานมาเป็น LibreOffice ซ่งึ ศกั ยภาพดีกว่า หลังจากที่ติดใจกับ OpenOffice.org แล้ว ผู้เขียนก็ เริ่มมองหาโอเพ่นซอร์สตัวอ่ืนๆ ท่ีคล้ายกับโปรแกรมที่เคยใช้ และทดลองใช้เรื่อยมา ซึ่งก็พบว่ามีอีก หลายตัว ที่ฟรี ดี ประสทิ ธิภาพสงู รองรบั การทาำ งานที่เคยทำามาได้อยา่ งลงตวั Thunderbird Thunderbird เป็นโปรแกรมประเภทเดียวกับ MS Outlook เป็นโปรแกรมเมล เอเจนต์ หรือโปรแกรมที่ใช้ดดู อีเมลทอี่ ยูบ่ น Server ลงมาไว้บนเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ เพื่อความสะดวกในการเปดิ อ่าน แม้ไม่ไดต้ ่ออินเตอร์เนต็ ใน MS Office(รุ่น Home & Bussiness) มี Outlook อยู่ในนั้นด้วย แต่ใน LibreOffice ไม่มีโปรแกรมเมลเอเจนต์รวมอยู่ ฉะน้ันหากต้องย้ายจาก MS Office มาเป็น LibreOffice ก็มักจะใช้ Thunderbird แทน MS Outlook Thunderbird ใช้งานไม่ยาก เพียงติดต้ังโปรแกรม จากน้ันตั้งคา่ ตา่ งๆ ก็สามารถดูดอีเมลมาไว้ที่เครื่องได้ แล้ว อยา่ งไรก็ดี กม็ ีนู่นนีน่ น่ั ให้ตงั้ คา่ ให้ใชง้ านคล้ายๆกบั MS Outlook
50 ซอฟตแ์ วร์ฟรี ดๆี กม็ ีในโลก ปญั หาหนง่ึ ท่มี ักจะพบเจอใน Thunderbird ก็คอื ตวั หนังสอื ภาษาไทยแสดงเปน็ ภาษามนษุ ยต์ า่ งดาว บาง ครงั้ ก็แก้ได้ บางครง้ั กแ็ ก้ไม่ได้ ขึน้ อยู่กับการ Encode อีเมลท่ีสง่ เข้ามา ภาพ : หนา้ จอ Thunderbird Inkscape ภาพ : หน้าจอ Inkscape
Search