Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ^คู่มือครู-ออกแบบและเทคโนโลยี

^คู่มือครู-ออกแบบและเทคโนโลยี

Published by orawan.s, 2019-01-03 00:15:46

Description: ^คู่มือครู-ออกแบบและเทคโนโลยี

Search

Read the Text Version

คู่มือครู ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัดกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑



คมู่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์วชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ีชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑จัดทำ�โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการcopyright@2018

คำ�น�ำ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) มหี นา้ ทใ่ี นการพฒั นาหลกั สตู ร วธิ กี ารเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการจัดทำ�หนังสือเรียน คู่มือครู แบบฝึกทักษะ กิจกรรม และสื่อการเรียนรู้เพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ของการจดั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ นี้จัดทำ�ตามสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเน้ือหาเก่ียวกับหลักสูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ตารางวิเคราะห์การจัดทำ�หน่วยการเรียนรู้ รวมทั้งตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ทตี่ อ้ งใชค้ วบค่กู นั สสวท. หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ คมู่ อื ครเู ลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การจดั การเรยี นรู้ และเปน็ สว่ นส�ำ คญั ในการพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ขอขอบคณุ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ บคุ ลากรทางการศกึ ษาและหนว่ ยงานต่าง ๆทม่ี ีสว่ นเกยี่ วข้องในการจัดทำ�ไว้ ณ โอกาสน้ี (นางพรพรรณ ไวทยางกรู ) ผ้อู ำ�นวยการสถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

ค�ำ ชแ้ี จง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจ้ ดั ท�ำ ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเน้นเพ่ือต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถท่ีทัดเทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการ ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย มีการทำ�กิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ซ่ึงในปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นไป โรงเรียนจะต้องใชห้ ลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยได้มีการยา้ ยสาระเทคโนโลยอี อกจากกลมุ่สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มาอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เนื่องจากความรู้ด้านเทคโนโลยีทัง้ การออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคำ�นวณ เปน็ พืน้ ฐานท่ีสำ�คัญและเช่อื มโยงกับวิทยาศาสตรไ์ ด้เปน็ อยา่ งดี สสวท.จึงได้จัดทำ�คู่มือครูประกอบการใช้หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ที่เปน็ ไปตามมาตรฐานหลักสตู รเพ่อื ใหโ้ รงเรยี นน�ำ ไปจัดการเรยี นการสอนในชัน้ เรียน คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ น้ี มีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักสูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) คำ�ช้ีแจงการใช้คู่มือครู ตารางวิเคราะห์การจัดทำ�หน่วยการเรียนรู้รวมทั้งตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหนังสือเรียน โดยมีจุดประสงค์ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของเทคโนโลยี การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ระบบทางเทคโนโลยี วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน กลไก ไฟฟา้และอเิ ล็กทรอนิกส์เบื้องต้น และการแกป้ ัญหาดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ซึง่ ครูผู้สอนสามารถนำ�ไปใชเ้ ป็นแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุจุดประสงค์ที่ต้ังไว้ โดยสามารถนำ�ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสมและความพรอ้ มของโรงเรยี น ในการจดั ท�ำ คมู่ อื ครเู ลม่ นี้ ไดร้ บั ความรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดยี งิ่ จากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ นกั วชิ าการอสิ ระ คณาจารย์รวมท้งั ครูผูส้ อน นักวชิ าการ จากสถาบนั และสถานศกึ ษาท้งั ภาครัฐและเอกชน จงึ ขอขอบคณุ มา ณ ท่ีน้ี สสวท. หวังเปน็ อยา่ งยิง่ ว่าคูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เล่มน้ี จะเป็นประโยชนแ์ กผ่ สู้ อน และผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย ทจี่ ะชว่ ยใหก้ ารจดั การศกึ ษาดา้ นวทิ ยาศาสตรม์ ปี ระสทิ ธภิ าพ หากมขี อ้ เสนอแนะใดที่จะทำ�ใหค้ ู่มือครเู ลม่ น้มี ีความสมบรู ณย์ ่งิ ขน้ึ โปรดแจง้ สสวท. ทราบดว้ ย จะขอบคณุ ยิ่ง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

สารบญั เนอื้ หา หนา้หลักสตู รเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 1ค�ำ ชแ้ี จงการใช้ค่มู อื คร ู 7ตารางวิเคราะห์การจัดท�ำ หน่วยการเรยี นรู้ วชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 15แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 เทคโนโลยรี อบตวั 23แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลย ี 43แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 3 ระบบทางเทคโนโลยี 71แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 4 วสั ดุและเครอื่ งมือช่างพน้ื ฐาน 87แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 5 กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์เบื้องต้น 99แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 6 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 119แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 กรณศี ึกษาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม 141ภาคผนวก 167

1 หลักสูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)1. เปา้ หมายของวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เป็นวชิ าท่ีม่งุ พัฒนาผูเ้ รียนแบบองคร์ วมเพื่อใหม้ ีความรู้ ความสามารถมที กั ษะในการคดิ วเิ คราะห์ แกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน และเปน็ ระบบ เพอ่ื แกป้ ญั หาในชวี ติ จรงิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยเปน็ วชิ าเกย่ี วกบั การพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั เทคโนโลยเี พอื่ ด�ำ รงชวี ติ ในสงั คมทมี่ กี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสรา้ งสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยค�ำ นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คมและส่ิงแวดล้อม2. คุณภาพผ้เู รยี นวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี หลกั สตู รเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี จดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอนตง้ั แตร่ ะดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จนถงึระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โดยมีความคาดหวังเพือ่ ใหไ้ ดค้ ุณภาพผูเ้ รียนเม่ือจบการศกึ ษา ดงั น้ีจบช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เขา้ ใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจ เพ่ือเลือกใช้เทคโนโลยี โดยค�ำ นึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สังคม และส่ิงแวดล้อม ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ และทรพั ยากรเพ่อื ออกแบบและสร้างผลงานสำ�หรับแก้ปัญหาในชีวิตประจำ�วันหรือการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมรวมทงั้ เลือกใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมือไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทัง้ ค�ำ นงึ ถงึ ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา3. สาระและมาตรฐานการเรยี นรวู้ ิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ีกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี เขา้ ใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยเี พอื่ การด�ำ รงชวี ติ ในสงั คมทมี่ กี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยค�ำ นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2 เปา้ หมายของหลักสูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้มีความร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกบั เทคโนโลยี เพอื่ ด�ำ รงชวี ติ ในสงั คมทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเพอื่ แกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานอยา่ ง มีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม บูรณาการกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณติ ศาสตร์ อยา่ งเหมาะสม เลอื กใช้เทคโนโลยโี ดยคำ�นึงถึงผลกระทบต่อชวี ติ สังคม และสิง่ แวดลอ้ ม หลักสตู รเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) แบง่ ออกเปน็ 3 หัวขอ้ หลกั ได้แก่ ความรแู้ ละความเขา้ ใจเกี่ยว กับเทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ และความรูแ้ ละทักษะพน้ื ฐานเฉพาะด้าน หัวขอ้ หลกั ที่ 1 ความรแู้ ละความเข้าใจเก่ียวกับเทคโนโลยี ประกอบดว้ ยหัวข้อยอ่ ย ตอ่ ไปน้ี 1) ความหมายของเทคโนโลยี 2) ระบบทางเทคโนโลยี 3) การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี 4) ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ นื่ 5) ผลกระทบของเทคโนโลยี หวั ขอ้ หลักท่ี 2 กระบวนการออกแบบ กระบวนการออกแบบ (design process) ในวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี เปน็ กระบวนการแกป้ ญั หา หรอื พฒั นางานอย่างเป็นข้ันตอน โดยใช้ความรู้และทักษะ รวมท้ังความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งในท่ีน้ีใช้กระบวนการที่เรียกว่า กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม (engineering design process) โดยมีขั้นตอน ดังน้ี 1) ระบุปัญหา 2) รวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับปัญหา 3) ออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หา 4) วางแผนและดำ�เนนิ การแก้ปัญหา 5) ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรงุ แก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรอื ชิ้นงาน 6) น�ำ เสนอวิธีการแกป้ ญั หา ผลการแกป้ ญั หาหรือช้ินงาน หัวขอ้ หลักที่ 3 ความรแู้ ละทกั ษะพ้ืนฐานเฉพาะดา้ น ความรแู้ ละทกั ษะพน้ื ฐานทจ่ี �ำ เปน็ ส�ำ หรบั การแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานในวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ไดแ้ ก่ 1) วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน 2) กลไก ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

34. ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลางม.๑ ๑. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิต เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น ประจำ�วันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัย ซึ่งอาจเป็นได้ท้ังช้ินงานหรือวิธีการ เพ่ือใช้แก้ ทส่ี ง่ ผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพ่ิมความ สามารถในการท�ำ งานของมนุษย์ ๒. ระบปุ ญั หาหรอื ความตอ้ งการในชวี ติ ประจ�ำ วนั ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่าง ๆ รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มลู และแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ต้ังแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและ กับปัญหา ท�ำ งานร่วมกันเพอื่ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยใน การท�ำ งานของระบบทางเทคโนโลยจี ะประกอบ ไปดว้ ย ตวั ปอ้ น (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สมั พันธ์กัน นอกจากน้ี ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพ่ือใช้ปรับปรุงการทำ�งานได้ ตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงการวิเคราะห์ระบบทาง เทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการ ทำ�งานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรุง ให้เทคโนโลยที �ำ งานได้ตามต้องการ เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาต้ังแต่ อดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ซงึ่ มสี าเหตหุ รอื ปจั จยั มาจาก หลายดา้ น เชน่ ปญั หา ความตอ้ งการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ เศรษฐกจิ สงั คม ปญั หาหรอื ความตอ้ งการในชวี ติ ประจ�ำ วนั พบได้ จากหลายบริบทข้ึนกับสถานการณ์ที่ประสบ เชน่ การเกษตร การอาหาร การแก้ปัญหาจำ�เป็นต้องสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรจู้ ากศาสตรต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื น�ำ ไปสู่ การออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4 ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือก เปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจเลอื กขอ้ มลู ทจี่ �ำ เปน็ ขอ้ มลู ทจ่ี �ำ เปน็ โดยค�ำ นงึ ถงึ เงอ่ื นไขและทรพั ยากร นำ�เสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ทม่ี อี ยู่ ชว่ ยใหไ้ ดแ้ นวทางการแกป้ ญั หาทเ่ี หมาะสม วางแผนและด�ำ เนนิ การแก้ปัญหา การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทำ�ได้ หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การเขียน ๔. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่อง แผนภาพ การเขียนผังงาน ที่เกิดขึ้น พร้อมท้ังหาแนวทางการปรับปรุง การก�ำ หนดขนั้ ตอนและระยะเวลาในการท�ำ งาน แก้ไข และน�ำ เสนอผลการแก้ปญั หา กอ่ นด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หาจะชว่ ยใหท้ �ำ งานส�ำ เรจ็ ได้ตามเป้าหมาย ๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ การทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบ เพ่ือแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและ ชิ้นงานหรือวิธีการว่าสามารถแก้ปัญหาได้ตาม ปลอดภยั วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ หาขอ้ บกพรอ่ ง และด�ำ เนนิ การ ปรบั ปรุงให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ การนำ�เสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิด เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจเก่ียวกับกระบวนการทำ�งาน และช้ินงานหรือวิธีการท่ีได้ ซ่ึงสามารถทำ�ได้ หลายวิธี เช่น การเขียนรายงาน การทำ�แผ่น น�ำ เสนอผลงาน วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้ โลหะ พลาสติก จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติ เพื่อเลอื กใช้ให้เหมาะสมกับลกั ษณะของงาน การสรา้ งชน้ิ งานอาจใชค้ วามรู้ เรอื่ งกลไก ไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ LED บซั เซอร์ มอเตอร์ วงจร ไฟฟา้ อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างชิ้นงานหรือ พฒั นาวธิ กี ารมหี ลายประเภท ตอ้ งเลอื กใชใ้ หถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั รวมท้งั รูจ้ ักเก็บรกั ษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

55. ทกั ษะและกระบวนการทส่ี �ำ คญั ในวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี การจัดการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เพ่ือพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในการแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานอยา่ งสรา้ งสรรค์ ผเู้ รยี นจะไดร้ บั การพฒั นาทกั ษะและกระบวนการทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ผา่ นการจดั การเรยี นรู้ทเี่ นน้ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ ซงึ่ ทักษะและกระบวนการส�ำ คญั ของวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ 1) กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เปน็ กระบวนการแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานประกอบไปดว้ ย ขนั้ ตอนดงั นี้ ขน้ั ระบปุ ญั หา (Problem Identification) เปน็ การท�ำ ความเขา้ ใจปญั หาหรอื ความตอ้ งการ วเิ คราะหเ์ งอ่ื นไขหรือข้อจำ�กัดของสถานการณ์ปัญหา เพ่ือกำ�หนดขอบเขตของปัญหา ซ่ึงจะนำ�ไปสู่การสร้างช้ินงานหรือพัฒนาวิธีการในการแก้ปญั หา ข้นั รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่เี ก่ียวข้องกบั ปัญหา (Related Information Search) เป็นการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี หรือศาสตร์อ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับแนวทางการแก้ปัญหาเพอ่ื นำ�ไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปญั หา ข้ันออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design) เป็นการนำ�ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำ�เป็นสำ�หรับการแก้ปัญหา โดยคำ�นึงถึงเง่ือนไขหรือทรัพยากรท่ีมีอยู่ แล้วออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา โดยอาจรา่ งภาพ เขียนเปน็ แผนภาพ หรอื ผงั งาน ข้ันวางแผนและดำ�เนินการแก้ปัญหา (Planning and Development) เป็นการกำ�หนดลำ�ดับขั้นตอนของการแกป้ ญั หา และเวลาในการดำ�เนินงานแตล่ ะขนั้ ตอน แลว้ ลงมือแก้ปญั หาตามท่อี อกแบบและวางแผนไว้ ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือช้ินงาน (Testing, Evaluation andDesign Improvement) เป็นการทดสอบและประเมินผลการทำ�งานของชิ้นงานหรือวิธีการ โดยผลท่ีได้อาจน�ำ มาใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการแกป้ ญั หาให้มีประสิทธิภาพมากขน้ึ ขนั้ นำ�เสนอวธิ ีการแก้ปญั หา ผลการแกป้ ญั หาหรอื ชิน้ งาน (Presentation) เป็นการน�ำ เสนอแนวคดิ และขน้ั ตอนการสรา้ งชิ้นงานหรือการพฒั นาวิธกี ารใหผ้ ูอ้ นื่ เขา้ ใจ ทงั้ นใ้ี นการแกป้ ญั หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมนน้ั ไมไ่ ดม้ ลี �ำ ดบั ขน้ั ตอนทแี่ นน่ อนโดยขนั้ ตอนทง้ั หมดสามารถยอ้ นกลบั ไปมาได้ และอาจมกี ารท�ำ งานซ�ำ้ (iterative cycle) ในบางขน้ั ตอนหากตอ้ งการพฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ ใหด้ ขี น้ึ 2) การคดิ เชงิ ระบบ เปน็ การคดิ ถงึ สง่ิ หนง่ึ สง่ิ ใดทม่ี องภาพรวมเปน็ ระบบ โดยมหี ลกั การและเหตผุ ล มกี ารจดั ระเบยี บขอ้ มูลหรอื ความสัมพนั ธข์ ององค์ประกอบต่าง ๆ ให้เปน็ แบบแผนหรอื กระบวนการทช่ี ดั เจน 3) ความคิดสร้างสรรค์ เป็นการใช้เทคนิคในการสร้างสรรค์มุมมองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่ ซ่ึงอาจจะพัฒนาจากของเดิมหรือคิดใหม่ วิเคราะห์และประเมินแนวคิดเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้ได้มากท่ีสุด นำ�ไปสู่การลงมอื ปฏบิ ัตติ ามความคิดสร้างสรรค์ให้ไดผ้ ลสำ�เร็จทเ่ี ปน็ รูปธรรม ความคดิ สรา้ งสรรคป์ ระกอบด้วย 4 ลกั ษณะ คอื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 1) ความคิดริเร่ิม เป็นความสามารถในการคิดที่แปลกใหม่ แตกต่างจากความคิดเดิม ประยุกต์ให้เกิดสิ่งใหม่ ไมซ่ �้ำ กับของเดิม 2) ความคิดคล่อง เป็นความสามารถในการคิดหาคำ�ตอบได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว และมีปริมาณมาก ในเวลาจำ�กัด 3) ความคิดยืดหยุ่น เป็นความสามารถในการคิดหาคำ�ตอบได้หลายประเภทและหลายทิศทาง ดัดแปลงจาก สง่ิ หนง่ึ ไปเปน็ หลายสิง่ ได้ 4) ความคิดละเอียดลออ เป็นความสามารถในการคิดรายละเอียดหรือขยายความคิดหลักให้สมบูรณ์ และ รวมถึงการเชื่อมโยงความสมั พนั ธข์ องส่งิ ตา่ ง ๆ อย่างมคี วามหมาย 4) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นการคิดโดยใช้เหตุผลท่ีหลากหลายเหมาะสมกับสถานการณ์ มีการวิเคราะห์ และประเมนิ หลกั ฐานและขอ้ คดิ เหน็ ดว้ ยมมุ มองทห่ี ลากหลาย สงั เคราะห์ แปลความหมาย และลงขอ้ สรปุ ไดอ้ ยา่ งสมเหตุ สมผล รวมทง้ั สะท้อนความคดิ โดยใช้ประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้ 5) การคดิ วเิ คราะห์ เปน็ การจาํ แนก แจกแจงองค์ประกอบต่าง ๆ ของสง่ิ ใดสิง่ หนึง่ หรือเร่อื งใดเร่ืองหนึ่ง และ หาความสัมพนั ธเ์ ชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหลา่ น้ัน เพ่ือค้นหาสาเหตุทแ่ี ท้จรงิ ของส่ิงทีเ่ กิดขนึ้ 6) การส่ือสาร เป็นการเรียบเรียงความคิดและสื่อสารแนวคิดในการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจอย่างชัดเจน สามารถใชว้ ิธกี ารส่ือสารเพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายไดห้ ลายรปู แบบ เชน่ การพดู การเขียนบรรยาย การรา่ งภาพ และการใช้ สือ่ มัลตมิ เี ดีย 7) การท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื เปน็ ความสามารถในการท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื มคี วามยดื หยนุ่ มคี วามรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั เคารพในความคดิ เหน็ คุณคา่ และเขา้ ใจบทบาทของผอู้ ่ืน เพอ่ื ทำ�งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายร่วมกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

7 คำ�ช้แี จงการใชค้ ู่มือครู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดทำ�คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สำ�หรับใช้ควบคู่กับหนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุพ.ศ. 2560) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 เพอ่ื อ�ำ นวยประโยชนแ์ ก่ผู้สอน ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผลตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจดั การเรียนรูว้ ชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ได้เสนอให้ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ไม่น้อยกว่า 20 ช่ัวโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความพร้อมของโรงเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด ผู้สอนควรศึกษาและทำ�ความเข้าใจเกย่ี วกบั แนวทางการจดั การเรยี นรตู้ ามทไ่ี ดเ้ สนอแนะไว้ อยา่ งไรกต็ าม ผสู้ อนอาจปรบั เปลย่ี นกจิ กรรมและออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ได้ตามความเหมาะสม โดยคำ�นึงถึงความพร้อมและศักยภาพของผู้เรียนรวมทั้งเป้าหมายการจัดการเรียนรู้เปน็ สำ�คัญ1. วตั ถุประสงคข์ องการจัดทำ�คู่มือครู ค่มู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จัดท�ำ ข้นึโดยมีวัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื เป็นแนวทางสำ�หรับผ้สู อนใช้ออกแบบการเรียนร้วู ิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)2. ขอบขา่ ยของหนังสอื เรียน การนำ�คู่มือครูน้ีไปใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการเรียนรู้ควบคู่กับหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและบรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ผู้สอนควรศกึ ษาขอบข่ายของหนังสือเรียนท่ีจัดทำ�ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยกิจกรรมการเรียนรู้ของหนงั สอื เรียนรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 แบง่ เปน็7 บท ได้แก่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

8 ตอนท่ี 1 เทคโนโลยีนา่ รู้ บทท่ี 1 เทคโนโลยรี อบตวั เป็นบทเรียนท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยี ในงานอาชีพต่าง ๆ ประกอบดว้ ยหวั ข้อ 1.1 ความหมายของเทคโนโลยี 1.2 ประโยชน์ของเทคโนโลยี 1.3 ตัวอย่างเทคโนโลยใี นงานอาชพี บทท่ี 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เป็นบทเรียนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสาเหตุของการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี จากอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ดว้ ยสาเหตตุ า่ ง ๆ เชน่ ปญั หาหรอื ความตอ้ งการเศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ 2.1 การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี 2.2 การวเิ คราะห์การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี บทท่ี 3 ระบบทางเทคโนโลยี เป็นบทเรียนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของช้ินงาน หรือวิธีการในชีวิตประจำ�วัน และประยุกต์ใช้แนวคิดระบบทางเทคโนโลยีเพ่ือการดูแลรักษาเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ประกอบดว้ ยหวั ข้อ 3.1 ระบบ 3.2 ระบบทางเทคโนโลยี 3.3 การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยี ตอนท่ี 2 ความรแู้ ละทักษะทีจ่ ำ�เปน็ บทที่ 4 วัสดุและเคร่อื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน เป็นบทเรียนท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับประเภท และสมบัติของวัสดุ สามารถเลือก ใช้วัสดแุ ละเคร่อื งมอื ช่างพ้ืนฐานในการสร้างชน้ิ งานให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภยั ในการใช้งาน ประกอบดว้ ยหัวขอ้ 4.1 วสั ดุในชีวติ ประจำ�วัน 4.2 เครอ่ื งมอื ชา่ งพ้ืนฐาน บทท่ี 5 กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกสเ์ บือ้ งต้น เป็นบทเรียนท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการทำ�งานของกลไกและการควบคุม ไฟฟ้า อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพอื่ ใหส้ ามารถน�ำ ความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการแก้ปญั หาได้ ประกอบด้วยหัวข้อ 5.1 กลไก 5.2 ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองต้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

9ตอนที่ 3 การแก้ปญั หาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม บทท่ี 6 กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เป็นบทเรียนท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพ่ือให้สามารถนำ�กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมไปประยกุ ตใ์ ช้ในการแก้ปัญหาได้ บทท่ี 7 กรณีศกึ ษาการแก้ปญั หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เปน็ บทเรยี นทม่ี งุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ตวั อยา่ งการแกป้ ญั หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมในงานตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถน�ำ ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแกป้ ญั หาได้ ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ 7.1 กรณศี ึกษาเรื่อง อุปกรณ์ดกั จับยงุ แบบครบวงจร 7.2 กรณีศึกษาเรอ่ื ง ถุงเพาะช�ำ Reuse 7.3 กรณีศกึ ษาเร่อื ง การปรบั ปรุงดินจากวสั ดเุ หลือใชเ้ พื่อการปลกู ข้าวในพน้ื ท่นี ำ้�นอ้ ย 7.4 กรณีศึกษาเรือ่ ง การยืดอายไุ สก้ รอกด้วยสารแทนนนิ จากพืช3. สญั ลักษณ์หวั ข้อในหนงั สือเรียน ภายในหนังสือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1ประกอบดว้ ยสัญลกั ษณส์ �ำ คัญ เพ่ือกระตนุ้ ให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ ดังนี้การสอ่ื ความหมายของรปู ภาพและกรอบที่ควรรู้จุดประสงค์ของบทเรยี น ทบทวนความร้กู ่อนเรยี นเปน็ จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นการทบทวนความรู้เพ่ือของบทเรียน เชือ่ มโยงเน้ือหาที่จะเรียน ต่อไปการน�ำ ไปใช้ ชวนคิดเปน็ การเชื่อมโยงเนือ้ หากบั เปน็ คำ�ถามหรอื กิจกรรม ใหล้ องการประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจรงิ คิดหรอื ปฏบิ ตั ติ าม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

10 การส่ือความหมายของรูปภาพและกรอบท่ีควรรู้ สือ่ เสรมิ เพ่มิ ความรู้ เกรด็ น่ารู้ เป็นการแนะนำ�แหลง่ ข้อมูล เป็นความรู้เสรมิ ท่ีเพมิ่ เติมจาก เพม่ิ เติมที่เกย่ี วข้องกบั เนือ้ หา บทเรียน ข้อควรระวัง กจิ กรรม เปน็ ค�ำ เตอื นให้คำ�นงึ ถงึ ความ เป็นกจิ กรรมที่ให้ปฏิบตั เิ พื่อ ปลอดภัยหรือประเด็นสำ�คัญ ทบทวนหรอื ทดสอบความรู้ เก่ียวกับเนอื้ หาน้ัน ในแต่ละหัวข้อ สรุปท้ายบท กิจกรรมทา้ ยบท เปน็ การสรุปเนื้อหาของ เป็นกจิ กรรมทใ่ี หป้ ฏบิ ตั เิ พ่อื บทเรยี น ตรวจสอบความรูห้ ลงั จากเรยี น จบบทเรียน 4. การออกแบบการเรยี นรู้ วชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) การออกแบบการเรียนรู้เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์ตัวชี้วัด ซึ่งกำ�หนดไว้ในหลักสูตร ไปสู่หน่วยการเรียนรู้ และ แผนการจดั การเรยี นรู้ ดังน้ี 1) การวิเคราะห์หลักสูตร เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ทราบว่า ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ใด แล้วกำ�หนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ ทักษะและกระบวนการ ท่ีต้องการใหเ้ กดิ กบั ผู้เรยี น 2) การกำ�หนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เป็นการพิจารณาแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสาระ การเรยี นรู้ ทกั ษะและกระบวนการ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นบรรลจุ ดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบหลกั ๆ ไดแ้ ก่ กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นการกำ�หนดสิ่งที่ผู้เรียนต้องทำ�เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ท่ีกำ�หนด โดยควรเขียน เปน็ ล�ำ ดบั ขน้ั ตอนอยา่ งชดั เจน เพอื่ ล�ำ ดบั วธิ กี ารจดั การเรยี นรใู้ หม้ องเหน็ ภาพตอ่ เนอ่ื งวา่ ผเู้ รยี นตอ้ งท�ำ สงิ่ ใดกอ่ นหลงั และ มีกระบวนการอย่างไรบ้าง หากสามารถระบุถึงบทบาทของผู้สอนและผู้เรียนได้ว่ามีส่วนสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ กนั ไดอ้ ย่างไรจะท�ำ ใหก้ จิ กรรมการเรียนรมู้ ีความหมายชดั เจนยง่ิ ขึ้น สอ่ื การเรยี นรู้ ถอื เปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำ คญั ยง่ิ ส�ำ หรบั การจดั การเรยี นรทู้ ชี่ ว่ ยเชอ่ื มโยงความรู้ จากผสู้ อนไปถงึ ผเู้ รยี น ได้ดีย่ิงข้ึน ซึ่งบางครั้งเนื้อหาอยู่ในรูปแบบท่ีเป็นนามธรรม สื่อการเรียนรู้จะช่วยทำ�ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

11เปน็ รปู ธรรมมากขนึ้ ซงึ่ สอ่ื การจดั การเรยี นรมู้ หี ลากหลายประเภท ผสู้ อนตอ้ งผลติ หรอื เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ในการจดั การเรยี นรู้ 3) การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เปน็ การตรวจสอบวา่ ผเู้ รยี นบรรลจุ ดุ ประสงคข์ องการเรยี นรทู้ ก่ี �ำ หนดไว้หรือไม่ เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผลมีหลายรูปแบบ การเลอื กใชจ้ ึงตอ้ งพจิ ารณาถึงจุดประสงคก์ ารเรยี นรแู้ ละกิจกรรมการเรยี นรูเ้ ป็นส�ำ คญั5. ส่อื และแหลง่ เรียนรู้ ในการจดั การเรยี นรวู้ ชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ผเู้ รยี นและผสู้ อนสามารถศกึ ษาหรอื เรยี นรไู้ ดจ้ ากแหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่ได้หลายแนวทางนอกจากในหนังสือเรียนและคู่มือครูวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)โดยอาจใช้แหล่งเรยี นรอู้ ื่นเพ่ิมเตมิ ได้ เชน่ 1) ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทม่ี อี ยใู่ นพน้ื ท่ี หรอื ปราชญช์ าวบา้ นทม่ี ปี ระสบการณ์ บคุ คลทป่ี ระสบความส�ำ เรจ็ ในงานตา่ ง ๆท่ีเก่ียวข้องกับเนื้อหาบทเรียน สามารถเป็นผู้ให้ความรู้กับผู้เรียนได้ โดยผู้สอนอาจใช้วิธีการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ในโรงเรียน หรืออาจพาผเู้ รียนไปศึกษาดงู านในพ้นื ที่จริงได้ ทง้ั น้ี ผสู้ อนควรใหป้ ระเดน็ กบั ผเู้ รยี นเกย่ี วกบั สง่ิ ที่ตอ้ งบนั ทึกหรือศึกษาระหวา่ งการศึกษาดงู านแล้วนำ�มาสรปุ อภปิ รายข้อคิดท่ไี ด้ระหว่างเพ่ือนสมาชกิ ในชน้ั เรียนและผู้สอน 2) แหลง่ วทิ ยาการ ไดแ้ ก่ สถาบนั องคก์ ร หนว่ ยงาน หอ้ งสมดุ ศนู ยว์ ชิ าการทง้ั จากภาครฐั และเอกชนซงึ่ ใหบ้ รกิ ารความรใู้ นเรอื่ งตา่ ง ๆ โดยผสู้ อนอาจมอบหมายใหผ้ เู้ รยี นไปศกึ ษาในประเดน็ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั หวั ขอ้ ทกี่ �ำ ลงั เรยี นรแู้ ลว้ ท�ำ สรปุรายงานเพอ่ื นำ�เสนอในชัน้ เรยี น 3) สถานประกอบการ สถานประกอบวชิ าชพี อสิ ระ โรงงานอตุ สาหกรรม หนว่ ยวจิ ยั ในทอ้ งถน่ิ ซง่ึ ใหบ้ รกิ ารความรู้ฝึกอบรมเก่ียวกบั งาน และวิชาชพี ตา่ ง ๆ ที่มอี ยใู่ นชมุ ชนหรอื ทอ้ งถ่นิ โดยผู้สอนสามารถน�ำ ผเู้ รยี นไปศกึ ษาดงู านในแหล่งต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประสบการณ์จริง สามารถเห็นความเชื่อมโยงระหว่างส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในชั้นเรียนกับบริบทของชีวิตจริงและยังช่วยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดข้ึนในสถานการณ์จริง ซ่ึงอาจเป็นจุดเริ่มต้นของการนำ�มาซ่ึงการพฒั นาหรอื สรา้ งแนวทางการแก้ปญั หาดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้อกี ดว้ ย 4) สอื่ สงิ่ พมิ พต์ ่าง ๆ เช่น แผน่ พับ วารสาร หนงั สอื อา้ งอิง หนงั สือพิมพ์ สือ่ เหลา่ น้ีเปน็ สิง่ สำ�คัญทสี่ ามารถจัดหาได้ง่ายเพื่อให้ผู้สอนสามารถนำ�มาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง หรืออาจเป็นสถานการณ์ปัญหาจากข่าวในหนังสือพิมพ์เพื่อให้ผู้เรียนใช้เปน็ โจทย์สถานการณ์ปัญหาในการทำ�กจิ กรรมการเรียนรู้ได้ 5) สอื่ ดจิ ทิ ลั ในเวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ ทง้ั จากในและตา่ งประเทศ ซงึ่ ถอื เปน็ แนวทางทส่ี �ำ คญั ในการใชป้ ระกอบการสบื คน้ข้อมูลในสังคมปัจจุบันท่ีมีสื่อต่าง ๆ จากเว็บไซต์จำ�นวนมาก โดยมีท้ังในรูปแบบของข้อความ รูปภาพ หรือวิดีโอซงึ่ จะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจไดง้ า่ ยขนึ้ อยา่ งไรกต็ ามการเลอื กใชแ้ หลง่ ขอ้ มลู ทนี่ า่ เชอ่ื ถอื ตอ้ งคดิ วเิ คราะห์ และมวี จิ ารณญาณในการเลือกใช้ รวมท้ังต้องอ้างอิงข้อมูลท่ีได้มา ซึ่งเป็นสิ่งสำ�คัญท่ีผู้สอนต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้เรียนในการเคารพสิทธิของผอู้ นื่ เชน่ แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลนข์ อง สสวท. http://learningspace.ipst.ac.th/ แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลนข์ องส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (สพฐ.) http://www.dlit.ac.th/pages/classroom.php หรอื แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลน์ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) http://www.thaiteachers.tv/ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

12 6. การจดั การเรยี นรวู้ ิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี การจัดการเรียนรู้ที่สามารถสะท้อนหลักสูตร และพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่หลักสูตรกำ�หนดควรเป็นการ เรยี นรโู้ ดยเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นลงมอื ปฏบิ ตั ิ มสี ว่ นรว่ มและเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยจดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นมโี อกาส ศกึ ษาดว้ ยตนเอง ตดั สนิ ใจ และลงมอื ปฏบิ ตั ิ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประสบการณต์ รง แกป้ ญั หาในชวี ติ จรงิ ผา่ นการวางแผน ออกแบบ ประเมินผล และนำ�เสนอผลงานร่วมกันเพื่อให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการโดยสร้างชิ้นงานหรือ วิธีการอย่างสร้างสรรค์ (Prince, 2004 ; Bonwell, 1991) ผ้สู อนจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลกั การ แนวคิด และ จดุ เนน้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั แนวทางการจดั การเรยี นรขู้ องวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ตวั อยา่ งแนวทางในการ จดั การเรยี นรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเรยี นรโู้ ดยผ่านการลงมอื ปฏิบัติ เช่น การจัดการเรียนรู้โดยมีกิจกรรมเป็นฐาน (activity-based learning) เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน ลงมือปฏิบัติจริงผ่านกิจกรรมและมีบทบาทในการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง โดยเน้นให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์และ เรียนรู้จากกิจกรรมที่ได้ทำ�จริง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์และการ ร่วมมอื กัน การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (problem-based learning) เปน็ วธิ กี ารเรยี นรทู้ น่ี �ำ ปญั หามาเปน็ ตวั กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่เพ่ืออธิบายหรือแก้ปัญหา โดยมีกระบวนการ จดั การเรยี นรคู้ อื ผเู้ รยี นจะไดร้ บั สถานการณแ์ ละท�ำ ความเขา้ ใจในสถานการณน์ น้ั และรว่ มกนั ระบปุ ญั หา วเิ คราะหป์ ญั หา อภิปรายหาคำ�อธิบาย ตั้งสมมติฐานเพื่อหาคำ�ตอบของปัญหา พร้อมจัดลำ�ดับความสำ�คัญของสมมติฐานท่ีเป็นไปได้ อยา่ งมเี หตผุ ล และตอ้ งพจิ ารณาวา่ จะตอ้ งมคี วามรเู้ รอ่ื งอะไรบา้ งทจ่ี �ำ เปน็ ในการแกป้ ญั หา ผเู้ รยี นรว่ มกนั ก�ำ หนดประเดน็ การเรียนรู้หรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้เพ่ือจะไปค้นคว้าหาข้อมูลต่อไป ผู้เรียนแต่ละคนค้นคว้าหาข้อมูลและศึกษา เพิ่มเติมพร้อมท้ังประเมินความถูกต้อง และนำ�ข้อมูลมาใช้เพื่อช่วยในการออกแบบการแก้ปัญหาเพื่อแก้ปัญหาต่อไป (Barrows, 2000) การจดั การเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (project-based learning) เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบตั ิจริง ในลักษณะของการศึกษา สำ�รวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้นโดยมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ คือ ผู้สอนกำ�หนด ขอบเขตของโครงงานอยา่ งกวา้ ง ๆ ใหส้ อดคลอ้ งกบั รายวชิ า สภาพปญั หาหรอื ความถนดั ของผเู้ รยี น และใหผ้ เู้ รยี นออกแบบ โครงงานร่วมกันเพื่อนำ�ไปสู่การเขียนเค้าโครงและลงมือปฏิบัติตามแผนท่ีวางไว้ในเค้าโครง ผู้เรียนสรุปผ่านการเขียน รายงานและมีการประเมนิ โครงงาน (MacDonell, 2007) จะเห็นว่า การจดั การเรยี นรู้วิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี จะให้ผู้เรยี นไดฝ้ ึกกระบวนการทำ�งาน อย่างเป็นระบบผ่านกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ผ่านการคิดวิเคราะห์ ลงมือแก้ปัญหาจากสถานการณ์ปัญหาที่ เชื่อมโยงกับชีวิตจริง (real-world problems) ผู้เรียนต้องฝึกการทำ�งานเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมตามเง่ือนไข ทรพั ยากรท่ีมีดว้ ยวธิ ีการที่หลากหลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

137. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลของวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) มุ่งเน้นท่ีการประเมินตามสภาพจรงิ (authentic assessment) โดยวดั และประเมนิ ผล 3 ดา้ น คอื ความสามารถดา้ นสตปิ ญั ญา ความสามารถด้านทักษะปฏิบัติ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยการประเมินตามสภาพจริงในวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ผสู้ อนสามารถประเมนิ จากผลงานหรอื การทำ�งานของผู้เรียนเป็นหลกั ผา่ นกระบวนการสงั เกต บนั ทกึ หรือตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับช้ินงานและวิธีการของผู้เรียน เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงคุณภาพมีความต่อเนื่อง โดยลักษณะสำ�คัญของการประเมินจากสภาพจรงิ มดี ังน้ี 1) ผสมผสานไปกบั การจัดการเรียนรแู้ ละต้องประเมนิ อย่างตอ่ เนือ่ ง โดยใช้วิธกี ารประเมินทหี่ ลากหลาย 2) ใหค้ วามส�ำ คญั กบั การประเมนิ กระบวนการคดิ ทซ่ี บั ซอ้ น ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ าน ศกั ยภาพของผเู้ รยี นในแง่ของผูผ้ ลติ และกระบวนการที่ได้ผลผลติ มากกวา่ ทจี่ ะประเมนิ วา่ ผู้เรยี นสามารถจดจำ�ความรูอ้ ะไรได้บ้าง 3) มุ่งเน้นศักยภาพโดยรวมของผู้เรียนท้ังด้านความรู้พ้ืนฐาน ความคิดระดับสูง ความสามารถในการแก้ปัญหาการส่อื สาร เจตคติ ลักษณะนสิ ัย ทักษะในดา้ นต่าง ๆ และความสามารถในการทำ�งานร่วมกบั ผ้อู ื่น 4) ใหค้ วามสำ�คญั ต่อพัฒนาการของผู้เรยี น ข้อมูลที่ได้จากการประเมินหลาย ๆ ดา้ น และหลากหลายวิธสี ามารถน�ำ มาใชใ้ นการวนิ จิ ฉยั จดุ เดน่ ของผเู้ รยี นทค่ี วรจะใหก้ ารสง่ เสรมิ และวนิ จิ ฉยั จดุ ดอ้ ยทจี่ ะตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลอื หรอื แกไ้ ขเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจ และความสามารถของแต่ละบคุ คล 5) ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการประเมนิ จะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ และการวางแผนการสอนของผสู้ อนวา่ เปน็ ไปตามจดุ มงุ่ หมายของการจดั การเรยี นรหู้ รอื ไม่ ผสู้ อนสามารถน�ำ ขอ้ มลู จากการประเมนิ มาปรบั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ กิจกรรมและตัวแปรอ่ืน ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งใหเ้ หมาะสมต่อไป 6) ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการประเมินเพือ่ ส่งเสรมิ ใหร้ ้จู กั ตวั เอง เชอื่ มัน่ ในตนเองและสามารถพฒั นาตนเองได้ ทั้งน้ีผู้สอนสามารถเลือกใช้วิธีการหรือเคร่ืองมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย โดยต้องมีความสอดคล้องและความเหมาะสมกบั จดุ ประสงคแ์ ละกจิ กรรมการเรียนรู้ ซึ่งวิธกี ารหรือเคร่ืองมอื วัดทสี่ ามารถน�ำ มาใช้ เชน่ 1) การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ เป็นวิธีการประเมินด้วยการเขียนตอบตามประเด็นคำ�ถามที่ผู้สอนกำ�หนดเพือ่ ตรวจสอบความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ กระบวนการ ซ่ึงสามารถประเมินไดท้ ง้ั ระหวา่ งเรียนและหลังเรยี น ค�ำ ตอบของผเู้ รยี นจะสะทอ้ นถงึ ความเขา้ ใจ ความกา้ วหนา้ ในผลการเรยี นรู้ เครอ่ื งมอื ทน่ี ยิ มใช้ เชน่ แบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ แบบสะทอ้ นการเรียนรู้ 2) การทดสอบ เป็นวิธีการประเมินความรู้ ความเข้าใจ และทักษะของผู้เรียน ซ่ึงผู้สอนควรเลือกใช้เคร่ืองมือทดสอบให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินผลนั้น ๆ และต้องมีคุณภาพ มีความเท่ียงตรง (validity) และความเช่ือมนั่ (reliability) เครื่องมอื ทีน่ ยิ มใช้ เชน่ แบบทดสอบชนดิ ต่าง ๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

14 3) แฟ้มสะสมงาน เป็นวิธีการประเมินด้วยการรวบรวมผลงานและหลักฐานการเรียนรู้ที่แสดงถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และพัฒนาการของผู้เรียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อใช้ในการประเมิน ความสามารถของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ผู้สอนจะเลือกผลงานและหลักฐานช้ินใดที่รวบรวมอยู่ในแฟ้มมาประเมินก็ย่อม ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการประเมิน เช่น หากต้องการประเมินความสามารถของผู้เรียนควรเลือกผลงานหรือช้ินงาน ท่ีดีที่สุดของผู้เรียนมาประเมิน หากต้องการประเมินพัฒนาการทางการเรียนควรเลือก ตัวแทนผลงานในแต่ละช่วงมาประเมิน หากต้องการประเมินกระบวนการ ทำ�งานและการแก้ปัญหาควรนำ�บันทึกการปฏิบัติงานของผู้เรียนมา ประเมิน 4) ผลการปฏิบัติงาน เป็นวิธีการประเมินงานหรือ กจิ กรรมทผี่ สู้ อนมอบหมายใหผ้ เู้ รยี นปฏบิ ตั งิ านเพอื่ ใหท้ ราบ ถึงผลการพัฒนาของผู้เรียน ซ่ึงผู้สอนต้องเตรียมการ ประเมิน 2 ส่วน คือ การประเมินภาระงานหรือ ชน้ิ งาน และการประเมนิ กระบวนการท�ำ งาน เครอ่ื งมอื ท่ีนิยมใช้ คือ แบบมาตรประมาณค่า และแบบบันทึก การปฏิบัตงิ าน 5) การสังเกตพฤติกรรม เป็นวิธีการประเมิน โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ของผเู้ รยี นระหวา่ งการ ทำ�กิจกรรม เพ่ือประเมินท้ังด้านทักษะการทำ�งาน และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เคร่ืองมือวัดท่ีนิยมใช้ เช่น แบบสงั เกตพฤตกิ รรม แบบตรวจสอบรายการ (Check list) 6) การสัมภาษณ์ เป็นวิธีการประเมินด้วยการพูดคุย การซักถามตามประเด็นการประเมินที่สนใจ ซ่ึงการสัมภาษณ์ สามารถกระท�ำ ได้ 2 ลักษณะ คือ การสมั ภาษณ์อย่างเปน็ ทางการและ ไมเ่ ปน็ ทางการ เครอ่ื งมอื วดั ทน่ี ยิ มใช้ คอื แบบสมั ภาษณแ์ บบมโี ครงสรา้ ง แบบ ก่งึ โครงสร้าง และแบบไมม่ โี ครงสร้าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตารางวิเคราะห์ การจดั ทำ�หน่วยการเรียนรู้ วิชาเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลย)ี

16 ตารางวิเคราะห์การจดั ทำ�หนว่ ยการเรยี นรู้ วิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เทคโนโลยีรอบตัว ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง จ�ำ นวน ชัว่ โมง อธบิ ายแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี 1. เทคโนโลยี เปน็ สง่ิ ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งหรอื พฒั นาขน้ึ ซง่ึ อาจเปน็ ไดท้ ง้ั ชน้ิ งาน 6 ชว่ั โมง 1. อธิบายคว ในชีวิตประจำ�วันและวิเคราะห์ หรือวิธีการ เพื่อใช้แก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพ่ิมความ 2. อธิบายปร สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการ สามารถในการท�ำ งานของมนุษย์ เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี 3. วิเคราะห 2. ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกล่มุ ของส่วนต่าง ๆ ตัง้ แตส่ องสว่ นขนึ้ ไป เปล่ียนแป ประกอบเข้าด้วยกันและทำ�งานร่วมกันเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ โ ด ย ใ น ก า ร ทำ � ง า น ข อ ง ร ะ บ บ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี จ ะ ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพอ่ื ใช้ปรบั ปรุงการท�ำ งานได้ตามวัตถปุ ระสงค์ ซ่ึงการ วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการ ทำ�งานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรุงให้เทคโนโลยีทำ�งาน ไดต้ ามต้องการ 3. เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ เศรษฐกจิ สงั คม 4. วิเคราะห วธิ กี ารใน 5. การประย เพื่อการด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

17จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลวามหมายของเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 1 เทคโนโลยรี อบตัวระโยชน์ของเทคโนโลยี ภาระงาน: 1.1 พิจารณาภาพท่ีกำ�หนดให้ว่าเป็นเทคโนโลยีหรือไม่ 1. ก า ร อ ธิ บ า ย ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง พร้อมให้เหตุผลประกอบ และบอกประโยชนข์ องสง่ิ นน้ั เทคโนโลยี และเหตุผลประกอบ 1.2 ออกแบบชน้ิ งานหรอื วธิ ีการตามสถานการณ์ทีก่ ำ�หนด 1.3 ระบสุ ง่ิ ทเ่ี ปน็ และไมเ่ ปน็ เทคโนโลยี และอธบิ ายประโยชน์ 2. ก า ร อ ธิ บ า ย ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง เทคโนโลยี ของสง่ิ นน้ัห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการ กจิ กรรมที่ 2 การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีปลงของเทคโนโลยี ภาระงาน: 2.1 วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีจากบทเรียน 1. การวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ี ในประเด็นท่กี ำ�หนดให้ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ 2.2 พัฒนา ปรับปรุงชิ้นงานหรือวิธีการจากข้อมูลการ เทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีท่ศี ึกษา 2.3 วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง ของเทคโนโลยที ส่ี นใจห์ระบบทางเทคโนโลยีของช้ินงานหรือ กิจกรรมท่ี 3 ระบบทางเทคโนโลยี 1. การวเิ คราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยีนชีวิตประจ�ำ วัน ภาระงาน: ของช้ินงานหรือวิธีการในชีวิต ยุกต์ใช้แนวคิดระบบทางเทคโนโลยี 3.1 ยกตัวอย่างระบบท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและระบบ ประจ�ำ วันดูแลรกั ษาเทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ท่ีมนุษยส์ รา้ งข้ึน 2. การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ระบบทาง 3.2 อธิบายองค์ประกอบของระบบทางเทคโนโลยีของ เทคโนโลยีเพ่ือการดูแลรักษา เทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ช้ินงานหรือวิธีการทกี่ ำ�หนด 3.3 อธิบายองค์ประกอบและการทำ�งานของระบบทาง เทคโนโลยใี นบทเรยี น พร้อมท้ังเสนอแนวทางการแกไ้ ข หากเทคโนโลยนี นั้ เกดิ ปญั หาและแนวทางการดแู ลรกั ษา 3.4 แยกแยะองคป์ ระกอบและอธบิ ายการท�ำ งานของระบบ ทางเทคโนโลยใี นชีวิตประจำ�วัน 3.5 วิเคราะห์การทำ�งานของระบบทางเทคโนโลยีเพ่ือเสนอ แนวทางการแก้ปญั หาและการดูแลรกั ษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

18 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 วัสดแุ ละอุปกรณ์น่ารู้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง จ�ำ นวน ชั่วโมง ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเกยี่ วกบั วสั ดุ 1) วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบตั แิ ตกตา่ งกนั เชน่ ไม้ โลหะ พลาสตกิ จงึ ตอ้ ง 1. วิเคราะห์ส อุปกรณ์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง มีการวิเคราะหส์ มบัติเพ่ือเลือกใชใ้ ห้เหมาะสมกับลกั ษณะของงาน 4 ชว่ั โมง ในการสรา้ ถกู ตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั 2) อุปกรณ์ในการสร้างผลงานมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง 2. เลือกใช้ว เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรจู้ ักเกบ็ รกั ษา ช้ินงานได และค�ำ นึง 3. ออกแบบ กลไก หร เบ้ืองตน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

19จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลสมบัติของวัสดุและเคร่ืองมือช่างท่ีใช้ กจิ กรรมที่ 4 วัสดุและเครอื่ งมือชา่ งพน้ื ฐาน 1. การวิเคราะห์การเลือกใช้เคร่ืองางชน้ิ งาน ภาระงาน: มือช่างท่ีเหมาะสมกับลักษณะวั ส ดุ แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ ช่ า ง ใ น ก า ร ส ร้ า ง 4.1 บอกประเภทและอธิบายสมบัติของวัสดุจากส่ิงของ ของงาน พร้อมเหตผุ ลประกอบด้อย่างเหมาะสมกับลักษณะของงานงถึงความปลอดภัย เคร่ืองใชใ้ นห้องเรียน 2. การเลือกใช้วัสดุและเครื่องมือ 4.2 วิเคราะห์การเลือกใช้เครื่องมือช่างที่เหมาะสมกับ ช่างในการสร้างชิ้นงานได้อย่าง เหมาะสมกับลักษณะของงาน ลักษณะของงานจากส่ิงของเคร่ืองใช้ที่กำ�หนด พร้อม และค�ำ นึงถึงความปลอดภัย เหตุผลประกอบ 4.3 วิเคราะห์สมบัติของวัสดุและเครื่องมือช่างที่ใช้ในการ สรา้ งชิ้นงาน พรอ้ มเหตุผลประกอบบช้ินงานโดยประยุกต์ใช้ความรู้ เร่ือง กิจกรรมที่ 5 กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนกิ ส์ รื อ ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ เบือ้ งต้น ภาระงาน: 5.1 ระบุของเล่นของใช้ท่ีใช้กลไกล้อและเพลา ไฟฟ้าและ 1. การออกแบบชน้ิ งานโดยประยกุ ต์ ใช้ความรู้เรื่องกลไก หรือวงจร อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เบอ้ื งตน้ 5.2 ออกแบบช้ินงานโดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องกลไก หรอื วงจรไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บอ้ื งตน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

20 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 การแกป้ ัญหาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง จ�ำ นวน ชว่ั โมง 1. ระบปุ ญั หาหรอื ความตอ้ งการ 1) ปญั หาหรอื ความตอ้ งการในชวี ติ ประจ�ำ วนั พบไดจ้ ากหลายบรบิ ทขน้ึ 10 ชัว่ โมง 1. วิเคราะหข์ ในชีวิตประจำ�วัน รวบรวม กับสถานการณ์ทปี่ ระสบ เช่น การเกษตร การอาหาร ออกแบบเ วเิ คราะหข์ อ้ มลู และแนวคดิ ท่ี เกี่ยวข้องกับปัญหา และ 2) การแก้ปัญหาจำ�เป็นต้องสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ 2. ประยุกตใ์ ตัดสินใจเลือกแนวทางการ ตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพอื่ สรา้ งทางเลอื กทหี่ ลากหลายและตดั สนิ ใจเลอื ก พฒั นางาน แกป้ ญั หาทเี่ หมาะสม แนวทางที่เหมาะสม เชิงวิศวกร 2. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 3) การออกแบบและนำ�เสนอแนวทางการแก้ปัญหา ทำ�ได้หลากหลาย นำ � เ ส น อ แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ วธิ ี เชน่ การรา่ งภาพ การเขยี นแผนภาพ การบรรยายประกอบ ปญั หาใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจ วางแผน และด�ำ เนินการแกป้ ญั หา 4) การก�ำ หนดขนั้ ตอนและระยะเวลาในการท�ำ งานจะชว่ ยใหก้ ารท�ำ งาน ส�ำ เร็จตามเป้าหมาย 3. ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบุ ข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึน พร้อม 5) การทดสอบและประเมินเป็นการตรวจสอบผลงานว่าสามารถ ท้ังหาแนวทางการปรับปรุง แก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์เพ่ือหาข้อบกพร่องของผลงาน และ แกไ้ ข และน�ำ เสนอผลการแก้ ด�ำ เนนิ การปรับปรุงใหส้ ามารถแก้ไขปัญหาได้ ปญั หา 6) การน�ำ เสนอผลงานเปน็ การถา่ ยทอดแนวคดิ เพอ่ื ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจเกย่ี วกบั 4. ใช้ความรู้และทักษะเก่ียวกับ กระบวนการทำ�งานและผลงานท่ีได้ ซ่ึงสามารถทำ�ได้หลายวิธี เช่น วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อแก้ปัญหา การเขยี นรายงาน การท�ำ แผ่นน�ำ เสนอผลงาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภยั 7) วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบตั แิ ตกตา่ งกนั เชน่ ไม้ โลหะ พลาสตกิ จงึ ตอ้ ง มกี ารวเิ คราะหส์ มบัติเพอื่ เลอื กใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ลักษณะของงาน 8) อุปกรณ์ในการสร้างผลงานมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทงั้ รู้จกั เกบ็ รักษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

21จุดประสงค์การเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผลข้นั ตอนการท�ำ งานตามกระบวนการ กิจกรรมท่ี 6 กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 1. การวิเคราะห์การทำ�งานตามเชงิ วิศวกรรม ภาระงาน: ก ร ะ บ ว น ก า ร อ อ ก แ บ บ เ ชิ ง 6.1 วิเคราะห์ปัญหา วศิ วกรรม 6.2 รวบรวมข้อมูล 6.3 ออกแบบช้นิ งาน 6.4 กำ�หนดประเด็นการทดสอบ 6.5 ออกแบบวิธกี ารนำ�เสนอใชค้ วามรใู้ นการแกป้ ัญหาหรอื กจิ กรรมท่ี 7 กรณศี กึ ษาการทำ�งานตามกระบวนการนตามกระบวนการออกแบบ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรมรรม ภาระงาน: 7.1 สรปุ ขนั้ ตอนการท�ำ งานจากกรณศี กึ ษาตามกระบวนการ 1. การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรใู้ นการแก้ ออกแบบเชงิ วิศวกรรม ปั ญ ห า ห รื อ พั ฒ น า ง า น ต า ม 7.2 แก้ปัญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมจาก ก ร ะ บ ว น ก า ร อ อ ก แ บ บ เ ชิ ง วิศวกรรม สถานการณท์ ่ีกำ�หนด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี



แผนการจดั 1 เทคโนโลยรี อบตวัการเรยี นรทู้ ่ี ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ทักษะและกระบวนการทเ่ี ปน็ จุดเนน้ ความรเู้ ดิมที่ผเู้ รียนต้องมี สาระส�ำ คัญ ส่อื และอุปกรณ์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล ข้อเสนอแนะ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง SALE 70% MWOCEEL BANK

24 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยีรอบตัว 1. ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ 1.1 ตวั ชี้วัด อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำ�วันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง ของเทคโนโลยี 1.2 สาระการเรยี นรู้ เทคโนโลยี เปน็ สงิ่ ทมี่ นษุ ยส์ รา้ งหรอื พฒั นาขนึ้ ซง่ึ อาจเปน็ ไดท้ งั้ ชน้ิ งานหรอื วธิ กี าร เพอื่ ใชแ้ กป้ ญั หา สนองความตอ้ งการ หรือเพ่ิมความสามารถในการท�ำ งานของมนุษย์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยี 2.2 อธิบายประโยชนข์ องเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 | เทคโนโลยีรอบตวั 253. ทกั ษะและกระบวนการท่เี ปน็ จุดเนน้ 3.1 ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 3.2 ทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ 3.3 ทักษะการสอื่ สาร 3.4 ทกั ษะความคดิ สร้างสรรค์ 3.5 ทกั ษะการทำ�งานรว่ มกับผู้อน่ื4. ความรูเ้ ดิมทผ่ี ู้เรียนตอ้ งมี สง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั เรามที ัง้ สง่ิ ทเี่ กิดข้ึนเองตามธรรมชาติเชน่ ตน้ ไม้ สัตว์ แม่น�้ำ ภูเขา และส่งิ ทีม่ นุษย์สร้างขน้ึ เชน่ ปากกาแก้วนำ�้ เก้าอี้ แวน่ ตา โทรศัพท์ บา้ น รถยนต์ บอ่ บ�ำ บดั นำ้�เสีย เขอื่ น ฯลฯ5. สาระส�ำ คัญ เทคโนโลยี เป็นส่ิงทม่ี นุษย์สรา้ งขึ้นทง้ั ในอดตี ปัจจบุ นั และอนาคต ซึง่ อาจเปน็ ได้ท้ังชน้ิ งานหรือวิธีการเพ่ือใช้แกป้ ัญหาสนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำ�งานของมนุษย์ เทคโนโลยีจึงเกิดขึ้นต้ังแต่สมัยอดีตพร้อมกับการดำ�รงชีวิตอยูข่ องมนษุ ย์ เทคโนโลยยี ังรวมถึงเครอื่ งมอื อุปกรณ์ หรือวธิ ีการท่นี ำ�มาใช้ในการสรา้ งชนิ้ งานเพ่ือให้ได้ผลผลติ ทต่ี ้องการ6. ส่ือและอุปกรณ์ 6.1 ใบกจิ กรรมใบกจิ กรรม เรื่อง เวลา (นาท)ีกจิ กรรมเสนอแนะที่ 1 ถุงปรศิ นา 10กจิ กรรมเสนอแนะที่ 2 เทคโนโลยีท่เี ป็นวิธกี ารและเครอื่ งมือหรอื อปุ กรณ์ 15กจิ กรรมท่ี 1.1 เป็นเทคโนโลยหี รอื ไม่ 10กิจกรรมเสนอแนะที่ 3 เทคโนโลยใี นงานอาชพี ด้านเกษตรและอาหาร 15กจิ กรรมทา้ ทายความคิด ชว่ ยโปลศิ คดิ แกป้ ญั หา 40กจิ กรรมทา้ ยบท แปลงผกั ลอยฟ้าของโปลิศ 10 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

26 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 | เทคโนโลยรี อบตัว คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 6.2 สื่ออ่ืน ๆ อุปกรณ์สำ�หรับกิจกรรมเสนอแนะท่ี 1 เร่ือง ถุงปริศนา ประกอบด้วย ถุงกระดาษทึบแสง กรรไกร กระดาษ กอ้ นหิน ปากกา ยางลบ ดนิ สอ แปรงสฟี นั ใบไม้ ยางรดั ฟองนำ้� ตะเกียบ เมล็ดผลไม้ มะนาว กระดาษปร๊ฟู 7. แนวทางการจัดการเรียนรู้ 1) ผเู้ รยี นอา่ นค�ำ ถามชวนคดิ ในหนงั สอื เรยี นวา่ ในกจิ วตั รประจ�ำ วนั ของเราเก่ยี วขอ้ งกับส่ิงของเคร่อื งใชใ้ ดบา้ ง แนวคำ�ตอบ แปรงสฟี ัน ยาสีฟัน เสือ้ ผา้ รองเท้า ชอ้ นส้อม รถ โทรศัพท์ ปากกา หนังสือ ฯลฯ 2) ผู้เรียนสงั เกตและศึกษารูป 1.1 สิง่ ของเครื่องใช้ทเี่ กย่ี วขอ้ งในกจิ วัตรประจ�ำ วัน ในหนงั สือเรียน แล้วร่วมกนั อภปิ ราย ว่าในกจิ วตั รประจำ�วันของผเู้ รียนเก่ยี วข้องกบั สง่ิ ของเคร่ืองใช้อะไรบา้ ง แนวค�ำ ตอบ ข้ึนอยู่กบั กจิ วตั รของผเู้ รียนแตล่ ะคน เช่น ต่ืนนอนตอนเช้าด้วยเสียงปลกุ จากโทรศพั ท์ อาบน้�ำ ด้วยสบู่ แปรงฟันด้วยยาสีฟัน แต่งตัวโดยใส่ชุดนักเรียน รับประทานอาหารด้วยอุปกรณ์จานชามและช้อน เดินทางไปโรงเรียน ดว้ ยรถประจ�ำ ทาง เขียนหนังสอื ด้วยปากกา ออกก�ำ ลงั กายตอนเยน็ โดยใช้ลกู ฟตุ บอล เล่นเกมจากเครื่องคอมพิวเตอร์ 3) ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปว่า ชีวิตประจำ�วันของเราเก่ียวข้องกับสิ่งของเครื่องใช้ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพ่ือแก้ปัญหา หรอื สนองความต้องการของเราทั้งส้นิ เราเรียกสิ่งของเคร่ืองใช้ทม่ี นษุ ย์สรา้ งขน้ึ นวี้ า่ เทคโนโลยี 4) ผู้เรียนทำ�กิจกรรมเสนอแนะที่ 1 เร่ือง ถุงปริศนา โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนตามความเหมาะสม ผู้สอนนำ�ถุงใส่สิ่งของท่ี มนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ เชน่ กรรไกร กระดาษ ปากกา ยางลบ ดนิ สอ แปรงสฟี นั ยางรดั ฟองน�้ำ ตะเกยี บ และสงิ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ เช่น เมลด็ ลนิ้ จ่ี กอ้ นหนิ ใบไม้ มะนาว โดยใน 1 ถุงมีส่งิ ของ 1 ช้นิ ให้ผ้เู รยี นสุม่ เลอื กถุงปรศิ นา แลว้ วิเคราะห์สิ่งของในถงุ วา่ เปน็ เทคโนโลยีหรอื ไม่ และใช้แก้ปัญหาในเรอ่ื งใด 5) ผ้เู รียนและผสู้ อนรว่ มกนั สรปุ ความหมายของเทคโนโลยี แนวค�ำ ตอบ เทคโนโลยี หมายถงึ ส่ิงที่มนุษย์สร้างหรือพฒั นาขึ้นซงึ่ อาจเป็นไดท้ ง้ั ช้ินงานหรอื วธิ กี ารเพ่ือใชแ้ ก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพ่มิ ความสามารถในการทำ�งานของมนุษย์ 6) ผู้เรียนและผู้สอนอภิปรายเพ่ิมเติมเก่ียวกับเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องในชีวิตประจำ�วัน เช่น เทคโนโลยีด้านการส่ือสาร ตวั อยา่ งทเ่ี หน็ ไดช้ ดั เจนคอื โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทห่ี รอื สมารต์ โฟน ชว่ ยใหเ้ ราตดิ ตอ่ สอ่ื สารกนั ไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลาทง้ั ภายในและนอกประเทศ โดยผ่านสญั ญาณอินเทอร์เนต็ และแอปพลเิ คชันบนหนา้ จอ พกพาสะดวก อีกตวั อย่างหน่งึ คือการฝากถอนเงินผา่ นเคร่ือง ATM (Automatic Teller Machine) ผเู้ รยี นและผสู้ อนรว่ มกนั อภปิ รายลกั ษณะการใชง้ านของบตั ร ATM ทสี่ ามารถใชฝ้ าก ถอน โอน ชำ�ระค่าสาธารณูปโภคได้โดยอัตโนมัติ ทำ�ให้มีความสะดวกรวดเร็วในการทำ�ธุรกรรมทางการเงินโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไป ทสี่ ถาบันการเงนิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 | เทคโนโลยีรอบตวั 27 7) ผู้เรียนศึกษาเก่ียวกับแนวคิดของเทคโนโลยีต่อไปอีกว่า เทคโนโลยีเกิดข้ึนพร้อมกับมนุษย์ตั้งแต่ยุคโบราณเพ่อื การดำ�รงชวี ิตและความอย่รู อด โดยผ้สู อนยกตัวอย่างเทคโนโลยใี นสมยั ก่อนจนถึงปัจจุบันและอภปิ รายรว่ มกับผู้เรยี น เชน่ยุค/สมยั ตวั อยา่ งเทคโนโลยี ลกั ษณะของเทคโนโลยี ใชแ้ กป้ ัญหา ยุคหิน ขวานหิน ขวานที่ท�ำ ด้วยหนิ สบั ตดั ฟัน ผ่า ถากไม้ แลเ่ น้อื สตั ว์ เข้าด้ามด้วยไม้ หรือตัดกระดูก ยุคสำ�รดิ หอกและขวานส�ำ รดิ ท�ำ จากโลหะผสมระหวา่ ง ใช้เป็นอาวุธปอ้ งกนั ตวั และใชใ้ น ทองแดงกบั ดีบุก การลา่ สัตวใ์ นสมัยก่อน ยุคเหลก็ เคร่อื งมอื ทำ�เกษตร ใช้การตีโลหะเหลก็ เพิม่ ความสะดวก ทุ่นแรงในงาน ในขณะท่ียังรอ้ นอยู่ เกษตรทต่ี ้องใชค้ วามแข็งแรง ใหเ้ ปน็ รูปทรงทตี่ ้องการ และทนทานของเคร่อื งมือ จอบขดุ ใบจอบทำ�จากเหล็กกลา้ ใช้ขดุ ดินไดท้ ุกประเภทโดยเฉพาะปัจจบุ นั มีความแข็งแรงมากกว่า ดินท่มี ีความแขง็ มาก เหล็กธรรมดา ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปว่า เทคโนโลยีเกิดขึ้นพร้อมมนุษย์เพราะเป็นส่ิงท่ีมนุษย์สร้างและพัฒนาข้ึนเพื่อนำ�มาแก้ปญั หาและตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ในการด�ำ รงชวี ติ ทกุ ยุคทุกสมัย 8) ผู้สอนเกร่ินนำ�ว่านอกจากเทคโนโลยีที่เป็นช้ินงานแล้ว วิธีการท่ีมนุษย์สร้าง คิดค้นหรือพัฒนาข้ึนเพื่อแก้ปัญหาสนองความต้องการ จัดว่าเป็นเทคโนโลยีด้วย และนอกจากนั้นเคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ท่ีนำ�มาสร้างช้ินงานก็จัดว่าเป็นเทคโนโลยีดว้ ยเชน่ กนั จากนน้ั ผเู้ รยี นศกึ ษาตวั อยา่ งของเทคโนโลยที เี่ ปน็ วธิ กี ารและเทคโนโลยที เี่ ปน็ เครอ่ื งมอื หรอื อปุ กรณท์ น่ี �ำ มาสรา้ งชนิ้ งานในหนังสอื เรยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

28 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 | เทคโนโลยรี อบตวั คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 9) แบ่งผู้เรียนเป็น 3 กลุ่ม เพ่ือทำ�กิจกรรมเสนอแนะท่ี 2 เรื่องเทคโนโลยีท่ีเป็นวิธีการและเครื่องมือหรืออุปกรณ์ โดยผู้เรยี นศึกษาในหนงั สือเรียน ในเรื่องตอ่ ไปนี้ วิธกี ารผลติ น้ำ�ประปา (รูป 1.2 วิธีการผลติ น�ำ้ ประปา) วธิ กี ารบำ�บดั นำ�้ เสียแบบบอ่ ปรบั เสถยี ร (รปู 1.3 วิธกี ารบ�ำ บัดน�้ำ เสียแบบบอ่ ปรบั เสถียร) เครอื่ งมือหรือวสั ดุอุปกรณท์ ี่นำ�มาสรา้ งชิ้นงาน (รูป 1.4 ตัวอย่างของอุปกรณ์และเครือ่ งมือทีใ่ ชส้ ำ�หรบั ตดั วสั ดุ) จากน้นั ผู้เรียนแตล่ ะกลมุ่ เลือกหวั ข้อดว้ ยวธิ จี ับสลาก โดยแตล่ ะกลมุ่ จะได้ 1 เรื่อง แลว้ วเิ คราะหใ์ นประเดน็ ตอ่ ไปน้ี เทคโนโลยนี ้นั สร้างขนึ้ เพอ่ื จุดประสงคใ์ นการใช้งานอยา่ งไร เทคโนโลยีน้ันชว่ ยแก้ปัญหาอะไร ผเู้ รยี นแต่ละกล่มุ ออกมานำ�เสนอผลการวเิ คราะห์เทคโนโลยีที่จับสลากได้ 10) ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปรายในคำ�ถามชวนคิดในหนังสือเรียนท่ีว่า เทคโนโลยีแต่ละอย่างเกิดจากปัญหาและ ความตอ้ งการทแ่ี ตกต่างกนั ลองพจิ ารณาเทคโนโลยีตอ่ ไปนวี้ ่าเกิดจากปญั หาหรือความต้องการใดบ้าง โดยผเู้ รียนสงั เกตและศกึ ษา เทคโนโลยีที่ประกอบไปด้วย ช้อนส้อม ยา ร่ม จักรยาน แล้วนำ�มาวิเคราะห์ร่วมกันถึงปัญหาและความต้องการท่ีทำ�ให้มนุษย์ สร้างเทคโนโลยีเหลา่ นี้ แนวคำ�ตอบ เทคโนโลยี ปญั หา/ความต้องการ ผลจากการใช้เทคโนโลยี ชอ้ นส้อม ไมส่ ะดวกหากใช้มือตักอาหาร และทำ�ให้ ตกั อาหารรับประทาน ยา มือเป้ือน ไดส้ ะอาด ปลอดภัยและ ร่ม การใชม้ อื สมั ผสั อาหาร อาจเกดิ การปนเปอ้ื น จักรยาน ส่ิงสกปรกจากมือ ทำ�ให้อาหารไมส่ ะอาด สะดวกมากย่งิ ขึ้น ซง่ึ เป็นสาเหตใุ ห้เกดิ การเจบ็ ปว่ ยได้ เกดิ อาการเจ็บป่วย และมีโรคภัยต่าง ๆ บรรเทาและรกั ษาอาการ เจบ็ ป่วย การเดินทางเวลาฝนตกท�ำ ให้เราเปียก ช่วยใหเ้ ราไมเ่ ปยี ก เวลา ชว่ งกลางวันแสงแดดร้อนอาจท�ำ ให้ผิวหนงั เดินทางชว่ งทฝ่ี นตก แสบร้อนและเกดิ อาการผิวหนงั ไหมไ้ ด้ ชว่ ยบังแสงแดด ผิวหนงั ไมแ่ สบร้อน ต้องการการเดนิ ทางท่ีรวดเรว็ และสะดวก ใช้เวลาในการเดินทาง มากกวา่ การเดนิ นอ้ ยกว่าการเดนิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 | เทคโนโลยีรอบตัว 29 11) ผเู้ รยี นและผสู้ อนร่วมกันสรปุ ประโยชน์ของเทคโนโลยี แนวค�ำ ตอบ 1. ชว่ ยในการแกป้ ญั หาหรอื สนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ เชน่ การผลติ น�้ำ ประปาท�ำ ใหไ้ ดน้ �ำ้ สะอาดในการอปุ โภคบรโิ ภค การบ�ำ บดั น�ำ้ เสยี แบบบอ่ ปรบั เสถยี รใชแ้ กป้ ญั หาน�ำ้ เสยี การน�ำ เทคโนโลยฝี นหลวงมาชว่ ยแกป้ ญั หาภยั แลง้การใชก้ งั หนั น�ำ้ ชยั พฒั นาแกป้ ญั หาน�ำ้ เสยี นอกจากนเ้ี ทคโนโลยยี งั ชว่ ยใหม้ นษุ ยม์ สี ง่ิ ของเครอื่ งใชท้ จ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ไดแ้ ก่อาหาร เครอื่ งนุ่งหม่ ทีอ่ ยอู่ าศัย และยารักษาโรค 2. ช่วยเพม่ิ ความสามารถในการท�ำ งานของมนษุ ย์ ทำ�ให้มนุษยท์ ำ�งานไดด้ ีข้ึน รวดเรว็ ข้ึนและมคี ่าใช้จ่ายถูกลง เช่น การใช้อุปกรณ์และเคร่ืองมือช่วยในการตัดวัสดุ การใช้เคร่ืองจักรมาใช้แทนแรงงานคนในการผลิตสินค้า การใช้เคร่อื งคดิ เลขช่วยในการค�ำ นวณ การใช้กลอ้ งจุลทรรศนต์ รวจสอบสงิ่ มีชวี ิตขนาดเล็ก 12) ผู้เรียนท�ำ กจิ กรรมที่ 1.1 เร่อื ง เปน็เทคโนโลยีหรือไม่ โดยวิเคราะห์รูปในตารางพร้อมให้เหตุผลประกอบ และเขียนอธิบายว่ามีประโยชน์อย่างไร ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม เน่ืองจากกจิ กรรมที่ 1.1 ข้อที่ 6 วิธีการท�ำ นาเกลอื มจี ดุ เนน้ เพอ่ื ทดสอบความเขา้ ใจของผู้เรียนในเรื่องวิธีการท่ีมนุษย์สร้างข้ึนเพื่อแก้ไขปัญหา หรือสนองความต้องการจัดว่าเป็นเทคโนโลยีด้วยเช่นกัน ดังนั้นผู้สอนควรตรวจสอบคำ�ตอบและการให้เหตุผลของผู้เรียน ถ้าพบว่ายังไม่ถูกต้องควรชี้แนะและอธิบายเพ่ิมเติมเพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจ เช่น วิธีการทำ�นาเกลือ จัดว่าเป็นเทคโนโลยีท่ีเป็นวิธีการ ซ่ึงประกอบไปด้วยข้ันตอนต่าง ๆ เพ่ือให้ได้ผลผลิตคือ เกลือ(ท่ีผ่านกระบวนการทำ�นาเกลือ) ซึ่งก็จัดว่าเป็นเทคโนโลยี 13) ผเู้ รียนศึกษาหัวขอ้ 1.3 ตัวอยา่ งเทคโนโลยีในงานอาชีพ จากนั้นรว่ มอภปิ รายกบั ผ้เู รยี นเก่ยี วกับการน�ำ เทคโนโลยีมาใช้แก้ปัญหาในอาชีพต่าง ๆ เริ่มจากอาชีพที่นำ�เทคโนโลยีท่ีไม่ซับซ้อนจนถึงอาชีพที่นำ�เทคโนโลยีที่ซับซ้อนมาแก้ปัญหาดังตัวอย่างแนวทางการอภิปรายดังนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

30 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 | เทคโนโลยรี อบตวั คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี อาชีพ เทคโนโลยีทใ่ี ช้ในอาชพี 1. ชาวนา ชาวไร่ ชาวสวน จอบ ใช้ในการขดุ ดินแขง็ ขุดหลุมให้มีขนาดกว้างและลกึ ตามต้องการ มสี ว่ นประกอบคือ ใบจอบ ดา้ มจอบ ล่มิ ยึดใบจอบ ประกอบเขา้ ดว้ ยกัน กส็ ามารถใช้งานได้ ไม่มีความซบั ซอ้ นในการผลติ 2. พนักงานขบั รถ เกยี ร์ พวงมาลยั รถ คนั เร่ง เบรก ใช้ในการควบคุมการเคล่ือนท่ขี อง รถยนตห์ รอื รถประจ�ำ ทาง ซง่ึ เปน็ เทคโนโลยที ค่ี อ่ นขา้ งซบั ซอ้ นทง้ั ในดา้ น การผลติ และการใชง้ าน 3. ประกอบรถยนต์ หนุ่ ยนต์ ประกอบด้วย สมองกลทีค่ วบคมุ การทำ�งาน เชน่ สมองกล ท่ีประดษิ ฐ์จากอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องควบคุมขนาดเลก็ คอมพวิ เตอรช์ นดิ แผงวงจรส�ำ เรจ็ รปู เครอ่ื งควบคมุ โปรแกรมระบบอตั โนมตั ิ เน่ืองจากรถยนต์มีส่วนประกอบมากมาย เช่น ตัวถัง แชสซีส์และช่วงล่าง เครื่องยนต์และระบบสง่ ก�ำ ลัง อปุ กรณ์ไฟฟ้า อปุ กรณภ์ ายใน แตล่ ะชิน้ มีความสำ�คัญและมีความซับซอ้ นมาก จงึ จ�ำ เป็นต้องใช้เทคโนโลยหี นุ่ ยนต์ เข้ามาช่วยในการประกอบ เพื่อประหยัดเวลา ลดตน้ ทนุ ปลอดภัย และ ไดร้ ถยนต์ทีม่ ีมาตรฐานเทา่ กนั 14) แบ่งผู้เรียนเป็น 3 กลุ่มเพื่อทำ�กิจกรรมเสนอแนะที่ 3 เร่ือง เทคโนโลยีในงานอาชีพด้านการเกษตรและอาหาร ผสู้ อนสนทนากบั ผเู้ รยี นวา่ กลมุ่ อาชพี ดา้ นการเกษตรและอาหารมคี วามใกลช้ ดิ กบั คนไทยมาตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั เราจงึ จะเรยี นรู้ ตวั อยา่ งของเทคโนโลยที ี่ใช้ในงานอาชพี ด้านการเกษตรและอาหาร โดยใหผ้ ู้เรยี นศึกษาตัวอยา่ งในหนังสอื เรียน ในเรือ่ งต่อไปน้ี เทคโนโลยีในการเก็บเกีย่ วข้าว (รปู 1.6 เทคโนโลยใี นการเกบ็ เก่ยี วข้าว) เทคโนโลยีในร้านขายน�ำ้ ผลไมป้ นั่ (รปู 1.7 เทคโนโลยีในรา้ นขายนำ�้ ผลไม้ปัน่ ) เทคโนโลยใี นการถนอมอาหารโดยใช้ตูอ้ บแห้ง (รูป 1.8 ตอู้ บแห้งแบบตา่ ง ๆ) จากนั้นผู้เรียนแต่ละกลุ่มเลือกหัวข้อโดยวิธีจับสลาก โดยแต่ละกลุ่มจะได้กลุ่มละ 1 เรื่อง แล้วศึกษาและวิเคราะห์ ในประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี ใชเ้ พอื่ จุดประสงค์ใด แกป้ ญั หาอะไร ประโยชน์ที่ช่วยให้การท�ำ งานดีขึน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1 | เทคโนโลยรี อบตวั 31 15) ผู้สอนสนทนากับผู้เรียนว่า เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วันและในงานอาชีพของมนุษย์ ท้ังในฐานะท่ีเป็นผู้คิดค้นหรือสร้างเทคโนโลยีขึ้นมา เช่น ไม่สามารถเก็บผลไม้ท่ีอยู่สูง จึงสร้างอุปกรณ์เก็บผลไม้ขึ้นมา หรือในฐานะที่เป็นผู้ใช้เทคโนโลยี เชน่ ต้องการรดน้ำ�สนามหญา้ ขนาดใหญ่จงึ เลอื กใชส้ ปรงิ เกอร์ ขณะเดยี วกันการเลือกใชเ้ ทคโนโลยีใด ๆ ผูใ้ ช้จะตอ้ งศกึ ษาผลดแี ละผลเสยี ของเทคโนโลยนี น้ั ๆ และพจิ ารณาวา่ ผลเสยี ทเี่ กดิ ขนึ้ สามารถควบคมุ หรอื ปอ้ งกนั ได้ หากผลดขี องเทคโนโลยีนั้นคุม้ ค่าและมผี ลดมี ากกวา่ ผลเสียจึงตัดสินใจน�ำ มาใชป้ ระโยชน์ 16) แบ่งกลุ่มผู้เรียนกลุ่มละ 5-6 คน เพื่อทำ�กิจกรรมท้าทายความคิด เร่ือง ช่วยโปลิศ คิดแก้ปัญหา โดยผู้เรียนแต่ละกลุ่มหาวิธีการและเขียนอธิบายหรือวาดภาพแปลงปลูกผักท่ีผู้เรียนคิดว่าจะสร้างจากสถานการณ์ที่กำ�หนด และระบุข้อดีของแปลงปลกู ผักของผเู้ รียนในกระดาษปรู๊ฟ และนำ�เสนอ หลังการนำ�เสนอ ผ้เู รียนรว่ มกนั โหวตเลอื กแปลงผกั ของเพ่อื น และใหเ้ หตผุ ลว่าเพราะเหตุใด ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม เน่อื งจากกิจกรรมทา้ ทายความคิดเปน็ กิจกรรมตอ่ เนอ่ื ง ดงั นนั้ การท�ำ กิจกรรมท้าทายความคิดในแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 – 5 กลมุ่ ผูเ้ รียนควรเป็นกลมุ่ เดยี วกัน 17) ผู้เรียนทำ�กิจกรรมท้ายบท เรื่อง แปลงผักลอยฟ้าของโปลิศ โดยให้ระบุว่าในแปลงปลูกผักของผู้เรียนสิ่งใดเปน็ เทคโนโลยี และส่ิงใดไม่เปน็ เทคโนโลยี อย่างละ 3 ตวั อยา่ ง พรอ้ มให้เหตผุ ล และสงิ่ น้นั มีประโยชน์อยา่ งไร8. การวัดและประเมินผลรายการประเมนิ วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมอื ท่ีใชว้ ัด เกณฑ์การประเมินการผ่าน1. การอธบิ ายความหมาย ตรวจใบกิจกรรม ใบกิจกรรมที่ 1.1 เร่อื ง คะแนน 7-9 หมายถึง ดี ของเทคโนโลยี ตรวจใบกจิ กรรม เปน็ เทคโนโลยหี รอื ไม่ และ คะแนน 4-6 หมายถงึ พอใช้ ใบกจิ กรรมทา้ ยบท คะแนน 1-3 หมายถงึ ปรบั ปรงุ2. การอธบิ ายประโยชน์ เร่อื ง แปลงผักลอยฟา้ ของเทคโนโลยี ของโปลิศ ผู้เรยี นไดร้ ะดบั คณุ ภาพ พอใช้ ถอื ว่าผา่ น3. ทักษะการคดิ วิเคราะห์ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรยี นไดร้ ะดับคณุ ภาพ พอใชข้ น้ึ ไป สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ถอื วา่ ผา่ น (ดเู กณฑ์การประเมนิ4. ทกั ษะการคดิ อย่าง สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ในภาคผนวก) มีวจิ ารณญาณ5. ทกั ษะการสอ่ื สาร6. ทักษะความคดิ สรา้ งสรรค์ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม7. ทกั ษะการท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

32 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 | เทคโนโลยีรอบตัว คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี เกณฑก์ ารประเมนิ ประเดน็ การประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1 1. การอธบิ ายความหมาย ระบุส่งิ ท่เี ปน็ เทคโนโลยี 2 ระบสุ ิง่ ทีเ่ ป็นเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี และไม่เปน็ เทคโนโลยีได้ และไม่เป็นเทคโนโลยไี ด้ ถกู ตอ้ ง 11-12 ขอ้ ระบสุ ่งิ ทเี่ ป็นเทคโนโลยี ถกู ตอ้ ง 1-7 ขอ้ 1.1 การระบสุ ่งิ ทเ่ี ป็น และไม่เปน็ เทคโนโลยีได้ อธิบายเหตผุ ลของสงิ่ ที่ และไมเ่ ปน็ เทคโนโลยี ถูกต้อง 8-10 ขอ้ เปน็ เทคโนโลยีและไม่ อธิบายเหตุผลของสง่ิ ที่ เปน็ เทคโนโลยไี ดถ้ กู ตอ้ ง 1.2 การอธิบายเหตุผล อธบิ ายเหตผุ ลของสิ่งที่ เปน็ เทคโนโลยแี ละไม่ 1-7 ข้อ ของสิ่งที่เป็นและ เปน็ เทคโนโลยแี ละไม่ เป็นเทคโนโลยีไดถ้ กู ตอ้ ง อธิบายประโยชนข์ อง เป็นเทคโนโลยไี ด้ถกู ต้อง 8-10 ข้อ เทคโนโลยี ได้ถกู ตอ้ ง ไมเ่ ปน็ เทคโนโลยี 11-12 ข้อ อธบิ ายประโยชน์ของ 1-4 ข้อ เทคโนโลยี ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. การอธบิ ายประโยชน์ อธิบายประโยชนข์ อง 5-6 ขอ้ ของเทคโนโลยี เทคโนโลยี ไดถ้ กู ต้องครบ ทง้ั 7 ข้อ เกณฑ์การตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพ คะแนน 7-9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 4-6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1-3 คะแนน หมายถึง ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง ** เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลสามารถปรับเปลย่ี นได้ตามความเหมาะสม 9. แหล่งเรียนรู้ Animation clip ความหมายของเทคโนโลยี http://designtechnology.ipst.ac.th/category/media-study/animation-clip สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 | เทคโนโลยรี อบตัว 3310. ข้อเสนอแนะ 10.1 ในกรณีท่ผี ้สู อนไม่สามารถจดั กิจกรรมได้ตอ่ เนอ่ื ง 2 คาบเรยี น อาจแบ่งเน้อื หาและกจิ กรรมในหนังสือเรียน ดงั นี้ คาบเรียนท่ี 1 หัวข้อ 1.1 ความหมายของเทคโนโลยี 1.2 ประโยชน์ของเทคโนโลยี และกิจกรรมท่ี 1.1 เร่ืองเป็นเทคโนโลยีหรือไม่ คาบเรียนท่ี 2 หัวข้อ 1.3 เทคโนโลยีในงานอาชีพ กิจกรรมท้าทายความคิด เร่ือง ช่วยโปลิศ คิดแก้ปัญหา และกิจกรรมท้ายบท เร่อื ง แปลงผกั ลอยฟา้ ของโปลศิ 10.2 กิจกรรมเสนอแนะ เป็นกิจกรรมเสริมที่ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเน้ือหาที่เรียนมากยิ่งขึ้นซ่ึงผสู้ อนอาจจัดกจิ กรรมเสนอแนะนอกเวลาเรียนหรือพิจารณาตามความเหมาะสมของเวลา11. แนวค�ำ ตอบกิจกรรม กิจกรรม เร่อื ง ถุงปริศนา เสนอแนะท่ี 1พิจารณาสิง่ ของที่อยู่ในถงุ ว่าเปน็ สง่ิ ทเี่ กิดข้นึ เองตามธรรมชาติหรือมนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ หากเป็นสิง่ ทีม่ นุษยส์ ร้างข้นึใช้แก้ปญั หาในเร่อื งใดบ้างลำ�ดับ รายการ มนษุ ยส์ รา้ งขึน้ เกดิ ขนึ้ เอง ใช้แก้ปญั หา ท่ี ตามธรรมชาติ1 เมล็ดล้นิ จ่ี2 กรรไกร การตดั ใหว้ สั ดุมีขนาดเล็กลง3 กระดาษ ตามตอ้ งการ เตือนความจ�ำ โดยใช้ จดบนั ทึกขอ้ ความ ใช้เปน็ วัสดใุ นงานตกแต่ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

34 แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1 | เทคโนโลยีรอบตัว คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ล�ำ ดบั รายการ มนุษยส์ ร้างข้นึ เกิดขึ้นเอง ใช้แก้ปญั หา ที่ ตามธรรมชาติ 4 ก้อนหิน 5 ปากกา ชว่ ยบนั ทกึ ข้อความ 6 ยางลบ 7 ดนิ สอ ลบข้อความท่ีไมต่ ้องการ 8 แปรงสีฟัน ชว่ ยบันทกึ ขอ้ ความ วาดรปู รา่ งภาพ ง่ายในการลบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำ�ความสะอาดช่องปาก

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 | เทคโนโลยีรอบตวั 35ลำ�ดับ รายการ มนุษยส์ รา้ งขึน้ เกดิ ข้ึนเอง ใช้แกป้ ญั หา ที่ ตามธรรมชาติ9 ใบไม้10 ยางรัด รดั ถงุ พลาสตกิ และสิ่งของ11 ฟองนำ�้ ตามท่ีตอ้ งการ12 ตะเกยี บ ประดิษฐข์ องเล่น13 มะนาว ดูดซับน้�ำ ทำ�ความสะอาดสิ่งของ ใชค้ ีบอาหาร ทำ�สง่ิ ประดษิ ฐ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

36 กิจกรรม เร่ือง เทคโนโลยีที่เป็นวิธีการ เสนอแนะที่ 2 และเครื่องมือหรอื อปุ กรณ์ ผ้เู รยี นศึกษาและวเิ คราะห์เรอ่ื งท่ีจบั สลากได้ แล้วบันทึกตามประเด็นที่ก�ำ หนดลงในกระดาษปรฟู๊ พรอ้ มนำ�เสนอ เทคโนโลยี จดุ ประสงค์การใช้งาน ชว่ ยแกป้ ัญหา เทคโนโลยที ่ีเปน็ วิธกี าร 1. วธิ กี ารผลิต ปรบั คุณภาพน�ำ้ ใหส้ ะอาด น�ำ้ จากแหล่งนำ�้ ไม่สะอาดเพยี งพอต่อ น�ำ้ ประปา การอปุ โภคบริโภค 2. วิธบี ำ�บัดน้�ำ เสยี บ�ำ บดั น�ำ้ เสยี เพอ่ื ใหน้ �ำ้ มคี ณุ ภาพดขี น้ึ นำ�้ เสยี จากชุมชน โรงงานอตุ สาหกรรม แบบบ่อปรบั เสถยี ร กอ่ นระบายออกสู่สิง่ แวดลอ้ ม เกษตรกรรม เคร่อื งมอื หรืออปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการสรา้ งชน้ิ งาน 3. เครอ่ื งมอื หรอื อปุ กรณ์ ตัดวสั ดุใหม้ ีขนาดและรปู ทรง เคร่อื งมือในการตดั แตล่ ะชนิดขนึ้ อย่กู บั ทใ่ี ชส้ �ำ หรบั ตดั วสั ดุ ตามที่ต้องการ สมบตั ขิ องวสั ดทุ ต่ี อ้ งการตดั เชน่ กระดาษ ใชก้ รรไกรตัด แตห่ ากวสั ดมุ คี วามหนา ลดเวลาและประหยัดแรงงาน ขนาดใหญ่ แขง็ แรงมากขึ้น เคร่ืองมอื ที่ ในการตัด ใชใ้ นการตัดต้องมีความสามารถในการ ตัดวัสดเุ หลา่ นน้ั ด้วย เช่น คัตเตอร์ เลอ่ื ย เคร่ืองตัดดว้ ยเลเซอร์ เครื่องตดั ด้วยนำ�้ แรงดันสูง การใชเ้ วลาและแรงงานในการตัดวัสดุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

37 กิจกรรมที่ เป็นเทคโนโลยหี รือไม่ 1.1พจิ ารณาส่งิ ต่อไปนวี้ ่า เปน็ เทคโนโลยีหรอื ไมเ่ ป็นเทคโนโลยี โดยใหเ้ หตผุ ลประกอบและบอกประโยชนข์ องสงิ่ นน้ัลำ�ดบั รายการ เปน็ เทคโนโลย/ี ไม่เปน็ ประโยชน์ ที่ คลิปหนบี กระดาษ เทคโนโลยี และเหตผุ ลประกอบ 1 เปน็ เทคโนโลยี ใช้หนบี กระดาษหรือส่ิงของ เพราะ มนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ โดยผา่ นกระบวนการ ตา่ ง ๆ เขา้ ไว้ดว้ ยกัน ตา่ ง ๆ เพื่อใช้แก้ปัญหาการกระจัด กระจายของกระดาษหรอื เอกสาร2 บันไดไม้ เปน็ เทคโนโลยี ใชส้ ำ�หรับงานช่างทตี่ ้องท�ำ งาน3 แสงอาทิตย์ เพราะ มนุษย์น�ำ ไมจ้ ากธรรมชาตมิ า ในทส่ี ูง หรอื ใชไ้ ด้ทั่วไปตาม สรา้ งโดยผ่านกระบวนการตา่ ง ๆ จน บา้ นเรอื น เปน็ บันไดไม้ ใชแ้ กป้ ัญหาการปนี ขน้ึ ไป บนที่สูง ไมเ่ ปน็ เทคโนโลยี ให้แสงสว่างกับสง่ิ มีชวี ติ เพราะ เปน็ ส่ิงที่เกดิ ข้นึ เองตาม บนพ้ืนโลก ธรรมชาติ เปน็ แหล่งพลังงานความร้อน4 ตน้ ไม้ ไมเ่ ป็นเทคโนโลยี เปน็ แหลง่ อาหารและแหลง่ เพราะ เป็นสง่ิ ทเ่ี กดิ ข้นึ เองตาม ทอี่ ย่ทู สี่ ำ�คัญของสตั ว์ ธรรมชาติ เปน็ แหลง่ วัสดใุ นการสรา้ ง ที่อยูอ่ าศัยของมนุษย์ ให้รม่ เงา ผลิตออกซิเจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

38 ลำ�ดบั รายการ เปน็ เทคโนโลยี/ไม่เปน็ ประโยชน์ ที่ เรอื เทคโนโลยี และเหตผุ ลประกอบ ใชใ้ นการขนสง่ และ 5 เปน็ เทคโนโลยี การคมนาคมทางน�ำ้ เพราะ มนุษย์นำ�ไมจ้ ากธรรมชาติ มาสรา้ งโดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ ใช้แกป้ ัญหาการคมนาคมทางน้ำ�หรอื การสญั จรทางน้ำ�ของคนสมัยโบราณ 6 วธิ ีการท�ำ นาเกลือ เปน็ เทคโนโลยี เปน็ การผลิตเกลอื ไว้อุปโภค เพราะ เป็นขนั้ ตอนวิธกี ารทมี่ นุษย์ บริโภค สร้างข้นึ เพือ่ ใชผ้ ลิตเกลือไว้อุปโภค บรโิ ภค * หมายเหตุ ในข้อ 6 น้ี เนน้ ทดสอบความเข้าใจของ ผเู้ รยี นในเรอื่ งเทคโนโลยีท่ีเปน็ วธิ กี าร ถ้าผู้เรยี นให้เหตผุ ลท่สี อ่ื ถงึ เทคโนโลยี ที่เป็นชิ้นงาน ซง่ึ ในท่นี ้ีคือผลผลิตที่ เป็นเกลอื ผู้สอนควรชี้แนะและ อธิบายเพ่ิมเติมใหผ้ ้เู รียนเขา้ ใจใน เทคโนโลยีทเี่ ป็นวธิ ีการมากย่งิ ข้ึน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

39 กิจกรรม เรอื่ ง เทคโนโลยีในงานอาชพีเสนอแนะท่ี 3 ดา้ นเกษตรและอาหารผ้เู รยี นศึกษาและวเิ คราะห์เร่อื งท่จี บั ฉลากได้ แล้วบนั ทกึ ตามประเด็นท่ีก�ำ หนดลงในกระดาษบร๊ฟู พรอ้ มน�ำ เสนอ เทคโนโลยี ใชเ้ พ่ือจดุ ประสงค์ใด ชว่ ยแกป้ ญั หาอะไร ประโยชนท์ ่ชี ว่ ยให้ ในงานอาชพี การทำ�งานดขี ึน้ การเก่ยี วและนวดข้าว ลดจ�ำ นวนแรงงานและ1. เทคโนโลยใี นการ เวลาในการเก็บเก่ียว สามารถเก็บเกย่ี วและ เก็บเกยี่ วขา้ ว นวดข้าวพร้อมบรรจุ ลงในกระสอบใน รถเกีย่ วนวดข้าว2. เทคโนโลยใี นรา้ น มีดใช้ปลอกเปลอื กผลไม้ ประหยดั เวลาและแรงงาน ผลิตน�้ำ ผลไม้ปนั่ ได้ ขายนำ�้ ผลไมป้ ่นั เครอ่ื งปน่ั ท�ำ ใหผ้ ลไมม้ ี ในการทำ�น้ำ�ผลไมป้ ่นั ทนั ตอ่ ความตอ้ งการ ขนาดเล็กลงจนละเอยี ด ของผูซ้ ้อื เช่น มีด เครือ่ งปั่น3. เทคโนโลยีในการ เพ่อื ระเหยน้�ำ ออกจาก ลดปญั หาเรื่องฝุ่น ตอู้ บแหง้ สามารถควบคมุ ถนอมอาหาร อาหาร ละออง เชื้อจลุ ินทรยี ์ อณุ หภูมิ ความร้อนได้ แมลงวนั ปอ้ งกนั ฝนุ่ ละออง แมลงวนั โดยตอู้ บแหง้ ควบคมุ ความร้อนได้ และเช้ือจุลนิ ทรีย์ ประหยดั เวลาในการ อบแหง้ อาหาร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

40 กิจกรรมท้าทายความคดิ เรื่อง ช่วยโปลิศ คิดแกป้ ญั หา เดก็ ชายโปลศิ เพง่ิ ยา้ ยจากจงั หวดั ล�ำ ปางเขา้ มาเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ในกรงุ เทพมหานคร โปลศิ พักอาศัยในคอนโดมิเนียมกับคุณอา โปลิศชอบรับประทานสลัดมาต้ังแต่เด็กและต้องการปลูกผักเพ่ือทาน เองเหมอื นตอนทย่ี งั อยทู่ ล่ี �ำ ปาง คณุ อาอนญุ าตใหโ้ ปลศิ ปลกู ผกั ในบรเิ วณระเบยี งหลงั หอ้ งพกั ซงึ่ มพี น้ื ทขี่ นาด 1 เมตร x 3 เมตร ถา้ นกั เรยี นเปน็ โปลศิ นกั เรยี นจะออกแบบพนื้ ทหี่ รอื แปลงปลกู ผกั บรเิ วณระเบยี งหอ้ งอยา่ งไร จะปลกู ผกั ชนดิ ใดบา้ ง และทำ�อยา่ งไรเพือ่ ใหผ้ ักเตบิ โตและเก็บรับประทานไดท้ กุ วนั ช่วยกันคดิ นักเรียนแต่ละกลุ่มหาวิธีการและเขียนอธิบายหรือวาดภาพแปลงปลูกผักที่นักเรียนคิดว่า จะสร้าง โดยระบุข้อดีของแปลงปลกู ผกั ของนกั เรยี นในกระดาษปรฟู๊ และนำ�เสนอ ตัวอยา่ งของแปลงผักดงั รปู ข้อดีของแปลงปลูกผักที่ออกแบบ คือ แปลงปลูกผักสามารถวางได้ในพ้ืนท่ีท่ีมี ปลูกผักได้หลาย ชนิดตามท่ตี อ้ งการ จากการนำ�เสนอ ถา้ นกั เรยี นเป็นโปลิศ นักเรียนจะเลือกแปลงปลกู ผักของเพ่อื นกลุม่ ใด เพราะอะไร แนวค�ำ ตอบ ขน้ึ กบั ผู้เรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

41กิจกรรม เรื่อง แปลงผักลอยฟ้าของโปลศิท้ายบท1. ในแปลงปลกู ผกั ของนกั เรยี น สง่ิ ใดเปน็ เทคโนโลยแี ละสง่ิ ใดไมเ่ ปน็ เทคโนโลยี เพราะเหตใุ ด และสง่ิ นน้ั มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร ยกตวั อยา่ ง อยา่ งละ 3 ตวั อยา่ งล�ำ ดับท่ี รายการ เหตุผลประกอบ ประโยชน์สิง่ ท่เี ปน็ เทคโนโลยี มนษุ ยส์ ร้างข้นึ เพอ่ื เป็นภาชนะบรรจุ สะดวกในการพกพาและ 1 ขวดน�ำ้ พลาสตกิ นำ้� ทำ�ให้สามารถพกพาน�้ำ ไปได้ทกุ ที่ มนี ้ำ�ด่มื ตลอดเวลา 2 โครงแปลงผกั มนุษยน์ �ำ ช้นิ ไม้มาตอ่ กนั เปน็ โครง ทำ�ใหป้ ลูกผักไดใ้ นพ้นื ท่ี แปลงผกั จ�ำ กดั 3 สายยาง มนษุ ย์สรา้ งข้ึนจากวัสดปุ ระเภทยาง เปน็ อปุ กรณท์ ช่ี ่วยสง่ นำ�้สง่ิ ท่ีไม่เปน็ เทคโนโลยี หรอื พลาสตกิ เพอ่ื เปน็ อุปกรณใ์ นการ ไปยงั ท่ตี ่าง ๆ ได้ตามที่ สง่ ผา่ นนำ้�ไปยงั ท่ตี า่ ง ๆ ตอ้ งการ1 ดนิ เป็นสง่ิ ท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เปน็ แหลง่ อาหารของพืช และทีอ่ ยู่อาศยั ของสตั ว์2 เมลด็ ผกั เปน็ ส่ิงที่เกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน่ ไสเ้ ดือน แมลง ขยายพันธุ์3 น้ำ� เป็นสง่ิ ทเ่ี กิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ จ�ำ เป็นต่อการด�ำ รงชีวติ ของสิ่งมชี วี ิต2. แปลงปลกู ผกั ของนกั เรยี นเปน็ เทคโนโลยหี รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด แนวค�ำ ตอบ แปลงปลกู ผกั เปน็ เทคโนโลยี เพราะเปน็ สง่ิ ทผ่ี เู้ รยี นออกแบบและสรา้ งเพอ่ื ปลกู ผกั บรเิ วณทม่ี พี น้ื ทจ่ี �ำ กดั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี



แผนการจดั 2 การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีการเรยี นรทู้ ่ี ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ทกั ษะและกระบวนการท่ีเป็นจุดเนน้ ความรเู้ ดมิ ทีผ่ เู้ รยี นตอ้ งมี สาระส�ำ คญั สอ่ื และอุปกรณ์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล ข้อเสนอแนะ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง

44 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี 1. ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้ 1.1 ตวั ชว้ี ดั อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำ�วันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี 1.2 สาระการเรียนรู้ เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความตอ้ งการ ความก้าวหน้าของศาสตรต์ ่าง ๆ เศรษฐกิจ สงั คม 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยทสี่ ง่ ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook