Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาการจัดการศึกษา- อำเภอหนองปรือ ส่ง2

แผนพัฒนาการจัดการศึกษา- อำเภอหนองปรือ ส่ง2

Description: แผนพัฒนาการจัดการศึกษา- อำเภอหนองปรือ ส่ง2

Search

Read the Text Version

2 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2566 -2570 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองปรือ สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดกาญจนบรุ ี สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

การอนุมตั แิ ผนพฒั นาการจดั การศึกษา พ.ศ. 2566 – 2570 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองปรือ เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด สถานศึกษาได้จัดทำ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา พ.ศ. 2566 –2570 รวมระยะเวลา 5 ปี ประกอบดว้ ยข้อมลู พื้นฐานของ สถานศึกษา แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ซึ่ง คณะกรรมการสถานศึกษาได้พิจารณาโครงการ กิจกรรมในแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองปรือแล้ว เห็นชอบ แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาพ.ศ. 2566 –2570 ดงั กลา่ ว ลงชื่อ ผเู้ ห็นชอบ (นายมานะ อนิ ทรมณี) ประธานกรรมการสถานศกึ ษา วันที่ 30 เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2565 ลงชอ่ื ผู้อนุมัติ (นางสาวรินรดา ภโู ต) ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอบอ่ พลอย รกั ษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอหนองปรอื วนั ที่ 30 เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2565

คำนำ แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2566 – 2570 ระยะเวลา 5 ปี จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็น กรอบและทิศทางในการดำเนินงานของสถานศึกษา ในช่วงระยะเวลา 5 ปี ต่อไปนี้ ซึ่งได้กำหนด เป้าหมายการดำเนินงาน ไว้ชัดเจน มีกลยุทธ์สำคัญที่จะขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุตาม วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ และเปา้ หมายของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา โครงสร้างการ บริหารองค์กร ทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวก โครงการ กิจกรรมที่ตอบสนองต่อทิศทางการ ดำเนินงานของสถานศึกษา ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาได้เห็นชอบแผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2566 - 2570 แล้ว เมื่อวันที่ 30 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2565 สถานศึกษาสามารถ ดำเนินการตามแผนใหบ้ รรลุตามเปา้ หมายท่กี ำหนดไว้ต่อไป แผนพัฒนาการจัดการศึกษาสำเร็จลงได้ด้วยดีเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจาก นายธิติพนธ์ ระลอกแก้ว ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดกาญจนบุรี คณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหนองปรือ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ครูอาสาสมัครการศึกษานอก โรงเรียน และครู กศน.ตำบล สังกดั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนอง ปรือ ตัวแทนนักศึกษาสังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองปรือ ตัวแทนชุมชน ตัวแทนภาคีเครือข่ายหน่วยงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอหนองปรือ ขอขอบพระคณุ ทุกทา่ น มา ณ ทีน่ ้ดี ว้ ย (นางสาวรินรดา ภโู ต) ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอบ่อพลอย รักษาการในตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอหนองปรอื

สารบญั หน้า บทที่ 1 ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา……………………………………………………………..……….… 1 สภาพทัว่ ไปของสถานศึกษา…………………………………………………………………………………………….… 1 ประวัติความเป็นมาของสถานศกึ ษา………………………………………..…………………………………………. 1 สภาพชุมชน.................................................................................................................... ................ 2 ทำเนียบผบู้ ริหาร............................................................................................................................. 4 โครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา....................................................................................... 5 ขอ้ มูลครูและบุคลากรทางการศึกษา............................................................................................... 6 แหล่งเรยี นร้แู ละภาคีเครอื ข่าย……………………………..……………………………….………………….…....…. 6 บทที่ 2 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา……………………………….….……. 8 ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี………………………………………………………….………………………..……….…….….. 8 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579………………………………………………………….…………… 11 นโยบายของรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (นางสาวตรีนุช เทียนทอง) ………………………………….... 14 แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570)…………………… 17 สาระสำคัญของแผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (พ.ศ. 2560 - 2579)…………………………………………………………………….……………………………..… 18 มาตรฐานและตวั บง่ ชป้ี ระกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา กศน…………………………………….……… 21 ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21…………………………………………………………………………………….. 23 บทท่ี 3 ทิศทางการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา...................................................................... 27 ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั ............................................................................................................ 27 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม.......................................................................................................... 53 กลยุทธ์ของสถานศึกษา……………………………….............................................................................. 58 บทท่ี 4 แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม...................................................................................... 59 4.1 แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนงานงบประมาณ.................................................... 59 4.2 แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผน/งานพฒั นาคณุ ภาพของสถานศึกษา.................... 64 ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………68

1 - การกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอ/เขต เพ่ือการประกนั คุณภาพ ภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566- พ.ศ. 2570……………………………………… 69 -คำสั่งแตง่ ตง้ั คณะทำงาน/คณะกรรมการจดั ทำแผนพัฒนาการจดั การศึกษา..............................73 คณะผจู้ ดั ทำ…………………………………………………………………………………..…………………………... 74

บทที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของสถานศึกษา สภาพทัว่ ไปของสถานศึกษา ชอื่ สถานศกึ ษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองปรือ ที่อยู่ เลขที่ - หมู่ที่1 ถนนเฉลิมรัตน์ ตำบลหนองปรือ อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณยี ์ 71220 E-mail : npnfe๑๒@hotmail.com สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประวัติความเปน็ มาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองปรือ สำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ กศน. อำเภอหนองปรือ จัดตั้งขึ้นตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2537 ให้ เป็นสถานศึกษาสังกัดการบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลาง สำนักงานจังหวัดกาญจนบุรี กรมการ ศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ในปี 2537 กรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้แต่งตั้ง นาย กาญจนัฐ สีสด มาดำรงตำแหน่งหัวหน้าศูนย์ฯ ทำหน้าที่บริหารและดำเนินงานการศึกษานอก โรงเรียนในพื้นที่อำเภอหนองปรือ ในขณะนั้นยังไม่มีสำนักงานเป็นสถานที่ปฏิบตั ิงาน จึงต้องอาศัย ส่วนหนึ่งของสำนักงานศึกษาธิการอำเภอเป็นสำนักงานช่ัวคราว ต่อมา ในปี พ.ศ. 2538 ประชาชนในเขตอำเภอหนองปรือ และอำเภอบ่อพลอย ได้บริจาค สมทบเพื่อสร้างห้องสมุดประชาชน จำนวน 100,000 บาท รวมกับเงินงบประมาณอีกจำนวน 450,000 บาท สร้างห้องสมุดประชาชนอำเภอหนองปรือ และได้ย้ายสำนักงานศูนย์บริการ การศึกษานอกโรงเรียนอำเภอหนองปรือ มาตั้งในห้องสมุดประชาชนอำเภอหนองปรือ ตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพนั ธ์ 2538 เปน็ ต้นมา

2 ประวตั ิห้องสมุดประชาชนอำเภอหนองปรือ ห้องสมุดประชาชนอำเภอหนองปรือตั้งอยู่ในบริเวณ ที่ว่าการอำเภอหนองปรือ อยู่ใน บริเวณเดียวกับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองปรือ สำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัยาศัยจังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัยาศยั สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร ห้องสมุดประชาชนอำภอหนองปรือ ตัง้ ข้ึนเมอ่ื ปี พ.ศ. 2538 โดยใชง้ บประมาณ 550,000 บาทจากการทอดผ้าป่าจากประชาชนในเขตอำเภอหนองปรือและเขตอำเภอบ่อพลอย เป็นเงิน 100,000 บาท และจากเงินงบประมาณจากกรมการศึกษานอกโรงเรียน จำนวน 450,000 บาท จากนั้นจงึ เรมิ่ ดำเนนิ การจัดสร้างห้องสมดุ ตามแบบแปลนของกรมการศกึ ษานอกโรงเรียน เป็นรูปทรง ชนั้ เดียวเหมอื นกับรปู แบบของหอ้ งสมดุ ประชาชนประจำอำเภอทัว่ ๆ ไป เปน็ อาคารเอกเทศ ช้ันเดียว พื้นที่ 2 งาน 8 ตารางวา พื้นที่ตัวอาคาร 200 ตารางเมตร ตามแบบแปลนของกรมการศึกษานอก โรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ อยู่ในเขตชุมชน การคมนาคมสะดวก สภาพภายนอกอาคาร เป็น อาคารคอนกรีต ประตูกระจก มีสวนหย่อมด้านหน้า หลังคาบุด้วยกระเบื้องสีสันสดใส สภาพภายใน อาคาร แบ่งเป็นสองฝงั่ ปัจจบุ ันการดำเนนิ งานห้องสมุดประชาชน ให้ชุมชนเขา้ มามีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการ แหล่งเรียนแห่งนี้ ในรูปแบบคณะกรรมการห้องสมุด ทั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา และคณะกรรมการ ดำเนินงาน บทบาทของห้องสมุดประชาชนอำเภอหนองปรือ จัดการศึกษาตามอัธยาศัยและส่งเสริม การจัดการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบโรงเรียน ส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ สภาพของชุมชน อาณาเขต อำเภอหนองปรือตงั้ อยู่ทางทิศเหนือของจังหวดั มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการ ปกครองขา้ งเคยี งดงั ตอ่ ไปนี้ ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กับอำเภอด่านช้าง จงั หวัดสพุ รรณบุรี ทิศใต้ ติดตอ่ กับอำเภอบอ่ พลอย จงั หวดั กาญจนบรุ ี ทิศตะวันออก ติดตอ่ กบั อำเภอเลาขวัญ จงั หวัดกาญจนบรุ ี ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกบั อำเภอศรีสวสั ด์ิ จังหวดั กาญจนบุรี

3 สภาพภมู ปิ ระเทศ อำเภอหนองปรือมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มในหุบเขา กล่าวคือ จะมีภูเขาล้อมรอบพื้นที่ ทั้งหมดและมีลำน้ำหลายสายไหลมาจากภูเขาลงสู่ใจกลางพื้นที่จนเกิดลำห้วยสายหลัก คือ ลำตะเพิน ลักษณะลำห้วยสว่ นใหญ่เป็นลำน้ำท่ีมีลักษณะตื้นเขนิ ด้วยหินตะกอนเกือบทุกสาย ลักษณะเชน่ นี้ในฤดูฝน กระแสน้ำไหลบ่าจากภูเขารอบข้างจึงไหลลงอย่างรวดเร็ว และรุนแรง เพราะพื้นที่ลำห้วยไม่สามารถรับ น้ำไวไ้ ด้สภาพพ้ืนท่ีดนิ ส่วนใหญ่เป็นดินรว่ นปนทราย ยกเว้นทางด้านทิศตะวันออกของพื้นท่ีมีลูกรังปะปน อยู่เป็นจำนวนมากอย่างไรก็ตาม พื้นที่ส่วนใหญ่สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจได้ตามฤดูกาลสำหรับ ทรัพยากรธรรมชาติด้านป่าไม้แต่เดิมนั้น อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้นานาพันธุ์ จนสามารถที่จะเปิด สัมปทานได้ ต่อมาพื้นที่ป่าไม้ถูกทำลายลงเป็นจำนวนมาก จึงเหลือป่าไม้อยู่ไม่ถึง 10 % ของพื้นที่ ทงั้ หมด ดงั นัน้ ความอุดมสมบูรณ์และความชุ่มชื้นในพื้นทจ่ี ึงเปล่ยี นไป ส่งผลกระทบต่ออาชีพเกษตรกรรม พอสมควร สภาพภมู ิอากาศ จากสภาพที่ทรัพยากรป่าไม้ถูกทำลายจนมีผลกระทบต่อสุขภาพทางธรรมชาติ จึงเกิด สภาวะภูมิอากาศวปิ รติ ฝนไม่ตกต้องตามฤดู เกิดสภาวะอากาศแห้งแล้ง ฤดูร้อนจะร้อนจัด ช่วง กลางวันถึงค่ำอากาศรอ้ นอบอ้าว แต่พอใกล้สว่างอากาศจะหนาวเย็น ซึ่งเป็นความหนาวเย็นที่แหง้ แลง้ ไม่มีนำ้ ค้างทจ่ี ะทำให้ความชมุ่ ชนื้ ต่อพืชพรรณตา่ ง ๆ ได้ การปกครอง อำเภอหนองปรอื แบง่ เขตการปกครองยอ่ ยออกเป็น 3 ตำบล อำเภอหนองปรือแบ่ง การปกครองออกเป็น 3 ตำบล 43 หมูบ่ ้าน 1 อบต. และ 3 เทศบาล ได้แก่ 1. ตำบลหนองปรือ (Nong Prue) 22 หมู่บา้ น 2. ตำบลหนองปลาไหล (Nong Pla Lai) 14 หมู่บ้าน 3. ตำบลสมเด็จเจรญิ (Somdet Charoen) 7 หมูบ่ ้าน ประชากร ประชากรท้ังหมด 31,535 คน ความหนาแนน่ ของประชากรเฉลี่ยต่อพน้ื ท่ี ประมาณ 62.79 คน/ตารางกิโลเมตร (ข้อมลู ณ วันที่ 25 พฤศจกิ ายน 2565) สภาพทางเศรษฐกิจ 234,090 ไร่ การเกษตรกรรม อำเภอหนองปรอื มพี ืน้ ทกี่ ารเกษตร ปรมิ าณ

4 การศึกษา - โรงเรยี นมัธยมศึกษา 2 แหง่ ดำเนนิ การสอนแบบศึกษาสงเคราะห์ มีนกั เรียนประจำ และไปกลับ 1 แห่ง และแบบทั่วไป 1 แห่ง ปิดสอนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ถึง มัธยมศึกษาปที ี่ 6 - โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 18 โรง เปิดสอนระดับชั้น ป.1 – ป.6 และ ม.1 – ม.3 (ขยายโอกาส จำนวน 5 โรง) - กศน.อำเภอหนองปรือ เปิดสอนระดบั ชนั้ ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ศาสนา ประชากรกว่า 90% นับถือศาสนาพุทธ มีวัดและสำนักสงฆ์ 34 แห่ง ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่สำคัญของอำเภอหนองปรือ คือ การทำบุญวันสงกรานต์ งานแห่ปราสาทผึ้ง ซึ่งจะจัด งานตรงกับวันท่ี 17 เมษายน ของทุกปี ทำเนียบผบู้ รหิ าร ที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลาท่ี ดำรงตำแหนง่ 1 นายกาญจนฐั สีสด ผอู้ ำนวยการ พ.ศ.2537-2548 2 นายสมชาย แสงดว่ น ผู้อำนวยการ พ.ศ.2549-2550 3 นายสมชาย เขยี วแกว้ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2551-2552 4 นางบุญปลกู สจั จะเวทะ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2552-2553 5 นางสดุ ารัตน์ วสุพลวิรฬุ ห์ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2553-2554 6 นายชนิ กร คะอังกุ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2555-2557 7 นางปณุ นภา เชิดเพชรรัตน์ ผอู้ ำนวยการ พ.ศ.2557-2558 8 นางสาวฐณัชพร นาห่อม ครู คศ 1 (รักษาการ) พ.ศ.2558-2561 9 นางสาวจริ าภา วิชาชาญ ผู้อำนวยการ (รกั ษาการ) พ.ศ.2561-2561 10 นางสาววารณุ ี แดงเพชร ครูผชู้ ว่ ย (รักษาการ) พ.ศ.2561-2562 11 นางสาวธนทร สาลีพันธ์ ผอู้ ำนวยการ พ.ศ.2562-2564 12 นางสาวรินรดา ภโู ต ผอู้ ำนวยการ (รกั ษาการ) พ.ศ.2564-ปจั จุบนั

โครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา 5 ผอู้ ำนวยการ คณะกรรมการสถานศึกษา กศน.อำเภอหนองปรือ กลมุ่ งานอำนวยการ กลุม่ งานการศกึ ษานอกระบบ กลุ่มงานการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั และภาคเี ครอื ข่าย 1.1 งานธุรการและงานสารบรรณ 2.1 งานสง่ เสริมการรู้หนงั สอื 3.1 งานส่งเสริม สนับสนนุ ภาคีเครือขา่ ย 1.2 งานการเงนิ 2.2 งานการศกึ ษาพนื้ ฐานนอกระบบ 3.2 งานกจิ การพิเศษ 1.3 งานบญั ชี 2.3 งานบนั ทกึ ขอ้ มูลการศกึ ษานอกระบบ 1.4 งานงบประมาณและระดมทรพั ยากร 2.4 งานการศกึ ษาต่อเน่อื ง 3.2.1 งานโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก 1.5 งานพสั ดุ พระราชดำริ 1.6 งานบุคคล 2.4.1 งานการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชพี 1.7 งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ 2.4.2 งานการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ 3.2.2 งานปอ้ งกัน แกไ้ ขปัญหายาเสพ 1.8 งานแผนงานและโครงการ 2.4.3งานการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคม และ ติด/โรคเอดส์ 1.9 งานประชาสัมพันธ์ ชุมชน 1.10 งานสวสั ดกิ าร 2.4.4 งานเศรษฐกิจพอเพียง 3.2.3 งานส่งเสริมกิจกรรม 1.11 งานข้อมลู สารสนเทศและการรายงาน 2.5 งานการศกึ ษาตามอัธยาศยั ประชาธิปไตย 1.12 งานควบคุมภายใน 2.5.1งานจัด พฒั นาแหล่งเรยี นรู้และภมู ิ 1.13 งานนเิ ทศภายใน ติดตามและ ปัญญาทอ้ งถนิ่ 3.2.4 งานสนบั สนนุ ส่งเสริมนโยบาย 2.5.2งานจัดและพัฒนา กศน.ตำบล จังหวัด/อำเภอ ประเมินผล 2.5.3งานห้องสมุดประชาชน 1.14 งานเลขานุการและคณะกรรมการ 2.5.4งานการศึกษาเคลื่อนท่ี 3.3 งานกิจการลูกเสือ และยุวกาชาด 2.5.5งานการศึกษาทางสอื่ สารมวลชน 3.4 งานนโยบายเร่งดว่ น สถานศกึ ษา 2.6 งานพฒั นาหลักสูตร ส่ือ นวัตกรรม 1.15 งานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และเทคโนโลยที างการศึกษา - Smart ONIE 2.7 งานทะเบยี นและวดั ผล - ดิจทิ ลั OOCC 2.8 งานศนู ย์บรกิ ารให้คำปรึกษาแนะนำ - สขุ ภาวะ 2.9 งานกจิ การนกั ศึกษา - งานผ้สู ูงอายุ 2.10 งารประเมินระดับการรหู้ นงั สอื 3.5 สถานศกึ ษาสีขาว 2.11 งานเทียบระดบั การศกึ ษา 2.12 งานประชากรวยั เรียนทีอ่ ยู่นอกระบบ

6 ขอ้ มลู ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประเภท/ตำแหน่ง จำนวน (คน) รวม ตำ่ กวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก จำนวน ผูบ้ รหิ าร 11 ขา้ ราชการครู 22 บุคลากรทางการศึกษา 11 ลกู จ้างประจำ พนกั งานราชการ 44 บรรณารักษ์อตั ราจ้าง ครศู ูนย์การเรยี นชมุ ชน ลกู จ้างชัว่ คราว ครปู ระจำกลุ่มทหารกองประจำการ รวม 71 8 แหลง่ เรียนรู้และภาคเี ครือขา่ ย กศน.ตำบล ที่ตั้ง ผูร้ ับผดิ ชอบ นางสาวศิรภิ า หงษ์ขาว กศน.ตำบลหนองปรือ หมู่ 1 ตำบลหนองปรือ นางสาวพจนยี ์ ชาวทหาร นายโชคชัย ย้งั ประยุทธ์ กศน.ตำบลหนองปลาไหล หมู่ 4 ตำบลหนองปลาไหล ทีต่ ัง้ กศน.ตำบลสมเด็จเจรญิ หมู่ 5 ตำบลสมเดจ็ เจรญิ หมู่ 7 ตำบลหนองปรือ รวมจำนวน 3 แห่ง หมู่ 4 ตำบลสมเดจ็ เจริญ แหลง่ เรยี นรอู้ ่ืน ประเภทแหล่งเรยี นรู้ หมู่ 4 ตำบลหนองปลาไหล ตำบลหนองปรือ โครงการอา่ งเก็บน้ำกระพร้อย อนั การเกษตร ตำบลหนองปลาไหล ตำบลสมเด็จเจริญ เนือ่ งมาจากพระราชดำริ หมู่ 1 ตำบลหนองปรือ หมู่ 8 ตำบลหนองปลาไหล โครงการหว้ ยองคต อันเน่ืองมาจาก หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง พระราชดำริ กลุ่มแปรรปู สับปะรด การเกษตร บา้ นหนังสือชมุ ชน การศึกษาตามอธั ยาศัย บา้ นหนังสอื ชุมชน การศึกษาตามอธั ยาศัย บ้านหนังสือชุมชน การศึกษาตามอธั ยาศัย กลมุ่ สมุนไพรบ้านอดลุ กาญจนกจิ การเกษตร วัดหนองขอนเทพพนม ศาสนา รวมจำนวน 8 แห่ง

7 ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ความรู้ความสามารถ ทอี่ ยู่ นายสมนึก แซ่เตยี ว การเกษตร ตำบลหนองปรือ นางจิราวรรณ อินทรกลุ การเกษตร ตำบลหนองปรือ นายมานะ อินทรมณี การทำเกษตรปลอดสารพิษ ตำบลหนองปลาไหล นายธงชัย ใจหนักดี การทำเกษตรกรรมไรส่ บั ปะรด ตำบลหนองปลาไหล และการทำสวนขนนุ นายชรนิ ทร์ กลั่นแฮม การทำเกษตรผสมผสาน ตำบลสมเด็จเจรญิ นายวฒุ ิชัย แกว้ ดอนไพร การแปรรปู ตำบลสมเดจ็ เจริญ รวมจำนวน 6 คน ภาคเี ครือขา่ ย ทอ่ี ยู/่ ทต่ี ั้ง ท่วี ่าการอำเภอหนองปรอื ตำบลหนองปรือ ชมรมกำนนั ผใู้ หญบ่ ้าน ตำบลหนองปรือ โรงเรยี นอนุบาลหนองปรือ ตำบลหนองปรือ โรงเรียนหนองปรอื พทิ ยาคม ตำบลหนองปรือ สำนักงานพฒั นาชมุ ชนอำเภอ ตำบลหนองปรือ หนองปรอื สำนกั งานเกษตรอำเภอหนองปรือ ตำบลหนองปรือ วัดเขามุสิการาม ตำบลหนองปรือ วดั หนองขอนเทพพนม ตำบลหนองปลาไหล วัดสมเดจ็ เจรญิ ตำบลสมเด็จเจรญิ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล ตำบลสมเดจ็ เจริญ บ้านหนองผกั แว่น ศูนยเ์ รยี นรแู้ ละฝกึ อาชพี ชุมชนบ้าน ตำบลสมเด็จเจรญิ สวนสำเนียงไพร รวมจำนวน 11 แห่ง

8 บทท่ี 2 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2566 – 2570 ระยะเวลา 5 ปี มีแนวทางการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาดงั น้ี 1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี วิสัยทศั น์ “ประเทศมีความม่ันคง มัง่ คง่ั ยง่ั ยนื เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพฒั นาตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง”และเป็นคติพจน์ประจำชาติวา่ “มั่นคง ม่งั คัง่ ยัง่ ยนื ” เปา้ หมายหลกั การพัฒนาใหค้ นไทยมีความสุขและตอบสนองต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชนแ์ ห่งชาติใน การที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคน ไทย สังคมมีความมนั่ คง เสมอภาคและเปน็ ธรรม ประเทศสามารถแข่งขันไดใ้ นระบบเศรษฐกิจ 1. ความมนั่ คง 1.1 การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศ และภายนอก ประเทศในทุกระดบั ทง้ั ระดับประเทศ สังคม ชมุ ชน ครวั เรอื น และปจั เจกบคุ คล และมี ความม่ันคงในทุกมติ ิ ทงั้ มิติเศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดล้อม และการเมอื ง 1.2 ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ที่เข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางและที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความ ม่ันคงเปน็ กลไกท่ีนำไปสูก่ ารบริหารประเทศท่ีตอ่ เนื่องและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล 1.3 สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อพัฒนา ประเทศ ชุมชน มคี วามเขม้ แข็ง ครอบครวั มคี วามอบอนุ่ 1.4 ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคงพอเพียงกับการ ดำรงชวี ติ มที ี่อยู่อาศยั และความปลอดภยั ในชวี ิตทรัพย์สิน 1.5 ฐานทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม มคี วามมนั่ คงของอาหาร พลังงาน และนำ้ 2. ความมงั่ ค่ัง

9 2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ยกระดับเป็นประเทศ ในกลุ่มรายได้สูง ความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนา อย่างเทา่ เทียมกันมากขึน้ 2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขนั สูง สามารถสร้างรายได้ทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสำคัญของการเชื่อมโยงใน ภูมิภาค ทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้าการลงทุนและการทำธุรกิจ มีบทบาทสำคัญในระดับ ภมู ภิ าคและระดับโลก เกิดสายสมั พันธท์ างเศรษฐกิจและการคา้ อยา่ งมีพลัง 2.3 ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ทุน มนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 3. ความยงั่ ยนื 3.1 การพฒั นาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดีไม่ สรา้ งมลภาวะต่อสง่ิ แวดลอ้ มจนเกินความสามารถในการรองรบั และเยยี วยาของระบบนิเวศน์ 3.2 การผลิตและการบริโภคเปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม และสอดคล้องกบั กฎระเบียบ ของประชาคมโลก ซ่ึงเปน็ ท่ยี อมรบั ร่วมกนั ความอดุ มสมบูรณข์ องทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม มคี ุณภาพดขี ึ้น คนมคี วามรับผิดชอบตอ่ สงั คม มคี วามเอ้อื อาทร เสียสละเพอื่ ผลประโยชน์ส่วนรวม 3.3 ประชาชนทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง พนั ธกิจ 1. ยุทธศาสตร์ดา้ นความมน่ั คง 1.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ 1.2 การพัฒนาศักยภาพในการป้องกันประเทศ พร้อมรับมือกับภัยคุกคามทั้งทาง ทหาร และภัยคกุ คามอนื่ ๆ 1.3 บรู ณาการความรว่ มมือกับต่างประเทศท่ีออื้ ให้เกิดความม่ันคง ความมั่งคัง่ ทาง เศรษฐกจิ ปอ้ งกันภัยคกุ คามข้ามชาติ และคุณภาพชีวิตของคนในชาติ 1.5 การรกั ษาความมัน่ คง และผลประโยชน์ทางทรพั ยากรธรรมชาติและทางทะเล

10 1.5 การบริหารจัดการความมั่นคง ให้สอดคล้องกับแผนงานพัฒนาอื่น ๆ เพื่อ ช่วยเหลือประชาชน และร่วมพัฒนาประเทศ 2. ยุทธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 2.1 การพัฒนาภาคการผลิตและบรกิ าร 2.2 การพัฒนาสังคมผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Society) เพื่อสร้าง ผู้ประกอบการทางธุรกจิ 2.3 การพัฒนาปัจจัยสนับสนุน และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขนั 2.4 การวางรากฐานที่แข็งแกร่ง เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขนั 3. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.1 การปรับเปลี่ยนค่านิยม และวัฒนธรรม (Transformation of Culture) เพ่ือ สรา้ งคนไทยที่มคี ุณภาพ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวินัย เคารพกฎหมาย 3.2 การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ 3.3 การปฏริ ูปการเรียนรู้แบบพลกิ โฉม (Transformation of Learning) 3.4 การพฒั นาและรกั ษากลุ่มผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ (Talents) 3.5 การเสรมิ สร้างให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดี 3.6 การสรา้ งความอยู่ดีมสี ุขของครอบครัวไทย 4. ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งความมั่นคงในชีวิตและ ทรัพยส์ ินของคนทุกกลุ่มในสงั คม 4.2 การสรา้ งโอกาสการเข้าถึงบริการทางสงั คมอย่างทวั่ ถงึ 4.3 การเสริมสร้างพลงั ทางสงั คม 4.4 การสรา้ งความสมานฉนั ท์ในสงั คม 5. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม 5.1 จดั ระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟแู ละป้องกนั การทำลายทรพั ยากรธรรมชาติ 5.2 วางระบบบรหิ ารจัดการน้ำอย่างบรู ณาการให้มีประสิทธิภาพใน 25 ลุ่มน้ำท้ัง ดา้ นอปุ สงค์และอปุ ทาน

11 5.3 พัฒนาและใชพ้ ลงั งานท่เี ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อมในทกุ ภาคเศรษฐกิจ 5.4 พฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเมอื งท่ีเปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม 5.5 ร่วมลดปัญหาโลกร้อนและปรับตัวให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ 5.6 ใชเ้ ครื่องมอื ทางเศรษฐศาสตรแ์ ละนโยบายการคลังเพ่อื ส่งิ แวดล้อม 6. ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ 6.1 การวางระบบบริหารงานราชการแบบบรู ณาการ 6.2 การยกระดับงานบริการประชาชน และการอำนวยความสะดวกของภาครัฐสู่ ความเปน็ เลศิ 6.3 การปรบั ปรุงบทบาท ภารกจิ และโครงสร้างของหนว่ ยงานภาครัฐ 6.4 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ ในการ ปฏบิ ตั ิราชการและมีความเปน็ มอื อาชพี 6.5 การตอ่ ตา้ นการทุจริตและประพฤติมชิ อบ 6.6 การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับให้มีความชัดเจน ทันสมัย เปน็ ธรรม และสอดคล้องกบั ขอ้ บังคบั สากลหรือข้อตกลงระหวา่ งประเทศ ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ 1) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมัน่ คง 2) ยุทธศาสตร์ด้าน การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 3) ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากร มนษุ ย์ 4) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและ พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั 2. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 วสิ ยั ทัศน์ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่าง เป็นสขุ สอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกสตวรรษที่ 21” เปา้ หมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) 5 ประการ 1. ประชากรทกุ คนเขา้ ถึงการศกึ ษาที่มคี ุณภาพและมมี าตรฐานอย่างทวั่ ถงึ (Access)

12 2. ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน อย่างเท่าเทยี มกนั (Equity) 3. ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็ม ตามศักยภาพ (Quality) 4. ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่ ค้มุ คา่ และบรรลุเปา้ หมาย (Efficiency) 5. ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและ บรบิ ททเ่ี ปลี่ยนแปลง (Relevancy) ยุทธศาสตร์หลักที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ20ปี(ยุทธศาสตร์และเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร)์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมละประเทศชาติ มี เปา้ หมาย ดงั นี้ 1.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข 1.2 คนทุกชว่ งวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นท่ีพิเศษ ได้รบั การศกึ ษาและเรยี นรูอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ 1.3 คนทุกช่วงวัยได้รบั การศึกษา การดแู ลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรปู แบบใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศมเี ป้าหมาย ดังนี้ 2.1 กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาด งานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญ และเป็นเลิศเฉพาะด้าน 2.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ มลู คา่ เพ่ิมทางเศรษฐกจิ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ มีเป้าหมาย ดงั นี้

13 3.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและ คณุ ลกั ษณะท่จี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศกึ ษาและมาตรฐานวชิ าชีพ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตได้ตามศกั ยภาพ 3.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตาม หลกั สูตรอยา่ งมคี ุณภาพและมาตรฐาน 3.4 แหลง่ เรียนรู้ สอ่ื ตำราเรยี น นวตั กรรม และสื่อการเรียนรู้มคี ุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ 3.5 ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตาม และประเมินผลมปี ระสทิ ธิภาพ 3.6 ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ไดม้ าตรฐานระดบั สากล 3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม มาตรฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา มเี ป้าหมาย ดงั น้ี 4.1 ผู้เรยี นทุกคนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศึกษาท่มี คี ุณภาพ 4.2 การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสำหรับคนทุก ช่วงวัย 4.3 ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็น ปัจจบุ ัน เพ่อื การวางแผนการบริหารจดั การศกึ ษา การติดตามประเมิน และรายงานผล ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ ส่งิ แวดล้อม มีเปา้ หมาย ดังนี้ 5.1 คนทกุ ชว่ งวยั มจี ติ สำนึกรักสงิ่ แวดลอ้ ม มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และนำแนวคิดตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบตั ิ 5.2 หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ ปฏบิ ัติ 5.3 การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ี เป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม

14 ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา มีเป้าหมาย ดงั น้ี 6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ 6.2 ระบบบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา 6.3 ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและพน้ื ท่ี 6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรบั ลักษณะท่ี แตกตา่ งกันของผเู้ รยี น สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกำลังแรงงานของประเทศ 6.5 ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็น ธรรมสรา้ งขวญั กำลังใจ และส่งเสรมิ ใหป้ ฏิบัตงิ านได้อยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ 3. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร (นางสาวตรนี ชุ เทยี นทอง) ตามทร่ี ัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรีนุช เทยี นทอง) ไดม้ อบนโยบาย และยุทธศาสตร์ ในการปฏิบัติงานให้กับผู้บริหารระดับสูง บุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานในกำกับเพื่อเป็น แนวทางในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาให้ให้เกิดความเชื่อมั่น และสร้างความมั่นใจให้กับสังคมโดยมอบ หลักการทำงาน นโยบายหลกั และนโยบายเร่งด่วน ดงั ต่อไปน้ี ๑. หลักการทำงาน “สร้างความเชื่อมั่น และความไว้วางใจให้กับสังคม” หรือ “TRUST” ภายใต้ หลักการ ดังน้ี T (Transparency) หมายถึง ความโปร่งใส ทั้งในเชิงกระบวนการทำงานและกระบวนการ ตรวจสอบจากภาคสว่ นต่าง ๆ R (Responsibility) หมายถึง ความรับผิดชอบ สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดำเนินการ ตามภารกจิ ของตนดว้ ยความรับผิดชอบต่อตัวเอง องคก์ ร ประชาชน และประเทศชาติ U (Unity) หมายถึง ความเป็นอันหน่ึงอนั เดยี ว ระหว่างครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ผ้เู รยี น และประชาชน S (Student-Centricity) หมายถึง ผู้เรียนเป็นเป้าหมายแห่งการพัฒนา โดยการทำให้ผูเ้ รียน มีวิธีคิดและทักษะที่เป็นสากลสอดคล้องกับพลวัตในศตวรรษที่ ๒๑ ควบคู่ไปกับสำนึกและความเข้าใจในความ เปน็ ไทย

15 T (Technology) หมายถึง ความพร้อมด้านเทคโนโลยี ทั้งในเชิงโครงสร้าง (Infrastructure) ได้แก่ สิ่งจำเป็นและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการศึกษา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำของโอกาสในการศึกษาและใน เชงิ การเรยี นรู้ (Learning) ไดแ้ ก่ แหล่งข้อมูล แหลง่ เรียนรรู้ ปู แบบต่าง ๆ ทีท่ นั สมัยช่วยให้ผ้เู รียนทุกคนถึงพร้อม ซึง่ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ทุกประการ ๒. นโยบายการจดั การศึกษาทั้ง ๑๒ ข้อ ดังน้ี ข้อ ๑ การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปลี่ยนแปลงของ โลกในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุ่งพัฒนาผูเ้ รยี นทกุ ระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับ บริบทสงั คมไทย ขอ้ ๒ การพฒั นาคุณภาพและประสิทธิภาพครแู ละอาจารย์ในระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานและ อาชีวศกึ ษาให้มสี มรรถนะทางภาษาและดจิ ิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพฒั นาให้มีสมรรถนะ ท้ังด้านการ จัดการเรียนรู้ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใช้สื่อทันสมัย และมีความ รับผิดชอบตอ่ ผลลัพธท์ างการศกึ ษาท่เี กิดกบั ผูเ้ รยี น ข้อ ๓ การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวติ ประจำวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์ม การเรียนรูด้ ้วยดิจิทัลแห่งชาติ ที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ทีท่ ันสมยั และเข้าถึงแหลง่ เรียนรู้ ได้อย่างกว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ประสิทธภิ าพการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา ข้อ ๔ การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคลอ่ งตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา โดยใช้จังหวัด เปน็ ฐาน โดยอาศยั อำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ไดร้ ับการปรับปรุง เพ่อื กำหนดให้มรี ะบบบริหารและ การจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มี ความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มีระบบการบริหารงาน บคุ คลโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล ข้อ ๕ การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบวัด ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบการ ประเมนิ ผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ไดร้ บั การปรับปรุงให้ทันสมัย ตอบสนอง ผลลัพธ์ทางการศึกษาได้อยา่ งเหมาะสม ข้อ ๖ การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดม ทรพั ยากรทางการศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคสว่ น เพ่อื ให้การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษามคี วามเป็นธรรม และสร้างโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอื่น ๆ กระจายทรัพยากรท้ัง บุคลากรทางการศึกษา งบประมาณ และสื่อเทคโนโลยไี ด้อย่างท่ัวถึง

16 ข้อ ๗ การนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การ ปฏิบัติเป็นการผลิตและการพัฒนากำลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศโดยใช้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงระบบ การศึกษาและการอาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิต และการจัดทำมาตรฐาน อาชพี ในสาขาท่ีสามารถอ้างอิงอาเซยี นได้ ข้อ ๘ การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพื่อเป็นการขับเคลื่อนแผนบูรณาการการพัฒนา เด็กปฐมวัยตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.๒๕๖๒ สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงานที่ เก่ียวขอ้ งนำไปเป็นกรอบในการจัดทำแผนปฏิบตั ิการเพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั และมกี ารติดตามความก้าวหน้าเป็น ระยะ ข้อ ๙ การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อให้ผู้จบ การศึกษาระดับปริญญาและอาชีวศึกษามีอาชีพและรายได้ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพและคุณภาพชีวิตที่ดีมี ส่วนช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ในเวทโี ลกได้ ข้อ ๑๐ การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทย ด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยที ่ีทันสมัยมาใช้ ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา เพอื่ ให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมา ใชใ้ นการจดั การศกึ ษาผา่ นระบบดจิ ทิ ลั ข้อ ๑๑ การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทาง การศกึ ษา และผู้เรยี นทีม่ ีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ เพ่อื เพ่มิ โอกาสและการเข้าถงึ การศึกษาที่มคี ุณภาพของกลุ่ม ผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษา และผเู้ รยี นทมี่ ีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ ข้อ ๑๒ การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอด ชีวิตและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่ม ผ้ดู ้อยโอกาสทางการศึกษาและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ใน ปัจจุบัน ได้ก่อให้เกิดความนิยมในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ (Online) มากยิ่งขึ้น ส่งผลกระทบอย่างมี นัยสำคัญ ต่อการเตรียมผู้เรียนไทยให้มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) และความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ (Resilience) รวมถึงปัญหาความ ปลอดภัยของสถานศึกษา และปัญหาความเหลื่อมล้ำของโอกาสในการศึกษา ที่นับวันจะทวีความรุนแรงมาก ยงิ่ ขึ้น ๓. นโยบายระยะเร่งด่วน (Quick Win) ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ๑) ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครองความ ปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแลตนเองจากภัย อนั ตรายต่าง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสงั คม

17 ๒) หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายโดยยึดความสามารถของ ผู้เรียนเป็นหลัก และพัฒนาผเู้ รียนให้เกิดสมรรถนะทีต่ ้องการ ๓) ฐานข้อมูล Big Data พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้ำซ้อน เพื่อให้ได้ ข้อมูลภาพรวมการศึกษาของประเทศที่มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถนำมาใช้ ประโยชนไ์ ด้อยา่ งแทจ้ ริง ๔) ขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการ ดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเป็นเลิศของแต่ละ สถานศึกษา และตามบรบิ ทของพนื้ ที่ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศทง้ั ในปจั จุบันและอนาคต ตลอดจน มีการจัดการเรียนการสอนดว้ ยเคร่ืองมือท่ีทันสมยั สอดคลอ้ งกับเทคโนโลยปี จั จุบัน ๕) พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ สรา้ งอาชพี และรายไดท้ เี่ หมาะสม และเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ๖) การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย ให้มีคุณภาพ และมาตรฐาน ประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐานเหมาะสม และเต็ม ตามศักยภาพตง้ั แตว่ ัยเด็กจนถึงวยั ชรา และพฒั นาหลักสตู รทเ่ี หมาะสมเพ่อื เตรียมความพร้อมในการเขา้ สู่สังคมผู้ สูงวยั ๗) การจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจดั การศึกษาใหผ้ ้ทู ี่ มีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ สามารถดำรงชวี ติ ในสงั คมอย่างมเี กยี รติ ศักดิ์ศรี เท่าเทียมกับผู้อ่นื ในสังคม สามารถชว่ ยเหลือตนเองและมีส่วนรว่ มในการพัฒนาประเทศ 4. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) ไดก้ ำหนดทิศทาง และเป้าหมายของการพัฒนาบนพื้นฐานของแนวคิดที่สำคัญ 4 ประการ ประกอบด้วย หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิด Resilience เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ และ โมเดลเศรษฐกิจ BCG โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ “พลิกโฉมประเทศไทยสู่ สงั คมกา้ วหน้า เศรษฐกิจสร้าง มูลค่าอย่างยง่ั ยืน” ซึง่ ประเด็นทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับแผนพฒั นางานของสำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี ใน ประเดน็ ดงั นี้ เป้าหมายการพฒั นา เปา้ หมายที่ 3 ประชาชนทุกกลุ่มเข้าถงึ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ ตัวชี้วดั ที่ 3.1 การประเมินสมรรถนะผู้ใหญ่ในระดับนานาชาติของคนไทยในทุกด้าน ไม่ต่ำกวา่ คา่ เฉลยี่ ของ ประเทศท่เี ข้ารบั การประเมนิ ตัวชี้วัดที่ 3.2 กลุ่มประชากรอายุ 15 – 24 ปี ที่ไม่ได้เรียน ไม่ได้ทำงาน หรือไม่ได้ ฝกึ อบรม ไมเ่ กินรอ้ ยละ 5 เมอ่ื สิน้ แผนฯ กลยทุ ธก์ ารพัฒนา

18 กลยุทธ์ที่ 3 การสง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ กลยุทธ์ย่อยที่ 3.1 พัฒนาระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยส่งเสริมให้ภาค ส่วนต่าง ๆ สร้าง และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยกำหนดมาตรการจูงใจที่เหมาะสมเพื่อให้ สถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการส่วนทอ้ งถิ่น องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน โดยเฉพาะผู้ประกอบการ startup สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย มีสาระที่ทันสมัย สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผ้เู รียนทุก กลุ่ม ครอบคลมุ ทุกพื้นที่ เข้าถงึ ได้ง่ายทง้ั พน้ื ทก่ี ายภาพ และ พื้นที่เสมือนจริง สร้างสื่อการเรียนรู้ที่ไม่ทิ้งใครไว้ ข้างหลัง โดยการสร้างสื่อที่ใช้ภาษาถิ่นเพื่อให้ ประชาชนที่ไม่ได้ใช้ภาษาไทยกลางเป็นภาษาหลักเข้าถึงได้ สื่อทางเลือกส สำหรับผู้พิการทางสายตา และผู้พิการทางการได้ยิน รวมถึงสนับสนุนกลุ่มประชากรที่มีข้อจำกัดทาง เศรษฐกิจให้เข้าถึงสื่อใน ราคาที่เข้าถึงได้ การพัฒนาระบบธนาคารหน่วยกิต ของประเทศให้เกิดขึ้นอย่างเป็น รูปธรรม ที่ สามารถเชือ่ มโยงการเรยี นรู้ในทุกระดบั และประเภททั้งในระบบสายสามัญ สายอาชพี การศึกษานอก ระบบและตามอัธยาศยั ต้ังแต่มัธยมศกึ ษา อาชีวศึกษา และอดุ มศกึ ษา และนอกระบบ เพ่ือสรา้ งความ คล่องตัว และเปิดทางเลือกในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนทุกระดับ กำหนดมาตรการจูงใจให้ ประชาชน พัฒนา ตนเองด้วยการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยจัดให้มีแหล่งเงินทุนเพื่อการเรียนรู้ตลอด ชีวิต อาทิ การพัฒนาเครดิตการฝึกอบรมสำหรบั คนทุกกลุ่ม การจัดสรรสทิ ธพิ เิ ศษในการเข้ารับบริการ ฝึกอบรม การเข้าชมแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ส่งเสริมให้เอกชนที่ผลิตนวัตกรรมทางการศึกษา จัดท า กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ขององค์กร โดยกำหนดเงื่อนไขการให้ใช้ผลิตภัณฑ์โดยไม่มี ค่าใชจ้ า่ ย กลยุทธ์ย่อยที่ 3.2 พัฒนาทางเลือกในการเข้าถึงการเรียนรู้สำหรับผู้ที่ไม่สามารถ เรียนในระบบ การศึกษาปกติ โดยจัดทำข้อมูลและส่งเสริมการจัดทำแผนการเรียนรู้ที่มีความยืดหยนุ่ และหลากหลาย ของกลุม่ เป้าหมายเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถวางเส้นทางการ เรียนรู้ที่ตอบสนองต่อ จุดมุ่งหมายในอนาคตของตนเอง และสามารถเทียบโอนประสบการณ์ได้ทั้งน้ี ให้มีการพัฒนาบุคลากรที่ เกี่ยวข้องในทุกระดับให้มีความเข้าใจและมีสมรรถนะในการพัฒนาผู้เรียน กลมุ่ เป้าหมายพิเศษท่ีมคี วามตอ้ งการ ท่ซี บั ซอ้ น 5. สาระสำคัญของแผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (พ.ศ. 2560 - 2579) วิสยั ทัศน์ “คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถ ดำรงชวี ิตท่เี หมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมที ักษะท่ีจำเป็น ในโลกศตวรรษท่ี 21”

19 เป้าหมายหลัก 1) คนไทยสามารถเข้าถึงบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทง้ั การเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ ท่มี ีคณุ ภาพ และมาตรฐานอยา่ งท่วั ถงึ 2) คนไทยมสี มรรถนะและทกั ษะในการดำรงชวี ิตทีเ่ หมาะสมกบั ชว่ งวยั สอดคล้องกับ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 3) หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพเพ่ือให้ บรกิ ารการศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งทั่วถึงและมีประสิทธภิ าพ 4) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้การ บรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล 5) ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชวี ิต เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มและกระจายโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาและการเรียนรู้ท่ี มคี ณุ ภาพ เป้าหมายตามยทุ ธศาสตร์ 1) คนไทยได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน 2) แหล่งเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน ประชาชน สามารถเข้าถงึ ได้โดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานท่ี 3) คนไทยทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจชายแดนใต้ และพื้นที่พิเศษได้รับ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยทมี่ ีคณุ ภาพ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคนทุกช่วงวัยใหม้ สี มรรถนะ และทักษะ เหมาะสมมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ดี ี เปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ 1) คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษา และพัฒนา คุณภาพชีวติ ได้ตามศักยภาพ 2) คนไทยได้รบั การพฒั นาสมรรถนะและทักษะในการดำรงชีวิตทเี่ หมาะสมกับช่วงวัย และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 รวมพ้ืนทช่ี ายแดนใตแ้ ละพ้ืนท่ีพเิ ศษ

20 3) ระบบการวัดผลและประเมินผลและการเทยี บโอนการศกึ ษาท่มี ีประสทิ ธิภาพ 4) คนไทยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ 5 สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรม กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมี คุณภาพ มาตรฐาน 6) ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะอย่างต่อเน่อื ง 7) กลุ่มผู้ด้อยโอกาส กลุ่มผู้พลาดโอกาส และกลุ่มผู้ขาดโอกาส ได้รับโอกาสในการ พฒั นาสมรรถนะและทกั ษะในการดำรงชวี ติ เพื่อการมคี ุณภาพชีวิตท่ีดี 8) ผู้เรียน ผู้รับบริการ ได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้ารับการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยา่ งมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่ือการศึกษาสำหรับคนทุก ชว่ งวยั เปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ 1) โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาของหน่วยงานและ สถานศึกษามคี วามทนั สมัย และมคี ุณภาพ 2) ระบบฐานข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาครอบคลุม ถูกต้อง เป็น ปัจจุบัน และระบบเชื่อมโยงกบั หน่วยงานอ่ืนเพ่ือประโยชน์ในการจดั และบริการการศกึ ษาได้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศึกษา และสง่ เสริมใหท้ ุกภาคส่วนมบี ทบาท และมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา เพอ่ื สรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ เปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ 1) ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 2) ระบบบริหารงานบุคคล มีความเป็นธรรม สร้างขวัญและกำลังใจ และส่งเสริมให้ ปฏบิ ตั ิงานไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ 3) บุคลากรทุกประเภท ทุกระดับ ได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ ตามมาตรฐาน ตำแหนง่ รวมท้ังบทบาทภารกจิ ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 4) กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง รองรับการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับบริบทของสภาพสงั คม

21 5) ระบบและกลไกการวัด ติดตาม และประเมินผลการศึกษาและการเรียนรู้มี ประสทิ ธิภาพ 6) ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และการเรียนรู้ท่ี ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในพื้นที่ / ชมุ ชน 5. มาตรฐานและตวั บ่งช้ปี ระกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กศน.3 มาตรฐาน 20 ตวั บ่งชี้ ดงั นี้ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รียน/ผรู้ บั บริการ การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พื้นฐานมีคณุ ธรรม 1.2 ผเู้ รียนการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานมที ักษะกระบวนการคดิ ทกั ษะการแสวงหาความรู้ เรียนร้อู ย่างต่อเนอ่ื ง และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดำรงชวี ติ 1.3 ผเู้ รียนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมีความรูพ้ น้ื ฐาน การศึกษาต่อเนอ่ื ง 1.4 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบ อาชีพ 1.5 ผ้เู รียนหรือผเู้ ข้ารับการอบรมปฏบิ ัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1.6 ผู้เรยี นหรือผเู้ ข้ารบั การอบรมสามารถใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม การศึกษาตามอธั ยาศัย 1.7 ผูร้ บั บริการไดร้ ับความรแู้ ละ/หรือประสบการณจ์ ากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 2.1 คณุ ภาพครกู ารศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2.2 คุณภาพของหลักสตู รสถานศกึ ษา 2.3 คุณภาพส่อื ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา 2.4 คุณภาพการจดั กระบวนการเรียนรูต้ ามหลักสูตรสถานศกึ ษา การศึกษาต่อเนอ่ื ง

22 2.5 คณุ ภาพวิทยากรการศึกษาตอ่ เน่ือง 2.6 คณุ ภาพของหลักสตู รและส่อื การศกึ ษาตอ่ เน่ือง 2.7 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นรู้การศึกษาต่อเนอ่ื ง การศึกษาตามอัธยาศัย 2.8 คุณภาพผจู้ ดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั 2.9 คณุ ภาพกระบวนการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 3 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การการศกึ ษา 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลักธรรมาภิบาล 3.2 การส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาของภาคเี ครอื ข่าย 3.3 การมสี ว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษา 3.4 การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

23 7. ทักษะที่สำคญั ของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 โลกมีการเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวด มาจากการเปลย่ี นแปลงทางสังคม การแพร่กระจาย ทางวฒั นธรรม ทำให้เกิดค่านยิ มใหม่ ๆ ขึ้น ซ่ึงมกี ารเปลย่ี นแปลงทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21ที่สำคญั คือ 1.ความรู้เก่ียวกับโลก (Global Awareness)ดา้ นกายภาพ เชน่ มีอากาศรอ้ นขน้ึ 2. ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ด้านเศรษฐกิจ เปลี่ยนจากการทำเกษตรกรรม เป็นอุตสาหกรรม และภาคอุตสาหกรรมอาจจะมีการลดแรงงานลงด้านเทคโนโลยี มีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ทำให้มติ ริ ะยะเวลาและสถานท่ีหายไป มกี ารใช้คอมพวิ เตอร์ การสือ่ สาร เทคโนโลยีอวกาศ เช่น Face book Line เป็นตน้ 3. ความรดู้ ้านการเป็นพลเมือง (Civic Literacy) ดา้ นสถาบนั ครอบครวั จากครอบครัวใหญ่ เปน็ ครอบครวั เล็ก ๆ ดา้ นการเมอื ง เป็นโลกเสรปี ระชาธิปไตย 4. ความรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literacy) 5. ความรูด้ า้ นสง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental Literacy) ทักษะดา้ นการเรียนรู้และนวตั กรรม (Learning and innovation) จะเป็นตวั กำหนดความ พรอ้ มของผู้เรยี นเข้าสู่โลกการทำงานทม่ี คี วามซับซอ้ นมากขึ้นในปจั จบุ ัน ไดแ้ ก่ 1. ความรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์และนวัตกรรม(Creatively and innovation) 1.1 การคิดอย่างสร้างสรรค์ 1.2 ทำงานกับผู้อน่ื อย่างสรา้ งสรรค์ 1.3 การสรา้ งนวัตกรรม 2. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) 2.1 การใหเ้ หตผุ ลอย่างมปี ระสทิ ธิผล 2.2 การใชก้ ารคดิ อย่างเปน็ ระบบ 2.3 การพจิ ารณาและการตัดสนิ ใจ 3. การสือ่ สารและการร่วมมือ(Communication and Collaboration) 3.1 สื่อสารอยา่ งชดั เจน 3.2 การรว่ มมอื กับผ้อู ่ืน ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information Media and Technology Skills) เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมี

24 ความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัย ความร้ใู นหลายดา้ น ดงั นี้ 1. ความรดู้ ้านสารสนเทศ 1.1 การเข้าถงึ และการประเมินขอ้ มลู สารสนเทศ 1.2 การใชแ้ ละการจดั การสารสนเทศ 2. ความรเู้ กย่ี วกับสอื่ 2.1 การวิเคราะหส์ ่ือ 2.2 การผลติ สื่อ 2.3 การพจิ ารณาและตดั สินใจ 2.4 การแกป้ ญั หา 3. ความรู้ด้านเทคโนโลยี 3.1 การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างมปี ระสิทธิภาพ ทักษะด้านชีวิตและการทำงาน (Life and Career Skills) ในการดำรงชีวิตและทำงานใน ยุคปัจจุบนั ใหป้ ระสบความสำเรจ็ ผูเ้ รยี นจะต้องพฒั นาทกั ษะชวี ิตท่สี ำคัญดงั ต่อไปน้ี 1. ความยืดหยุ่นและการปรับตวั 1.1 ความยืดหยุ่น 1.2 การปรบั ตวั เพื่อพร้อมรบั การเปลีย่ นแปลง 2. การรเิ ร่ิมสร้างสรรค์และเปน็ ตัวของตัวเอง 2.1 กำหนดเปา้ หมายความสำเรจ็ 2.2 ทำงานดว้ ยตนเอง 2.3เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง เรยี นร้สู ง่ิ ใหม่ 2.4 ริเรม่ิ พฒั นาทกั ษะสู่ระดับอาชพี 3. ทกั ษะสงั คมและสงั คมข้ามวัฒนธรรม 3.1 มปี ฏิสัมพนั ธอ์ ยา่ งมีประสิทธภิ าพกับผู้อน่ื 3.2 ทำงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพในทมี ท่มี ีความหลากหลาย 4. การเป็นผสู้ รา้ งหรือผูผ้ ลติ (Productivity) และความรับผดิ ชอบตรวจสอบได้ (Accountability) 4.1 การบรหิ ารจัดการโครงการ 4.2 การผลิตผลงาน

25 5. ภาวะผู้นำและความรับผดิ ชอบ (Responsibility) 5.1 แนะนำผู้อื่นได้ 5.2 รบั ผดิ ชอบตอ่ อ่นื ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 ทท่ี กุ คนจะต้องเรยี นรู้ตลอดชวี ิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R ได้แก่ - Reading (อ่านออก) - (W) Riting (เขยี นได้ - (A) Rithemetics (คิดเลขเปน็ ) 7C ได้แก่ - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม) - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์) - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การ ทำงานเป็นทีม และภาวะผนู้ ำ) - Communications, Information, and Media Literacy (ท ั ก ษ ะ ด ้ า น ก า ร ส่อื สารสารสนเทศ และรู้เท่าทนั ส่อื ) - Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร) - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) - Compassion (คุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งคุณลักษณะพื้นฐาน สำคัญของทักษะขั้นตน้ ท้งั หมด) สรุป โลกในศตวรรษที่ 21 ต้องการทักษะใหม่ ๆ เชน่ - การอา่ น ออกเขียนได้ - ต้องการรู้ภาษามากกวา่ 1 ภาษา - ความรู้ดา้ นคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

26 - สุขภาพอนามยั - เศรษฐกิจ - สมรรถนะทเ่ี น้นทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ การวพิ ากษ์ - ทักษะการสร้างนวัตกรรม โดยจะทำอย่างไรที่จะเปลี่ยนงานวิจัยมาเป็นเงิน ใครทำก่อน รวยก่อน - ทกั ษะการส่ือสาร ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ โดยการบอกลำดับขั้นตอนได้ พูดเป็น - ทักษะการทำงานร่วมกบั ผอู้ ่นื ได้ ต้องเขา้ ใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม - ทกั ษะการจัดวางตนเองให้อยู่ในสังคมได้ เช่น บุคลิกภาพซ่ึงซ่อนอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง การเออ้ื เฟ้ือเผ่ือแผ่ ความใฝร่ ้ใู ฝเ่ รียนซ่ึงเป็นหัวใจสำคัญของ PLC การตระหนักถึงสังคม เป็นต้น สมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการไดก้ ำหนดไว้ ดงั น้ี 1. สมรรถนะหลกั (Core Competency) 5 ประการ ได้แก่ 1.1 การมงุ่ ผลสมั ฤทธข์ิ องการปฏิบตั ิงาน 1.2 การบรกิ ารท่ดี ี 1.3 การพฒั นาตนเอง 1.4 การทำงานเป็นทมี 1.5 จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณครู 2. สมรรถนะตามสายปฏบิ ัติงาน (Functional Competency) 6 ประการ ไดแ้ ก่ 2.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 2.2 การพัฒนาผ้เู รียน 2.3 การวิเคราะห์ สังเคราะหแ์ ละวิจัยเพือ่ พฒั นาผู้เรียน 2.4 ภาวะผู้นำ 2.5 การสร้างความสัมพนั ธ์ และความรว่ มมือกับชุมชน

27 บทที่ 3 ทิศทางการดำเนินงานของสถานศกึ ษา 1. ผลการดำเนินงานย้อนหลงั จากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถนำมากำหนดทิศทางการดำเนินงานเพ่ือ การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 1. ข้อมูลผลการดำเนินงาน (ปีทผี่ า่ นมา)  การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (ย้อนหลงั 3 ป)ี ระดบั ปีงบประมาณ2563 ปงี บประมาณ2564 ปีงบประมาณ2565 ภาคเรียน จำนวน นศ. จำนวนผจู้ บ จำนวน นศ. จำนวนผูจ้ บ จำนวน นศ. จำนวนผู้จบ 2/62 1/63 2/62 1/63 2/63 1/64 2/63 1/64 2/64 1/65 2/64 1/65 ประถมศึกษา 2 1 14 มธั ยมศกึ ษา 29 34 11 14 33 22 11 1 17 22 ตอนต้น มธั ยมศกึ ษา 26 38 14 14 34 11 46 39 46 ตอนปลาย รวม 57 72 26 28 67 22 22 47 57 72 การศึกษาตอ่ เน่ือง(ยอ้ นหลงั 3 ปี) ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 เปา้ หมาย ผจู้ บ เปา้ หมาย ผู้จบ ที่ กจิ กรรม/โครงการ เป้าหมาย ผ้จู บ (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) 489 498 495 544 1 โครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น 432 489 23 70 25 70 132 172 127 207 2 โครงการสง่ เสรมิ การรู้หนงั สือ 40 70 93 104 21 35 3 โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน 230 272 24 30 15 63 4 โครงการจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนา 150 171 ทกั ษะชวี ติ 5 โครงการเรียนรหู้ ลักปรชั ญาของ 36 52 เศรษฐกิจพอเพียง

28 ปงี บประมาณ 2563 ปงี บประมาณ 2564 ปงี บประมาณ 2565 ที่ กิจกรรม/โครงการ เป้าหมาย ผูจ้ บ เป้าหมาย ผู้จบ เปา้ หมาย ผจู้ บ (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) 6 โครงการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นา 116 122 55 72 15 37 สงั คมและชมุ ชน 7 โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศัย 17,520 22,841 16,980 17,408 13,610 14,359 8 โครงการภาษาอังกฤษเพอ่ื การ 17 21 24 24 15 31 ส่ือสารด้านอาชพี 9 โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั 90 100 45 45 10 โครงการจดั สรา้ งแหลง่ เรยี นรูช้ ุมชน 3 แหง่ 3 แห่ง 3 แหง่ 3 แห่ง 3 แห่ง 3 แหง่ ในตำบล(จัดซอ้ื หนังสอื พิมพ์/ส่อื สำหรบั กศน.ตำบล) 11 โครงการความร่วมมอื การผลิต 20 20 ผู้ดูแลผ้สู งู อายุ 12 โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจดั 20 20 20 20 การศึกษาตลอดชวี ติ เพอื่ คง พัฒนาการ ทางกาย จิต สมอง ของ ผสู้ ูงอายุ 13 โครงการเทยี บโอนความรู้ ระดบั - 6 21 การศกึ ษา มิตคิ วามรคู้ วามคิด 14 โครงการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา 8 8 9 98 8 15 โครงการประกนั คณุ ภาพภายใน 8 8 88 สถานศกึ ษา 16 โครงการพฒั นาบคุ ลากร 88 88

29 2. ขอ้ มลู ผลการประเมินตนเองและแนวทางการพัฒนา (ยอ้ นหลัง 2 ป)ี 2.1 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองตามรายมาตรฐานของสถานศกึ ษาโดยภาพรวมในแต่ละ มาตรฐานและประเด็นการพิจารณา ของสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 และปีงบประมาณ พ.ศ.2564 มีดงั นี้ ตางรางที่ 1 สรปุ ผลการประเมินตนเองโดยภาพรวมในแตล่ ะมาตรฐานและประเดน็ การพิจารณาของ สถานศกึ ษา ดังน้ี ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ตนเองของ ตนเองของ มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา นำ้ หนัก สถานศกึ ษา สถานศึกษา (คะแนน) ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ ท่ีได้ คุณภาพ ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ มาตรฐานคุณภาพการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษา 50 38.34 ดีเลศิ 38.84 ดีเลศิ นอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธ์ิ 10 7.5 ดี 7.5 ดี ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตร สถานศึกษา 1.2 ขั้นพื้นฐานมีคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและ 10 8 ดีเลศิ 8.5 ดเี ลิศ คุณลักษณะทีด่ ีตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถ 5 3 ดี 3 ดี ในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณและ แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นรว่ มกับผู้อ่นื 1.4 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถ 5 3 ดี 3 ดี ในการสร้างสรรคง์ าน ชนิ้ งาน หรอื นวตั กรรม 1.5 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถ 4 3.40 ดีเลศิ 3.40 ดีเลิศ ในการใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั 1.6 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทาง 4 3.44 ดีเลิศ 3.44 ดีเลิศ กาย และสุนทรยี ภาพ

30 ผลการประเมนิ ผลการประเมนิ ตนเองของ ตนเองของ มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา นำ้ หนัก สถานศึกษา สถานศึกษา (คะแนน) ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 คะแนน ระดบั คะแนน ระดบั ท่ีได้ คณุ ภาพ ทไี่ ด้ คุณภาพ 1.7 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถ 4 3.60 ยอด 3.60 ยอด ในการอ่านการเขียน เยย่ี ม เยย่ี ม 1.8 ผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานนำความรู้ทักษะ 8 6.40 ดีเลศิ 6.40 ดีเลิศ พื้นฐานท่ไี ด้รบั ไปใช้หรอื ประยุกตใ์ ช้ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอก 20 18 ยอด 18 ยอด ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียน เย่ียม เยี่ยม เปน็ สำคัญ 2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้อง 5 5 ยอด 5 ยอด กับบริบทและความต้องการของผู้เรียนชุมชน เยย่ี ม เยยี่ ม ทอ้ งถิ่น 2.2 สอ่ื ทเ่ี อือ้ เฟือ้ ต่อการเรียนรู้ 5 4 ดีเลศิ 4 ดเี ลศิ 2.3 ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการ 5 5 ยอด 5 ยอด เรียนรทู้ ่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั เยีย่ ม เยยี่ ม 2.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรูข้ องผู้เรียน 5 4 ดีเลศิ 4 ดีเลศิ อย่างเป็นระบบ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของ 30 27.20 ยอด 27.20 ยอด สถานศกึ ษา เยยี่ ม เยยี่ ม 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาทีเ่ น้นการ 3 3 ยอด 3 ยอด มสี ว่ นรว่ ม เย่ยี ม เยี่ยม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของ 4 3.2 ดเี ลิศ 3.2 ดีเลศิ สถานศกึ ษา 3.3 การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรของสถานศึกษา 3 2.4 ดเี ลศิ 2.4 ยอด เยย่ี ม 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการ 3 2.4 ดีเลศิ 2.4 ดีเลิศ บรหิ ารจัดการ

31 ผลการประเมนิ ผลการประเมิน ตนเองของ ตนเองของ มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา น้ำหนัก สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา (คะแนน) ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 คะแนน ระดบั คะแนน ระดบั ที่ได้ คุณภาพ ทไี่ ด้ คณุ ภาพ 3.5 การกำกับนิเทศติดตามประเมินผลการ 3 2.4 ดเี ลิศ 2.4 ดเี ลศิ ดำเนนิ งานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ 3 2.4 ดเี ลิศ 2.4 ดีเลศิ สถานศกึ ษาที่เปน็ ไปตามบทบาททกี่ ำหนด 3.7 การส่งเสริมสนับสนุนภาคเี ครือข่ายให้มีสว่ น 3 5 ยอด 5 ยอด ร่วมในการจัดการศึกษา เยี่ยม เยย่ี ม 3.8 การส่งเสรมิ สนับสนุนการสรา้ งสงั คมแห่งการ 5 4 ยอด 4 ยอด เรียนรู้ เยีย่ ม เยย่ี ม 3.9 การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษา 3 2.4 ดเี ลิศ 2.4 ดีเลศิ สถานศกึ ษา มาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาตอ่ เนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษา 50 40.80 ดีเลศิ 40.80 ดีเลศิ ตอ่ เนอ่ื ง 1.1 ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ 10 8 ดเี ลศิ 8 ดีเลศิ ความสามารถและหรือทักษะและหรือคุณธรรม เปน็ ไปตามเกณฑก์ ารจบหลักสูตร 1.2 พูดจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถ 20 16.80 ดีเลิศ 16.80 ดเี ลิศ นำความรู้ที่ได้ไปใช้หรือประยุกต์ใช้บนฐาน คา่ นยิ มร่วมของสงั คม 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ 20 16 ดเี ลิศ 16 ดเี ลศิ ไปใชจ้ นเห็นเป็นประจกั ษ์หรือตัวอย่างทีด่ ี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้ 20 16.00 ดีเลิศ 16 ดเี ลศิ การศกึ ษาตอ่ เนื่อง 2.1 หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื งมีคณุ ภาพ 4 3.20 ดีเลศิ 3.20 ดเี ลิศ

32 ผลการประเมนิ ผลการประเมิน ตนเองของ ตนเองของ มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา น้ำหนกั สถานศกึ ษา สถานศึกษา (คะแนน) ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 คะแนน ระดบั คะแนน ระดบั ทไี่ ด้ คณุ ภาพ ท่ีได้ คุณภาพ 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ 4 3.20 ดีเลิศ 3.20 ดีเลิศ ความสามารถหรือประสบการณ์ตรงตาม หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอื่ ง 2.3 ซือ้ ทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ 4 3.20 ดเี ลศิ 3.20 ดเี ลศิ 2.4 การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษา 4 3.20 ดีเลิศ 3.20 ดเี ลศิ ตอ่ เนื่อง 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเน่ือง 4 3.20 ดเี ลศิ 3.20 ดเี ลิศ ท่มี ีคุณภาพ มาตรฐานคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบริการ 50 40 ดเี ลศิ 41 ดีเลศิ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้หรือทักษะหรือ 50 40 ดเี ลศิ 41 ดีเลิศ ประสบการณ์สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ โครงการหรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตาม 20 16.25 ดเี ลศิ 16 ดเี ลิศ อธั ยาศัย 2.1 การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษา 5 4 ดีเลิศ 4 ดีเลิศ ตามอธั ยาศยั 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ความสามารถในการ 5 4.25 ดเี ลศิ 4 ดีเลิศ จัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อหรือนวัตกรรมและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือ 5 4 ดเี ลศิ 4 ดีเลศิ ต่อการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั 2.4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัด 5 4 ดีเลิศ 4 ดีเลิศ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

33 หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาถใช้ร่วมกันได้ทั้งมาตรฐาน การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเน่อื ง และมาตรฐานการศึกษา ตามอธั ยาศัย ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองปรือ มีคา่ คะแนนผลการ ประเมินตนเองของสถานศึกษาโดยภาพรวม ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เท่ากับ 83.73 อย่ใู นระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองปรอื มีคา่ คะแนนผลการ ประเมินตนเองของสถานศกึ ษาโดยภาพรวม ในปงี บประมาณ พ.ศ.2564 เท่ากับ 84.08 อย่ใู นระดับ คณุ ภาพ ดีเลศิ

34 ตารางท่ี 2 สรุปผลคณุ ภาพของสถานศึกษาโดยภาพรวม มีดังน้ี คะแนนจากผลการประเมินคุณภาพ รวม คะแนนท่ีได้ มาตรฐานการศึกษา ดา้ นท่ี 1 คุณภาพ ดา้ นท่ี 2 ด้านที่ 3 คุณภาพ 100 คะแนน แต่ละประเภท ของผเู้ รียน คณุ ภาพการจดั การบรหิ ารจัดการ พ.ศ. พ.ศ. ระดบั 2563 2564 คุณภาพ การศึกษา ของสถานศึกษา 83.54 84.04 ดีเลศิ คะแนนเต็ม 50 คะแนน 20 คะแนน 30 คะแนน 84.00 84.00 ดเี ลิศ ปงี บประมาณ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 83.45 84.20 ดเี ลศิ ดีเลศิ 2563 2564 2563 2564 2563 2564 83.66 84.08 มาตรฐานการศึกษา 38.34 38.84 18 18 27.20 27.20 นอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานการศกึ ษา 40.80 40.80 16 16 27.20 27.20 ตอ่ เนื่อง มาตรฐานการศึกษา 40 41 16.25 16 27.20 27.20 ตามอัธยาศยั คะแนนเฉล่ยี จากผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ประเภทการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ระดบั คณุ ภาพจากผลการประเมินคณุ ภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้วา่ สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน อยู่ในระดับ ดีเลศิ ผลการดำเนนิ งาน รอ่ งรอย และหลักฐานทีส่ นบั สนนุ การประเมินคณุ ภาพ สถานศึกษามีผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่สถานศึกษา กำหนดไว้ มีหลักสูตรมีความเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และจัดกิจกรรมได้ ครอบคลุมทุกพื้นโดยผู้เรียน องค์กรนักศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ และได้รับ ความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย/ชุมชน ในการวางแผนทำกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา โดย ผู้บริหารมีภาวะผู้นำสูงและ เปน็ ผ้ใู ฝเ่ รยี นรู้ เอาใจใส่กับการบริหารองค์กร

35 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพ 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย มีการจัดทำแผนรายบุคคล จัดวิธเี รียนรู้ด้วยตนเอง ให้กับ นักศึกษาที่ไม่มเี วลามาเรยี น 2. จัดหาและสนับสนนุ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ เพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพการเรียนการสอนให้ทันสมัย และ เพ่มิ ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยไี ด้อยา่ งเหมาะสม 3. จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัยใหห้ ลากหลายรูปแบบมากยง่ิ ขน้ึ 4. จัดหาสื่อ อุปกรณก์ ารเรียน อุปกรณ์ช่วยสอนให้กับครเู พิ่มมากขึน้ 5. ประชาสัมพนั ธ์ใหห้ ลากหลายรูปแบบ ครอบคลมุ ทุกพน้ื ท่ี 6. จดั กจิ กรรมตอ่ ยอด อย่างต่อเน่อื ง เชน่ การฝกึ ทกั ษะอาชีพ ทกั ษะชวี ิต 7. พัฒนา กศน.ตำบล ศนู ย์การเรียน ใหเ้ ป็นแหล่งเรยี นรู้ และรบั บริการให้กับประชาชนได้ อย่าง ครอบคลมุ ตามภารกจิ กศน. ความต้องการสง่ เสรมิ สนบั สนุนจากหนว่ ยงานต้นสงั กัด 1. สง่ เสริมให้บุคลากรไดพ้ ฒั นาตนเองในทุกๆดา้ น ตามความเหมาะสม 2. ส่งเสริมให้บุคลากรได้มีความรู้ ความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ในการจัดกิจกรรม การเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย 3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การนำภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ มาสนับสนนุ ในการจดั กิจกรรมการศึกษาให้มากข้ึน ได้อย่างเหมาะสม 4. ส่งเสรมิ สนับสนุน ด้านสถานท่ใี นการใช้ดำเนินการจดั การเรยี นรู้ 5. กิจกรรมที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน ควรจะให้หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง เปน็ ผู้ดำเนนิ การ สรปุ ผลการประเมินตนเอง ประเภทการศกึ ษาต่อเนื่อง ระดบั คุณภาพจากผลการประเมินคุณภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปไดว้ ่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาต่อเนื่อง อยใู่ นระดบั ดี ผลการดำเนินงาน รอ่ งรอย และหลักฐานทีส่ นับสนนุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพ “สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่เป็นไปตามสถานการณ์ และความ ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ตรงตามหลักสูตร มีการจัดหาและพัฒนาสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และจัดให้มีการวัดและประเมินผล ผู้เรียนด้วยวิธีการที่เหมาะสมตรงตามจุดประสงค์ของการจัดการศึกษา ส่งผลให้มีผู้สำเร็จการศึกษา มากกว่ารอ้ ยละ 70 และยงั มผี ูส้ ำเร็จการศึกษาต่อเน่ืองบางสว่ น สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการ ประกอบอาชพี ดว้ ย .

36 ทั้งนี้ จากการดำเนินงานของสถานศึกษาทำให้มีร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินงานจริงของสถานศึกษา เช่น มีคู่มือหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อให้ดำเนินงานไปในทิศทางที่ถูกต้อง มีแบบสำรวจความต้องการในการจัดการศึกษาต่อเนื่อง มี หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องของสถานศึกษา มีสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร รายงานผล การจัดการศึกษาต่อเนื่อง แบบรายงานผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ทำเนียบวิทยากรการศึกษา ต่อเนื่อง วุฒิบัตรวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีแบบประเมินความพึงพอใจการศึกษาต่อเนื่อง มีแบบ ติดตามผลผู้จบหลักสูตร เป็นตน้ ” แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพ ในการจัดการศึกษาต่อเนื่องสถานศึกษาคำนึงถึงความต้องการของประชาชนเป็นหลกั มีการ ยืดหยุ่นในเรือ่ งของ เวลา รูปแบบการสอน เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดำเนินงาน กิจกรรมที่จัด มคี วามหลากหลาย เหมาะสมกบั สถานการณ์ที่เกดิ ขึน้ ณ ขนาดนั้น และมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาเป็น ส่ือในการจัดการเรยี นการสอน ความต้องการการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ จากหน่วยงานตน้ สังกดั การจัดสรรงบประมาณ และการกำหนดจำนวนเป้าหมายของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษา ต่อเนื่องควรให้สอดคล้องกัน และการกำหนดจำนวนเป้าหมายของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษา ต่อเนื่องคำนึงถึงความพร้อมของบริบทนั้น ๆ ควรลดจำนวนเป้าหมายของพื้นที่ในชุมชนเมือง เช่น การศึกษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวติ เนื่องจากชมุ ชนเมืองเปน็ ชุมชนทม่ี ภี าระงานประจำ สรุปผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษาตามอธั ยาศัย ระดับคุณภาพจากผลการประเมนิ คุณภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปไดว้ ่า สถานศึกษามคี ุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษา ตามอธั ยาศยั อย่ใู นระดับ ดีเลศิ สรุปผลการประเมินตนเอง ประเภทการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ผลการดำเนินงาน ร่องรอยและหลักฐานทส่ี นบั สนุนผลการประเมินคุณภาพ จดุ เดน่ สถานศึกษาดำเนินการจัดกิจกรรมที่ตรงกับวัตถุประสงค์กลุ่มเป้าหมาย สอดคล้องกับวิถี ชีวิตประจำวันของผู้รับบริการ ซึ่งทำให้สามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตตามความสนใจ ความ ตอ้ งการ เช่น กิจกรรมการอ่านทางออนไลน์ การจดั กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นแบบใช้เกม ไดร้ บั ความสนใจ จากผู้รับบริการ จดุ ท่ีควรพฒั นา

37 สถานศกึ ษาควรพฒั นาผจู้ ดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อยา่ งเป็นกระบวนการและชดั เจน เพือ่ ใหก้ ารจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั อยา่ งมีคุณภาพ และประสทิ ธิภาพ และควรจดั กิจกรรม ท่ีหลากหลายเพ่ือเปน็ ทางเลอื กในการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ แก่ประชาชน แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองปรือ มีการสง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมที่ทนั ตอ่ สถานการณ์ปัจจุบนั และตอบสนองความต้องการของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม โดยเนน้ ความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันให้ทนั ตอ่ สถานการณป์ จั จุบัน ความต้องการการส่งเสรมิ สนบั สนนุ จากหนว่ ยงานตน้ สังกัด - มกี ารจดั ฝึกอบรมให้ความรูเ้ พิม่ เตมิ กับอาสาสมัคร เกีย่ วกับเหตกุ ารณ์ สถานการณ์ท่ีเป็น ปจั จบุ ัน - มกี ารมอบรางวลั หรอื ส่ิงตอบแทน เพื่อเป็นแรงจงู ใจใหก้ ับอาสาสมคั ร 2.2 สรุปผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐานของสถานศึกษาโดยภาพรวมในแต่ละ มาตรฐานและตวั บ่งช้ี ของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 มดี ังน้ี ผลการประเมินตนเองในภาพรวม มีคะแนนรวม เท่ากับ 86.50 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับ คุณภาพดีเลิศ และเมื่อพิจารณาผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน พบว่า มาตรฐานที่ 1 คุณภาพ ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ มคี ะแนนรวม เทา่ กบั 85.40 คะแนน ซงึ่ อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มีคะแนนรวม เทา่ กบั 87.20 คะแนนซ่ึงอยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา มีคะแนนรวม เท่ากับ 86.90 คะแนนซึ่งอยู่ใน ระดับคุณภาพดีเลิศ ตามรายละเอยี ด ดังนี้ ผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา นำ้ หนกั คะแนน ระดับ ท่ไี ด้ คุณภาพ มาตรฐานคุณภาพการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับ 50 42 ดีเลศิ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี 10 10 ยอดเยี่ยม สอดคล้องกบั หลกั สูตร สถานศึกษา

38 1.2 ขั้นพื้นฐานมีคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและคุณลักษณะที่ดีตามท่ี 10 10 ยอดเยย่ี ม สถานศกึ ษากำหนด 5 3 ปานกลาง 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คดิ 5 3 ปานกลาง อย่างมวี จิ ารณญาณและแลกเปล่ยี นความคิดเห็นรว่ มกับผ้อู ืน่ 4 3.20 ดเี ลิศ 1.4 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน 4 3.20 ดีเลศิ ชนิ้ งาน หรอื นวตั กรรม 1.5 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดิจทิ ัล 1.6 ผ้เู รยี นการศกึ ษาข้ันพื้นฐานมสี ุขภาวะทางกาย และสนุ ทรียภาพ 1.7 ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมีความสามารถในการอ่านการเขียน 4 3.20 ดเี ลศิ 1.8 ผจู้ บการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานนำความรทู้ ักษะพน้ื ฐานที่ได้รบั ไปใช้หรือ 8 6.40 ดเี ลศิ ประยุกตใ์ ช้ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา 20 17 ดเี ลิศ ขั้นพ้นื ฐานท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ 2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทและความ 5 4 ดเี ลศิ ต้องการของผู้เรียนชุมชนทอ้ งถ่ิน 2.2 สอื่ ทเ่ี ออ้ื เฟอื้ ตอ่ การเรยี นรู้ 5 4 ดีเลิศ 2.3 ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น 5 5 ยอดเยย่ี ม สำคญั 2.4 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รียนอย่างเปน็ ระบบ 5 4 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 30 27.40 ยอดเย่ยี ม 3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทเ่ี น้นการมสี ว่ นร่วม 3 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 4 3 ยอดเยี่ยม 3.3 การพฒั นาครูและบุคลากรของสถานศึกษา 3 3.20 ดีเลศิ 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ 3 3 ยอดเย่ียม 3.5 การกำกบั นิเทศติดตามประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา 3 3 ยอดเยี่ยม 3 ยอดเยยี่ ม

39 3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตาม 3 2.4 ดเี ลศิ บทบาทที่กำหนด 3.7 การส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัด 3 2.4 ดีเลศิ การศกึ ษา 3.8 การสง่ เสริมสนบั สนนุ การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 5 5 ยอดเยย่ี ม 3.9 การวจิ ยั เพ่ือการบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา 3 2.4 ดีเลศิ มาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาต่อเนอื่ ง มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ้ รียนการศึกษาตอ่ เน่อื ง 50 44 ยอดเยย่ี ม 1.1 ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ความสามารถและหรือทักษะ 10 10 ยอดเยี่ยม และหรือคุณธรรมเปน็ ไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร 1.2 พูดจบหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้หรือ 20 18 ยอดเย่ยี ม ประยุกตใ์ ชบ้ นฐานค่านิยมรว่ มของสังคม 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็น 20 16 ดีเลศิ ประจกั ษห์ รือตัวอยา่ งทีด่ ี มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการเรียนรกู้ ารศึกษาตอ่ เน่อื ง 20 16.80 ยอดเยี่ยม 2.1 หลักสตู รการศึกษาต่อเนื่องมีคณุ ภาพ 4 3.20 ดเี ลศิ 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ความสามารถหรือ 4 4 ยอดเยี่ยม ประสบการณต์ รงตามหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนื่อง 2.3 ซอื้ ทเ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ 4 3.20 ดีเลิศ 2.4 การวัดและประเมินผลผูเ้ รยี นการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 4 3.20 ดีเลิศ 2.5 การจัดกระบวนการเรยี นรกู้ ารศึกษาตอ่ เนอ่ื งทีม่ ีคุณภาพ 4 3.20 ดีเลิศ มาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผรู้ ับบริการการศึกษาตามอธั ยาศยั 50 42.50 ดีเลศิ 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้หรือทักษะหรือประสบการณ์สอดคล้องกับ 50 42.50 ดเี ลศิ วตั ถุประสงคข์ องโครงการหรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย 20 18 ดเี ลศิ 2.1 การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย 5 5 ยอดเย่ียม

40 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษา 5 4 ดเี ลิศ ตามอธั ยาศยั 5 4 ดเี ลศิ 2.3 สื่อหรือนวัตกรรมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษา 5 5 ยอดเย่ียม ตามอัธยาศัย 2.4 ผู้รับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจต่อการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ทั้งน้ี จากการวเิ คราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาการศึกษา สามารถ สรุปจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และวิธีปฏิบัติที่ดี หรือนวัตกรรม หรือตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบของ สถานศกึ ษา ไดด้ งั น้ี การประเมินตนเอง ประเภทการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ระดับคณุ ภาพจากผลการประเมินคุณภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน อยู่ในระดับ ดีเลศิ ผลการดำเนนิ งาน ร่องรอย และหลักฐานที่สนบั สนนุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพ สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2562 – 2565) และ แผนการปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2565 ที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของ สำนักงาน กศน. และบริบทของสถานศึกษา รวมถึงความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น ที่เน้นการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่ายที่มีส่วนช่วยในการจัดกิจกรรมของ กศน. รวมถึงบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผบู้ ริหารสถานศึกษา ขา้ ราชการ พนกั งานราชการ ลูกจ้าง และคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงได้มีการ เสนอแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2562 - 2565) และแผนการปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2565 แก่คณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบและข้อเสนอแนะต่าง ๆ ก่อนที่จะนำไปปรับปรุงใช้ต่อไป ทั้งนี้ ในการดำเนินงานต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถดำเนินงานตามโครงการที่บรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปี โดยใหภ้ าคีเครือขา่ ยมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรม ในเรอ่ื งของวิทยากรให้ความรู้ เรอ่ื งของสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์ และจัดให้มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมอย่าง ต่อเน่ือง สำหรบั การจดั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน นั้น สถานศึกษามกี ารจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษาท่ีได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา มีการจัดทำแผนการสอนรายบุคคล โดยมีการ วิเคราะห์ข้อมูลนักศึกษารายบุคคล เพื่อที่จะได้จัดการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้สื่อเทคโนโลยีเข้ามาสอน(Google classroom) และสอบกลางภาคโดยใช้ระบบ ออนไลน์ (Google Form) มีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายเร่งด่วนของ สำนักงาน กศน.ในเรื่องของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 และจัด

41 โครงการพัฒนาผู้เรียน (รูปแบบออนไลน์) เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น ทั้งในการ ทดสอบการศึกษาระดับชาติ (N-NET) และการสอบปลายภาคเรียน โดยประสานงานภาคีเครือข่ายท่ี มีบุคลากรที่มีความรู้ ความชำนาญในด้านวิชาการในรายวิชาที่ยาก คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ในส่วนของการวัดผลและประเมินผล มีเครื่องมือที่มีคุณภาพ และ สถานศึกษาไดใ้ หค้ รูพฒั นาตนเองในเร่ืองของการจดั การศึกษาแบบออนไลน์ เพอื่ ใหเ้ ข้ากับสถานการณ์ ในปจั จบุ นั แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ประเดน็ ท่คี วรพฒั นา แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 1.ผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐานมีความสามารถในการ สถานศึกษาต้นสังกัด จัดให้มีการประชุมเชิง สรา้ งสรรคช์ นิ้ งาน หรือนวตั กรรม ปฏิบัติการในการจัดทำโครงงานนักศึกษาให้กับครู กศน. เพื่อใช้สำหรับการจัดการเรียนการสอนให้กับ นักศึกษา โดยนำวิทยากรที่มีความชำนาญและ ประสบการณ์มาถา่ ยทอดความร้ใู นการอบรม ความตอ้ งการส่งเสริม สนบั สนุนจากหน่วยงานต้นสงั กัด ต้องการให้ สำนักงาน กศน. จังหวัด จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการใน การจัดทำโครงงานนักศึกษาให้กับครู กศน. เพื่อใช้สำหรับการจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา โดยนำวิทยากรทม่ี ีความชำนาญและประสบการณ์มาถา่ ยทอดความรู้ในการอบรม การประเมินตนเอง ประเภทการศกึ ษาตอ่ เน่ือง ระดับคุณภาพจากผลการประเมินคณุ ภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนือ่ ง อยู่ในระดับ ดเี ลศิ ผลการดำเนินงาน ร่องรอย และหลักฐานทส่ี นับสนุนผลการประเมินคุณภาพ สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ มาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2562 - 2565) และแผนการ ปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2564 ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรใน สถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง และ คณะกรรมการสถานศึกษา ซงึ่ ไดม้ กี ารเสนอแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2562 – 2565) และ แผนการปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2564 แก่คณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาเพื่อพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะก่อนที่จะนำไปใช้ต่อไป ทั้งนี้ ในการดำเนินงานต่าง ๆ ภายในสถานศกึ ษา สถานศึกษาสามารถดำเนินงานได้เปน็ ไปตามแผนปฏิบัติการประจำปี ทก่ี ำหนด

42 ไว้ โดยการมีส่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ย และจัดใหม้ กี ารกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง สำหรับการจัดการศึกษาต่อเนื่อง นั้น สถานศึกษามีการจัดหา และ พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องที่มีความหลากหลายเป็นไปตามบริบท และความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งสถานศึกษามีหลักสูตรต่อเนื่อง จำนวนทั้งหมด 29 หลักสูตร เช่น หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปอ้อย การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสับปะรด โครงการกัญชา กัญ ชงเพื่อการเรียนรู้ รักษาสุขภาพ โครงการประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชา สู่ต้นแบบโคกหนองนาโมเดล เป็นต้น ซึ่งสถานศึกษาสามารถนำหลักสูตรมาพัฒนาการศึกษาต่อเนื่องแต่ละหลักสูตรไปใช้ในการ จัดการเรียนรู้ให้กบั กลุ่มเป้าหมายได้ โดยใช้วิทยากรหรือผู้จัดการเรยี นรู้ที่มีความรู้ ความสามารถตรง ตามหลักสูตร และสามารถจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและมี การนำสื่อเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดกระบวนการเรียนรู้ จัดให้มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ สอดคลอ้ งตามวัตถุประสงค์ของแต่ละหลกั สูตร จดั ใหม้ ีครนู ิเทศติดตามผลการจัดกจิ กรรมทุกหลักสูตร ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นการศึกษาต่อเน่ืองจบการศึกษาหลักสตู รในแต่ละหลักสูตร ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของ จำนวนผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาได้จัดให้มีการติดตามผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องใน บางหลักสูตรเท่านั้น และมีผู้จบการศึกษาต่อเนื่องบางส่วนเท่านั้นที่มีการนำความรู้ไปใช้ หรือ ประยกุ ตใ์ ช้ แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ ประเด็นทคี่ วรพฒั นา แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 1. การติดตามการนำความรูไ้ ปใช้ หรือประยกุ ต์ใช้ของ สถานศึกษาควรจัดให้มีการติดตามการนำความรู้ไปใช้ ผ้จู บการศกึ ษาต่อเนอื่ ง หรือประยุกต์ใช้ของผู้จบการศึกษาต่อเนื่องให้ ครอบคลมุ หลักสูตรการศึกษาต่อเนือ่ งมากขน้ึ ความตอ้ งการสง่ เสริม สนับสนนุ จากหนว่ ยงานต้นสังกดั ตอ้ งการให้ สำนกั งาน กศน. จังหวดั จัดให้มกี ารทบทวน ช้แี จง สรา้ งความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดำเนินงานดา้ นการประกนั คณุ ภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี อยา่ งน้อยปีละ 2 ครัง้ การประเมินตนเอง ประเภทการศึกษาตามอธั ยาศยั ระดับคณุ ภาพจากผลการประเมนิ คณุ ภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย อยู่ในระดบั ดีเลศิ ผลการดำเนินงาน ร่องรอย และหลกั ฐานทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมินคณุ ภาพ ดา้ นคณุ ภาพของผูร้ บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั

43 สถานศึกษามกี ารกำหนดเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ อัตลักษณ์ มาตรฐานการศึกษา ของสถานศกึ ษา แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2562 – 2565) และแผนการปฏบิ ตั กิ ารประจำปี พ.ศ. 2564 ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้อง ตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ขา้ ราชการ พนกั งานราชการ ลูกจ้าง และคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงได้มีการ เสนอแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2562 – 2565) และแผนการปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2564 แก่คณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาเพ่ือพิจารณาและให้ ข้อเสนอแนะก่อนที่จะนำไปใช้ต่อไป ทั้งนี้ ในการดำเนินงานต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษา สามารถดำเนินงานได้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจำปี ที่กำหนดไว้ โดยการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่าย และจัดให้มีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานภายในสถานศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง สำหรับการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย นั้น สถานศึกษามีการดำเนินการจัดกิจกรรมอย่าง ต่อเน่อื งท่ีมคี วามหลากหลายเป็นไปตามบรบิ ท และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงสถานศึกษามี กิจกรรม จำนวนทัง้ หมด 6 กิจกรรม 1. โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยห้องสมุดประชาชนอำเภอ 2.ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด 3. โครงการบ้านหนังสือชุมชน 4. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เคลื่อนที่ 5. โครงการ 2 เมษา วันรักการอ่าน 6.กิจกรรมส่งเสริมการอ่านอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ซง่ึ สถานศึกษาสามารถนำกจิ กรรมแตล่ ะกจิ กรรมไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ให้กบั กลมุ่ เป้าหมายได้ โดย ใช้สื่อการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย และทันสมัย และจัดให้มีการจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจใน ทุกกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนผู้ร่วมกิจกรรม สถานศึกษานำสรุปผลความพึงพอใจ เพื่อนำมาปรับปรุงในการจดั กิจกรรมครัง้ ตอ่ ไป แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพ ประเดน็ ท่ีควรพฒั นา แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผรู้ ับบริการมีความตอ้ งการสือ่ ดจิ ิทลั ทท่ี นั สมยั สถานศกึ ษาควรจดั หาสื่อดิจิทัลทีท่ ันสมัยและมีความ หลากหลาย เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และส่ง บรรณารักษ์เข้ารับการอบรมการจัดกิจกรรมด้าน การใช้สอื่ ดิจทิ ลั อย่างตอ่ เนอ่ื ง ความต้องการส่งเสริม สนับสนุนจากหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ต้องการให้ สำนักงาน กศน. จงั หวัด จัดให้มกี ารทบทวน ช้แี จง สรา้ งความเข้าใจเก่ียวกับการ ดำเนนิ งานด้านการประกันคณุ ภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี อย่างน้อยปีละ 2 คร้ัง

44 3. ขอ้ มลู ผลการประเมนิ ต้นสังกดั และแนวทางการพัฒนา (ครัง้ ลา่ สุด) ผลการประเมนิ คุณภาพสถานศกึ ษาโดยตน้ สังกดั มาตรฐาน น้ำหนกั ผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา (คะแนน) คะแนนทไี่ ด้ ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น/ผรู้ บั บรกิ าร 35 28.70 ดี ตัวบง่ ชี้ท่ี 1.1 ผู้เรยี นมสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ดี ี ตวั บ่งชี้ท่ี 1.2 ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะ 3 2.32 ดี ทพ่ี งึ ประสงค์ 3 2.80 ดีมาก ตัวบ่งชท้ี ่ี 1.3 ผ้เู รียนมีความใฝร่ ู้ และเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ตวั บง่ ช้ีท่ี 1.4 ผ้เู รยี นคดิ เป็น ทำเป็น 3 2.35 ดี ตวั บง่ ชี้ที่ 1.5 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รียนการศกึ ษา 3 2.55 ดี นอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1.6 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของผ้เู รยี นการศึกษา 10 2.98 ตอ้ งปรบั ปรงุ ตอ่ เนอื่ ง 5 5.00 ดีมาก ตัวบง่ ชี้ที่ 1.7 ผู้เรียนมีงานทำหรอื มีรายได้เสริม มที ักษะใน 5 5.00 ดีมาก การทำงาน สามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้และ มีเจตคติทีด่ ีต่ออาชีพสุจรติ 3 2.70 ดี ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.8 ความพงึ พอใจต่อการใหบ้ ริการการศึกษาตาม อธั ยาศยั 25 12.00 ตอ้ งปรับปรงุ มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/การใหบ้ รกิ าร เรง่ ดว่ น ตวั บ่งชท้ี ่ี 2.1 คุณภาพของหลักสตู ร 4 2.40 พอใช้ ตวั บ่งชี้ท่ี 2.2 คณุ ภาพของครู 4 2.40 พอใช้ ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.3 คณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนของครู และ 4 1.20 ต้องปรบั ปรุง ผู้สอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ตัวบ่งชี้ท่ี 2.4 คณุ ภาพผู้สอน/วทิ ยากร การศกึ ษาตอ่ เน่ือง เร่งด่วน 3 1.20 ต้องปรับปรงุ ตวั บ่งชี้ท่ี 2.5 คุณภาพส่ือทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรูข้ องผู้เรียน และผ้รู บั บรกิ าร เร่งด่วน 3 1.20 ตอ้ งปรับปรุง ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.6 คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย เรง่ ดว่ น 4 2.40 พอใช้