Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตำบลโพหัก-เดือน-พ.ย.-แก้ไขdocx

ตำบลโพหัก-เดือน-พ.ย.-แก้ไขdocx

Published by bangphaelibrary01, 2020-03-12 00:28:48

Description: ตำบลโพหัก-เดือน-พ.ย.-แก้ไขdocx

Search

Read the Text Version

ทำเนียบภมู ิปัญญำท้องถน่ิ กศน.ตำบลโพหัก ประจำเดอื นพฤศจกิ ำยน 2562 ศนู ย์กำรศกึ ษำนอกระบบ และกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั อำเภอบำงแพ สำนกั งำน กศน.จงั หวดั รำชบุรี สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย สำนกั งำนปลัดกระทรวงศกึ ษำธิกำร กระทรวงศกึ ษำธิกำร

คำนำ ภูมิปัญญาชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาท้องถ่ิน หมายถึง ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนเรา ผ่านกระบวนการศึกษา สังเกตคิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ท่ีประกอบกันขึ้นมา จากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาเป็นศาสตร์ เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวไว้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นจัดเป็นพ้ืนฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ที่จะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหา การจัดการ และการปรับตัวในการดาเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ท่ีมีอยู่ท่ัวไปในสังคม ชุมชนและในตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพ่ือศึกษา และนามาใช้ก็จะเป็นท่ีรู้จักกันเกิดการยอมรับ ถา่ ยทอด และพฒั นาไปสคู่ นรุ่นใหมต่ ามยคุ ตามสมัยได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตาบลโพหัก ได้จัดทาขอ้ มูล เร่ืองทาเนียบ ภูมิ ปัญญาท้องถ่นิ ฉบบั น้ีข้ึน เพอื่ รวบรวมประวัติ และผลงานของบคุ คลในสาขาต่าง ๆ ที่เป็นผู้ท่ีสืบทอดมรดกทาง ศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีของชมุ ชน ในตาบลโพหัก เพ่ือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาหรับผทู้ ี่ศกึ ษาค้นคว้า และ สนใจอันจะเป็นประโยชน์และตระหนักถึงความสาคัญในคุณค่าของมรดกทางด้านศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น และมสี ่วนร่วมในการจรรโลงและรกั ษาไวส้ ืบตอ่ ไป คณะผู้จัดทาต้องขอขอบคุณคณะทางานท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ที่ทาให้เอกสารสาเร็จด้วยดี หากท่านพบข้อบกพร่องและข้อเสนอแนะใดๆ ในการพัฒนาทาเนียบภูมิปัญญาท้องถ่ินให้มีความสมบูรณ์ โปรดแจ้งศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางแพ เพ่ือได้พฒั นาปรบั ปรงุ ต่อไป กศน.อาเภอบางแพ พฤศจิกายน 2562

สำรบัญ หนำ้ คำนำ 1 สำรบัญ 3 4 สรปุ ทาเนยี บภูมิปัญญาท้องถ่ิน กศน.ตาบลโพหกั 6 กศน.ตาบลโพหัก 8 ภมู ิปัญญา การตอกฉัตร : นายสมาน เพกิ จนิ ดา ภมู ิปัญญา หมผี่ ัดโบราณโพหัก : นางวาสนา โพธ์มิ ี ภมู ิปัญญา การจักสาน : นายสมพงษ์ คงแป้น คณะผจู้ ดั ทา

1 สรุปทำเนยี บภมู ปิ ัญญำทอ้ งถน่ิ กศน.ตำบลโพหกั อำเภอบำงแพ จงั หวัดรำชบรุ ี ประจำเดือน พฤศจิกำยน 2562 ลำดับ ชอ่ื ภมู ิปญั ญำ สำขำ เจ้ำของภมู ิปัญญำ ทีอ่ ยูภ่ มู ิปัญญำ ที่ ดา้ นอุตสาหกรรม นายสมาน เพกิ จนิ ดา บ้ า น เ ล ข ที่ 156 ห มู่ ที่ 3 1 การตอกฉัตร และหัตกรรม ตาบลโพหัก อาเภอบางแพ จงั หวัดราชบรุ ี 2 หมผ่ี ดั โบราณโพหัก ดา้ นพาณชิ ย์และ นางวาสนา โพธิม์ ี บ้านเลขที่ 74 หม่ทู ่ี 3 ตาบล บรกิ าร โ พ หั ก อ า เ ภ อ บ า ง แ พ 3 การจักสาน จงั หวดั ราชบุรี ด้านอุตสาหกรรม นายสมพงษ์ คงแปน้ บ้านเลขท่ี 59 หมทู่ ี่ 3 ตาบล และหตั กรรม โ พ หั ก อ า เ ภ อ บ า ง แ พ จังหวัดราชบุรี

2 กศน.ตำบลโพหกั

3 แบบบันทึกชุดขอ้ มลู คลงั ปญั ญำ-ภมู ปิ ญั ญำท้องถ่นิ ตำบลโพหัก อำเภอบำงแพ จังหวัดรำชบุรี ช่อื ภูมปิ ัญญำ การตอกฉตั ร ขอ้ มูลพื้นฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภมู ิปญั ญำทอ้ งถนิ่ /บคุ คลคลังปญั ญำ ชอื่ นายสมาน นำมสกลุ เพิกจนิ ดา วนั /เดอื น/ปเี กดิ 5 เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2497 ทอ่ี ยู่ปจั จุบนั (ทีส่ ามารถติดต่อได้) บ้านเลขท่ี 156 หมู่ที่ 3 ตาบล/แขวง โพหัก อาเภอ/เขต บางแพ จังหวัด ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70160 โทรศัพท์ 087-4105476 โทรสำร - Lind ID: 087-4105476 E-mail address:- Facebook: SamanPhoekechinda พกิ ดั ทำงภมู ศิ ำสตร์ ค่าละติจูด คา่ X : 610127 คา่ ละตจิ ูด ค่า Y: 1508473 ควำมเปน็ มำของภมู ิปัญญำ นายสมาน เพิกจินดา เป็นผู้เรยี นรู้การตอกฉตั รด้วยตนเอง มีความสนใจในการตอกฉัตรไดฝ้ ึกฝนจน เกิดความชานาญ โดยร่างแบบที่ต้องการในกระดาษเอ 4 ก่อน เช่นลวดลายดอกไม้ สัตว์ในวรรณคดี รูปสัตว์ ประจาปีนักสัตว์ตามราศีของผู้ที่จะอุปสมบท รูปสัตว์ต่างๆ หรือรูปพระนางในละครโทรทัศน์ (บุพเพสันนิวาส) แล้วค่อยนากระดาษว่าวสีสันต่างๆ มาพับซ้อนกันหลายๆ แผ่น วางกระดาษเอ 4 ลงบนกระดาษสีท่ีพับไว้ให้ เสมอกันแล้วตอกด้วยตะปู 4 มุม เพือ่ ไม่ใหก้ ระดาษเล่ือนเวลาตอกลวดลาย การตอกลวดลายจะใช้ไขควงเบอร์ เล็กกับค้อนตอกตะปูเท่านั้น โดยมีภรรยาและบุตรคอยให้การสนับสนุนซ้ืออุปกรณ์ เตรียมอุปกรณ์ให้ ความช่วยเหลืออานวยความสะดวกในการตอกฉตั รแต่ละครั้ง ตลอดจนคนในตาบลที่มีงานอุปสมบทของบุตร หลาน ก็จะมาขอความช่วยเหลือให้ตอกฉัตรให้ ก็จะทาให้ล่วงหน้าโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆท้ังสิ้นจะทาให้ฟรี บางทีเจ้าภาพก็จะซื้อวัสดุในการตอกฉัตรมาให้ บางทีก็จะซ้ือวัสดุในการตอกฉัตรเองเพื่อร่วมทาบุญกับ เจา้ ภาพ จุดเดน่ ของภูมิปัญญำ ฉตั รมีบทบาทสาคัญในการประกอบพิธีกรรม งานมงคลของคนในพ้ืนท่ีตาบลโพหัก โดยเฉพาะพิธีการ อุปสมบท ทาการพิธีมงคล พิธคี รอบครู เพ่ือถวายสิ่งศักดิ์สืบทอดกันมาต้ังแต่สมัยโบราณ การยกฉัตรเก้าช้ันใน งานอุปสมบทน้ันจะต้องมีการเตรียมฉัตรก่อนงานอุปสมบทเจ้าภาพต้องหาไม้ไผ่ลายาวๆ โดยมียอดไผ่ติดมา ด้วย นาผวิ ไม้ไผ่มาโค้งเป็นวงกลมติดรอบเสาและร่มฉัตร นิยมเอากระดาษสีต่างๆ มาตอกใหเ้ ป็นลวดลายต่างๆ การตอกฉัตรจะอาศัยการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ปัจจุบันลดน้อยลงเพราะการตอกฉัตรน้ันเป็นศิลปะช้ันสูงอีก ชนิดหน่ึง ท่ีอาศัยความชานาญและความอดทนในการฝึกฝนต้องมีสมาธิ มิฉะนั้นลวดลายของกระดาษจะไม่ เป็นรูปร่างตามแบบที่ต้องการใช้ติดในงานอุปสมบท และมีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มา ศึกษาดงู าน

4 ภำพถ่ำยบคุ คล และอุปกรณ/์ เครือ่ งมอื /ส่ิงประดิษฐ์ (ชิน้ งำนหรอื ผลงำน) นายสมาน เพิกจนิ ดา การตอกฉตั ร

5 แบบบนั ทึกชุดข้อมูลคลังปัญญำ-ภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถ่ิน ตำบลโพหัก อำเภอบางแพ จงั หวดั ราชบรุ ี ช่ือภูมิปัญญำ หมีผ่ ดั โบราณโพหัก ขอ้ มูลพืน้ ฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภมู ิปญั ญำทอ้ งถิ่น/บคุ คลคลงั ปญั ญำ ชอ่ื นางวาสนา นำมสกลุ โพธ์มิ ี วัน/เดอื น/ปเี กดิ 15 เดือนเมษายน พ.ศ. 2493 ที่อยู่ปัจจบุ นั (ทส่ี ามารถตดิ ต่อได้) บา้ นเลขท่ี 74 หมู่ที่ 3 ตาบล/แขวงโพหกั อาเภอ/เขต บางแพ จังหวดั ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70160 โทรศพั ท์ 089-7551818 โทรสำร- Lind ID:- E-mail address:- . Facebook:- พิกัดทำงภมู ิศำสตร์ ค่าละติจูด คา่ X : 609322 คา่ ละตจิ ูด ค่า Y: 1509139 ควำมเปน็ มำของภมู ิปญั ญำ นางวาสนา โพธิ์มี เป็นผู้เรียนรู้การทาหมี่ผัดโบราณมาจากบรรพบุรุษมีการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น มีการพัฒนาสตู รการหมี่ผดั ทาโบราณโพหัก จนเป็นสตู รท่ีอร่อยเพราะเปน็ สตู รเฉพาะของโพหกั นาง วาสนา โพธ์ิมี มีความสนใจในการทาอาหารท้องถ่ินหลากหลายชนิดฝึกฝนจนเกิดความชานาญเป็นที่ยอมรับ ของคนในชมุ ชน และเปน็ หวั หนา้ แม่ครวั ในงานเทศกาลตา่ งๆ ของคนในตาบลโพหักและตาบลใกล้เคียง จุดเดน่ ของภมู ิปัญญำ หมี่ผดั โบราณโพหักมักจะทาในเทศกาลออกพรรษาและงานกฐิน อาหารในเทศกาลน้ีไม่เน้นว่าจะเป็น อาหารชนิดใด แต่ต้องทาเป็นจานวนมาก ส่วนใหญ่จะเป็นอาหารแห้งท่ีห่อด้วยใบบัวหรือใบตองเพ่ือนาไป ทาบุญและนาไปใส่ที่เรือองค์กฐินสาหรับนาไปแจกจ่ายให้ฝีพายท่ีมาแข่งขันเรือยาวในช่วงน้าข้ึน ส่วนขนมจะ เป็นประเภท ข้าวต้มมัด ข้าวต้มลูกโยนและหมี่ผัดโบราณโพหัก เทศกาลงานบวชงานบวชเป็นงานท่ีใหญ่โต ที่สุดของชาวโพหักเพราะเป็นความเชื่อว่าเป็นงานบุญท่ีย่ิงใหญ่เป็นความมีหน้ามีตาของพ่อแม่และญาติพ่ี น้อง ในอดีตตอ้ งมีการเตรียมตัวล่วงหนา้ เป็นเดอื นๆ สาหรบั อาหารที่นิยมทากนั มากคอื อาหารประเภทแกงส้ม แกงค่ัวต้มเคร่ืองในวัว และท่ีขาดไม่ได้คือหม่ีผัดโบราณโพหัก ส่วนของหวานเป็นพวกขนมช้ัน ขนมถ้วยฟู และ ขนมเม็ดขนุนเป็นต้นสาหรับหม่ีผัดโบราณโพหัก และขนมจะต้องทาไว้เป็นจานวนมาก ส่วนหน่ึงจะนาไป ทาบญุ เล้ยี งพระ และเล้ียงแขกทมี่ ารว่ มงาน อีกสว่ นหน่งึ เอาไวม้ อบใหก้ ับผทู้ ่มี าช่วยงานทเ่ี รียกกันว่า แถมพก

6 ภำพถำ่ ยบคุ คล และอปุ กรณ์/เครื่องมอื /ส่ิงประดิษฐ์ (ชนิ้ งำนหรอื ผลงำน) นางวาสนา โพธิม์ ี สาธติ การผดั หมโี่ บราณ

7 แบบบันทกึ ชุดข้อมลู คลังปัญญำ-ภูมปิ ญั ญำทอ้ งถน่ิ ตำบลโพหกั อำเภอบางแพ จงั หวัดราชบุรี ช่อื ภมู ิปัญญำ จักสาน ข้อมูลพน้ื ฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภูมิปญั ญำท้องถนิ่ /บคุ คลคลังปัญญำ ชอื่ นายสมพงษ์ นำมสกลุ คงแป้น วนั /เดือน/ปีเกิด - - พ.ศ.2496 ท่ีอยู่ปจั จุบัน (ทสี่ ามารถตดิ ต่อได้) บ้านเลขท่ี 59 หมทู่ ่ี 3 ตาบล/แขวง โพหัก อาเภอ/เขต บางแพ จังหวัด ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70160 โทรศัพท์ 087-9139636 โทรสำร- Lind ID: 087-9139636 E-mail address:- Facebook:- พกิ ัดทำงภมู ศิ ำสตร์ ค่าละติจูด ค่า X : 609287 ค่าละติจดู ค่า Y: 1509114 ควำมเปน็ มำของภูมิปญั ญำ นายสมพงษ์ คงแป้น เป็นผู้เรียนรู้การจักสานเครื่องใช้ในครัวเรือนจากบิดา ท่ีบ้านปลูกไผ่ ตัดไม้ไผ่ และจกั ตอกดว้ ยตนเอง มคี วามสนใจในการจกั สานจึงได้ฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญ มีความสามารถใน การ จักสานเครื่องใช้หลากหลายชนดิ ตั้งแต่การทาภาชนะเครื่องใช้ เชน่ กระบุง ตะกร้า กระจาด จนกระท่งั ทาเป็น เคร่ืองมือดักจับหรือขังสัตว์น้า เช่น ตะข้อง กระชัง สุ่ม อจี ู้ ลอบ ไซ ชนาง นอกจากนี้ยังมลี กู คา้ มาสง่ั ผลิตภัณฑ์ ถึงทีบ่ า้ น และมนี กั ศึกษาจากมหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบงึ มาศึกษาดงู าน จดุ เด่นของภูมปิ ัญญำ คนโพหักเอาใจใส่เร่ืองเคร่ืองจักสานกันเป็นพิเศษ อาจจะเน่ืองจากโพหักมีทรัพยากรทางการช่างอยู่ ใกล้ตัวท่สี ุดคือ ไมไ้ ผแ่ ละกระบวนการทางการจักสานนนั้ เป็นวธิ ีฝึกคนให้มีความมานะพยายาม รู้จักเรียนรจู้ าก ผู้อื่นและรู้จักสร้างสรรค์ด้วยตนเอง โดยเฉพาะสมัยก่อนการกาหนดเงื่อนไขให้ชายหนุ่มสานกระบุง สาน กระจาด เพ่ือมอบให้สาวคนรักในวัฒนธรรมอาสาของคนโพหักรุ่นก่อน ๆ น้ัน ทาให้เคร่ืองจักสานกลายเป็นสิ่ง มีคุณค่า เพราะเกี่ยวพันกับชีวิตรักและการเริ่มต้นครอบครัวของคนโพหัก กระบุงอาสา กระจาดอาสา จึง งดงามประณีต มีคุณค่าต่อผู้เป็นเจ้าของอย่างแท้จริง จึงมีการเก็บรักษาเป็นอย่างดี เม่ือทางราชการจัดให้มี การประกวดเครื่องจักสานโพหักขึ้น จงึ พบวา่ เคร่ืองจักสานโพหักจานวนไม่น้อย ทม่ี ีอายกุ ว่าร้อยปีขน้ึ ไปเครื่อง จกั สานท่ีใชก้ นั อยู่ในครอบครัวคนโพหัก ซึง่ สามารถจัดประกวดไดเ้ ม่อื พ.ศ. 2536 มีถึง 47รายการ เชน่ กระบุง หาบ กระบุงอาสา กระจาดอาสา กระเชอ กระบาย กระล่อม กระทาย ฯลฯ มผี ลงานกวา่ 1,000 ชิ้น มที ั้ง ผลงานท่ีทาขึ้นใหม่และมรดกตกทอดที่ทาต่อเนื่องกันมาหลายช่ัวอายุคนผลของการประกวดและแสดงเคร่ือง จักสานในครั้งน้ี ทาให้เกิดการตื่นตัว อนุรักษ์มรดกช่างฝีมือของชาวโพหักเอง เพราะลูกหลานที่เกิดขึ้นใน ภายหลงั ไดพ้ ลอยเห็นและรับรคู้ วามสาคัญของส่ิงทอี่ ยู่ในครอบครัวของตน เกิดการสืบตอ่ มรดกวัฒนธรรมสว่ น นใี้ ห้คงอยูส่ บื ตอ่ ไปด้วย

8 ภำพถำ่ ยบคุ คล และอปุ กรณ/์ เครื่องมอื /สิ่งประดิษฐ์ (ชิ้นงำนหรอื ผลงำน) นายสมพงษ์ คงแปน การจักสานเครอ่ื งใช้ในครัวเรอื น

9 คณะผู้จดั ทำ ท่ีปรึกษำ ผ้อู านวยการ กศน.จงั หวัดราชบรุ ี 1. นางสาวดารตั น์ กาญจนาภา ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอบางแพ 2. นายสัจจา จนั ทรวิเชยี ร ครชู านาญการพเิ ศษ 3. นางอรพร ผลกจิ คณะผ้จู ดั ทำ ครู กศน.ตาบลโพหัก นางนิภาภร ถาถว้ ย บรรณำธกิ ำร/จัดทำรปู เลม่ บรรณารักษ์ชานาญการพเิ ศษ 1. นางมิง่ ขวญั คอยช่ืน บรรณารักษ์อตั ราจ้าง 2. นางสาวทฤฒมน ชนิ ณบดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook