คำนำ การศึกษาเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีคุณภาพ อันนาไปสู่ การพัฒนาประเทศ ให้มีความเข้มแข็งในทุกด้าน การปูพ้ืนฐานในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยเฉพาะ ระดับชั้นประถมศึกษา จึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งสาหรับประเทศท่ีเจริญแล้ว และมีความก้าวหน้า อย่างมั่นคงในทุกด้าน ได้ให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยเฉพาะระดับชั้นประถมศึกษา ในช่วงชั้นแรก ดงั น้นั รฐั บาลจงึ ไดก้ าหนดเป็นนโยบายวา่ ปีการศึกษา 2558 เดก็ ท่จี บชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ต้องอา่ นออกเขยี นได้ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน จึงไดจ้ ัดทายุทธศาสตร์ปฏริ ูปการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน ปกี ารศึกษา 2558 ขึน้ โดยกาหนดเป็นนโยบายเร่งดว่ น “เด็กจบชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ตอ้ งอ่านออก เขียนได้ และต้องมีระบบการประเมินท่ีเป็นรูปธรรม” และได้มอบหมายให้ สานักทดสอบทางการศึกษา จดั ทาโครงการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ขน้ึ คู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 เป็นการช้ีแจงแนวทางการดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน โดยมีการปรับแก้และเพ่ิมเติม เนื้อหาบางส่วน จากเอกสารคู่มือในปีการศึกษาท่ีผ่านมา เพื่อให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกับแนวทางการบริหาร จัดการในปัจจุบันให้มากย่ิงข้ึน โดยเน้ือหาสาระของคู่มือฉบับนี้จะประกอบไปด้วย เหตุผลและความสาคัญ วัตถุประสงค์ นิยามศัพท์เฉพาะ กลุ่มเป้าหมาย ตารางการประเมิน การประกาศผลการประเมิน โครงสร้างและ เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมิน การแปลความหมายของผลการประเมิน กรอบแนวคิดในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่าน การบริหารการจัดสอบระดับศูนย์สอบ การบริหารจัดสอบระดับสนามสอบ เอกสารในการจัดสอบ การรายงานผลการสอบ เพ่ือให้การดาเนินการทดสอบเป็นไปในแนวทางเดียวกัน มีมาตรฐานเดียวกันท้ังประเทศ ผลการทดสอบมีความน่าเชื่อถือ ถูกต้อง ตรงตามความสามารถท่ีแท้จริง ของนักเรียน สามารถนาข้อมูลท่ีได้ไปใช้ในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนาความสามารถพ้ืนฐาน ของนักเรยี นท้ังในระดบั รายบคุ คล โรงเรียน สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา/ศนู ย์สอบ และรายสงั กัด สานักทดสอบทางการศึกษา ขอขอบคุณ คณะกรรมการระดับศูนย์สอบ และระดับสนามสอบ ท่ใี ห้ความร่วมมือในการดาเนินการจดั สอบ โดยยดึ แนวทางตามคู่มือการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่าน ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 ทาให้เช่ือม่ันได้ว่าผลการประเมินเป็นข้อมูลท่ีถูกต้อง ตรงตามความสามารถทแ่ี ท้จริงของนักเรียน สามารถนาไปวางแผนปรบั ปรุง และพัฒนาได้อย่างดตี ่อไป สำนกั ทดสอบทำงกำรศึกษำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พ้ืนฐำน ก
สำรบัญ เรอื่ ง หน้ำ คำนำ .......................................................................................................................................ก สำรบัญ .......................................................................................................................................ค ตอนท่ี 1 บทนำ....................................................................................................................................1 เหตผุ ลและความสาคัญ .............................................................................................................. 1 วตั ถุประสงค์ .............................................................................................................................. 2 นิยามศพั ท์เฉพาะ....................................................................................................................... 2 กลุ่มเป้าหมาย ............................................................................................................................ 2 ตารางการประเมนิ ..................................................................................................................... 3 ประกาศผลการประเมนิ ............................................................................................................. 3 โครงสร้างและเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมนิ ................................................................................ 3 การแปลความหมายของผลการประเมิน..................................................................................... 5 กาหนดการบรหิ ารจดั การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน....................................... 6 การนาผลการประเมินไปใช้ในการวินิจฉยั นักเรียน........................................................................ 7 การวิเคราะหผ์ ลในภาพรวมของโรงเรียน...................................................................................... 7 ตอนที่ 2 กรอบแนวคิดในกำรประเมนิ ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ น ........................................................9 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย....... 9 ตวั ช้วี ดั ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การประเมินการอา่ น ............................................................................... 10 ความหมายของการอ่าน........................................................................................................... 13 แนวคิดเกีย่ วกับการกระจายอานาจในการบรหิ ารจดั การ (Decentralization)......................... 13 แนวคิดเก่ียวกบั ความโปรง่ ใสในการจัดสอบ (Transparency).................................................. 15 ตอนที่ 3 กำรบริหำรกำรจัดสอบระดับศนู ยส์ อบ .................................................................................19 ภารกจิ ระดบั ศูนยส์ อบ.............................................................................................................. 19 บทบาทของคณะกรรมการระดับศูนยส์ อบ ............................................................................... 19 ตอนที่ 4 กำรบรหิ ำรกำรจดั สอบระดับสนำมสอบ ...............................................................................23 ภารกิจของสนามสอบ .............................................................................................................. 23 คณะกรรมการระดบั สนามสอบ................................................................................................ 24 คณุ สมบตั ิของกรรมการระดับสนามสอบ.................................................................................. 24 ค
สำรบัญ (ต่อ) เร่อื ง หน้ำ ตอนที่ 4 กำรบรหิ ำรกำรจดั สอบระดับสนำมสอบ (ตอ่ ) ......................................................................23 บทบาทของคณะกรรมการระดบั สนามสอบ ............................................................................. 24 แนวปฏบิ ัตใิ นการบริหารจัดการสอบ........................................................................................ 28 ตอนท่ี 5 เอกสำรกำรจดั สอบ .............................................................................................................35 เอกสารท่ีจดั ส่งไปยังสนามสอบ ................................................................................................ 35 การรบั -สง่ แบบทดสอบ ............................................................................................................ 40 ตอนที่ 6 กำรรำยงำนผลกำรทดสอบ..................................................................................................41 การรายงานระดบั บคุ คล........................................................................................................... 41 การรายงานระดับโรงเรยี น ....................................................................................................... 41 การรายงานระดบั ศนู ย์สอบ...................................................................................................... 41 การรายงานระดับจงั หวดั หรือศึกษาธิการจังหวดั ...................................................................... 42 การรายงานระดับหน่วยงานต้นสงั กัด....................................................................................... 42 ตอนท่ี 7 กำรจัดสอบสำหรบั เด็กทม่ี ีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พเิ ศษ..........................................................43 แนวทางการจดั สอบสาหรับเด็กที่มีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ.................................................. 43 ขอ้ ปฏิบตั ิสาหรับการจดั สอบเด็กทมี่ ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ................................................ 46 หลักฐานท่ีใช้แนบประกอบสาหรบั เดก็ ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ....................................... 46 ภำคผนวก ก ตวั อย่ำงข้อสอบ เฉลย และเกณฑ์กำรใหค้ ะแนน...........................................................47 ภำคผนวก ข ตวั อยำ่ งแบบรำยงำนผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถในกำรอ่ำน (รำยบคุ คล)..................63 ภำคผนวก ค ตัวอย่ำงแบบรำยงำนผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำน (รำยโรงเรียน)............67 ภำคผนวก ง ตวั อย่ำงแบบรำยงำนผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำน รำยเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำ (ศูนย์สอบ) ...............................................................................71 ภำคผนวก จ เอกสำรธรุ กำรประจำสนำมสอบ กำรประเมนิ ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำน......................75 ภำคผนวก ฉ ระเบียบกระทรวงศึกษำธิกำรว่ำด้วยกำรปฏิบตั ขิ องผู้เขำ้ สอบ .......................................89 คณะผจู้ ัดทำ .....................................................................................................................................95 ง
ตอนท่ี 1 บทนำ 1.1 เหตผุ ลและควำมสำคญั การศึกษาเป็นปัจจัยพื้นฐานสาคัญในการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีคุณภาพ อันจะนาไปสู่การพฒั นาประเทศให้มีความเข้มแข็งในทุกด้าน กระทรวงศกึ ษาธิการจึงกาหนดให้มีการปฏิรูป การศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2562) โดยกาหนดจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนท่ีคลอบคลุมทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สาหรับใช้เป็นกลไกขับเคลื่อน เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนต้ังแต่วัยเริ่มต้น และการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะ ระดับช้ันประถมศึกษาจึงได้กาหนดนโยบาย “ปีการศึกษา 2558 เป็นปีปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้” และนักเรียนเม่ือจบช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ต้องอ่านออกเขียนได้ และมีมาตรการการประเมินผล ที่เป็นรูปธรรม ดังนั้น จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและ การเขียนตามเกณฑ์มาตรฐาน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้เน้นย้าให้โรงเรียน ปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน เพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสอนแบบแจกลูกสะกดคา โดยใช้ แนวการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการสมอง (BBL) เป็นต้น และได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพ ผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ต้องอ่านออกเขียนได้ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ขึ้นไปต้องอ่านคล่องเขียนคล่อง ตามยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในปีการศึกษา 2562 สานักทดสอบทางการศึกษา ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลัก ในการสร้างเครื่องมือประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งคณะ ผู้ดาเนินการสร้างเคร่ืองมือประเมิน ประกอบด้วย กลุ่มผู้เช่ียวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านจิตวิทยา พัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้ ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ด้านการสอนภาษาไทยมากกว่า 5 ปีขึ้นไป ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล โดยพิจารณากรอบแนวทางในการสร้างเครื่องมือจากการวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามระดับชั้นของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การวิเคราะห์ระดับพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน และการวิเคราะห์ กระบวนการเรียนรู้ภาษาไทยที่ถูกต้องตามหลักภาษา และใช้กรอบคาศัพท์ในบัญชีคาพื้นฐาน เพ่ือเป็น ตัวช้ีวัดผลสาเร็จในการดาเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จุดเน้นยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ และจุดเน้นสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน อันจะนาไปสู่การกาหนด นโยบายการศึกษา การนาไปใช้วินิจฉัยข้อบกพร่องความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนได้ตรงประเด็น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้จัดทาคู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ขึ้น เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการเป็นไปใน ทิศทางและมาตรฐานเดียวกัน และผลท่ีได้จากการประเมินจะเป็นข้อมูลสาคัญท่ีสะท้อนคุณภาพผู้เรียน คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา รวมทั้งเป็นเคร่ืองบ่งช้ี คุณภาพผูเ้ รยี นในระดบั ประเทศตอ่ ไป
1.2 วัตถปุ ระสงค์ เพื่อประเมินเชิงวินิจฉัยความสามารถด้านการอ่าน (การอ่านออกเสียง และอ่านรู้เร่ือง) ของผ้เู รียน ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 1.3 นยิ ำมศัพท์เฉพำะ การดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ได้กาหนดนยิ ามไว้ ดังนี้ อ่ำนออกเสียง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความส้ัน ๆ ท่ีเป็นคาในวงคาศัพท์ ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท้ังท่ีเป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาท่ีมีความหมายโดยนัย ที่ใช้ ในชวี ติ ประจาวนั โดยวิธีการอ่านออกเสียง อ่ำนรู้เรื่อง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความส้ัน ๆ ท่ีเป็นคาในวงคาศัพท์ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ท้ังท่ีเป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาที่มีความหมายโดยนัย ท่ีใช้ ในชวี ติ ประจาวัน โดยสามารถบอกข้อคิดท่ีไดจ้ ากการอ่านร้อยแก้ว รอ้ ยกรอง สาหรบั เดก็ (เป็นขอ้ ความง่าย ๆ) จับใจความจากเรื่องท่ีอ่าน ตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายสัญลักษณ์ท่ีสาคัญ ท่ีพบเห็นในชีวิตประจาวนั คาดคะเนจากเรื่องที่อ่าน สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่านได้อย่างสมเหตุสมผล แปลความและสรา้ งสรรคจ์ ากภาพ 1.4 กลุ่มเปำ้ หมำย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดาเนินการจัดสอบให้กับผู้เรียนท่ีกาลัง ศกึ ษาอยใู่ นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ในปกี ารศกึ ษา 2562 ทุกคนของโรงเรียนจากทุกสงั กดั ดังน้ี 1. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 2. สานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน 3. สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา 4. กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน สงั กัดสานกั งานตารวจแหง่ ชาติ 5. กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถนิ่ 6. สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 7. สานักการศกึ ษากรงุ เทพมหานคร 8. สานักการศกึ ษาเมืองพทั ยา 9. การจดั การศึกษาโดยครอบครัว (Home school) 2
1.5 ตำรำงกำรประเมนิ ดาเนินการประเมินในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 ระหว่างวันท่ี 11 – 14 กุมภาพันธ์ 2563 โดยมตี ารางการประเมิน ดังน้ี วนั สอบ เวลำ วิชำ เวลำสอบ 11 - 14 ก.พ. 2563 09.00 – 10.00 น. การอา่ นรู้เรื่อง 60 นาที พัก 30 นาที 10.30 – 11.30 น. การอา่ นออกเสียง คนละ 10 นาที พักกลางวัน 60 นาที 12.30 – 15.00 น. การอ่านออกเสียง (ต่อ) คนละ 10 นาที 1.6 ประกำศผลกำรประเมนิ ประกาศผลการประเมนิ วันท่ี 20 มีนาคม 2563 1.7 โครงสรำ้ งและเครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในกำรประเมนิ 1.7.1 โครงสร้างท่ีใชใ้ นการประเมนิ โครงสร้างที่ใช้ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 เป็นการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เรื่อง ซ่ึงสอดคล้องกับ มาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มรี ายละเอยี ดตามกรอบโครงสรา้ ง ดงั น้ี 3
องค์ รปู แบบข้อสอบ (จำนวนข้อ) รวม (ขอ้ ) ประกอบ (คะแนน) มำตรฐำนและตัวชี้วดั จับคู่ เลอื ก เขยี น ปฏิบัติ ตอบ ตอบสนั้ จรงิ 20 ท 1.1 ป.1/1 อ่านออกเสยี งคา คาคล้องจอง ขอ้ ความสั้น ๆ (10 คะแนน) (คาที่มรี ูปวรรณยกุ ต์ และไม่มีรปู วรรณยกุ ต์ คาท่ีมตี วั สะกด สมรรถนะ 1. กำรอำ่ นออกเสยี ง ตรงมาตรา และไม่ตรงมาตรา คาทม่ี ีพยัญชนะควบกลา้ 10 คาที่มีอกั ษรนา) คำ 20 (20 คะแนน) 20 คา 1 ประโยค 10 (20 คะแนน) 10 ประโยค 1 (50 คา) ข้อควำม 1 ข้อความ 8 ประโยค ( 48 คา ) รวม 31 31 (50 คะแนน) ท 1.1 ป.1/2 บอกความหมายของคาและข้อความท่ีอ่าน สมรรถนะ 2. กำรอำ่ นรู้เร่ือง 10 10 ท 1.1 ป.1/3 ตอบคาถามเกย่ี วกับเรอ่ื งท่อี า่ น คำ (10 คะแนน) ท 1.1 ป.1/4 เล่าเร่ืองยอ่ จากเร่อื งที่อา่ น 10 คา 5 ท 1.1 ป.1/5 คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่อื งท่ีอา่ น 5 ท 1.1 ป.1/7 บอกความหมายของเครอื่ งหมาย สัญลักษณ์ ประโยค 10 (10 คะแนน) สาคญั ทม่ี กั พบเจอในชีวิตประจาวัน เลา่ เรื่องจากภาพ 5 ท 2.1 ป.1/2 เขียนส่ือสารดว้ ยคาและประโยคต่าง ๆ 10 ท 3.1 ป.1/2 ตอบคาถามและเล่าเรื่องที่ฟงั และดูท้งั ทเ่ี ป็น 5 ภาพ (20 คะแนน) ความรู้และความบันเทงิ ท 4.1 ป.1/3 เรยี บเรียงคาเปน็ ประโยคงา่ ย ๆ ประโยค 5 ท 5.1 ป.1/1 บอกข้อคิดทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นหรือฟงั วรรณกรรม 10 ประโยค (10 คะแนน) ร้อยแก้วและรอ้ ยกรองสาหรับเด็ก ขอ้ ควำม 3 – 5 ข้อความ รวม 10 15 5 30 (50 คะแนน) ขอบขำ่ ยสำระ (ส่ิงเรำ้ ) อักษรสงู ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห เป็นคา ประโยค ข้อความ หรือบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ทีม่ ีวง อักษรกลำง ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ คาศัพท์ท่ีเป็นคาประสมด้วยพยัญชนะและสระประกอบด้วย อักษรตำ่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ คาคล้องจอง ขอ้ ความส้นั ๆ (คาที่มรี ูปวรรณยกุ ต์ และไมม่ ี สระเสียงส้นั -ยำวที่เป็นสระเด่ียวจำนวน 18 ตวั ประกอบดว้ ยสระอะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ รปู วรรณยุกต์ คาทมี่ ตี ัวสะกดตรงมาตรา และไม่ตรงมาตรา เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ สระประสม 6 ตวั ประกอบด้วยสระ เอยี ะ เอีย อวั ะ คาท่ีมพี ยัญชนะควบกล้า คาทีม่ อี ักษรนา) อวั เอือะ เอือ และสระเกิน 4 ตัวประกอบด้วย สระอา ใอ ไอ เอา สระลดรูป สระเปลีย่ นรูป (ทั้งมแี ละไมม่ ีรูปวรรณยกุ ต์) 4
1.7.2 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมนิ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 มที ง้ั หมด 2 ฉบบั ได้แก่ ฉบับท่ี 1 การอ่านรู้เร่อื ง เป็นการประเมินโดยใช้แบบทดสอบ ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 การอ่านรูเ้ ร่ืองเปน็ คา เปน็ ขอ้ สอบแบบจับคู่คา 10 คา คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอนท่ี 2 การอ่านรู้เร่อื งเปน็ ประโยคมี 15 ขอ้ ประกอบดว้ ย - ขอ้ สอบแบบเขียนประโยคเล่าเรือ่ งจากภาพมี 5 ภาพ คะแนนเตม็ 10 คะแนน - ขอ้ สอบแบบเลือกตอบมี 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 20 คะแนน ตอนท่ี 3 การอ่านร้เู รอ่ื งเป็นข้อความ เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบมี 5 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน ฉบบั ท่ี 2 การอ่านออกเสยี ง เป็นการประเมนิ ภาคปฏบิ ตั ิ ประกอบดว้ ย ตอนท่ี 1 การอ่านออกเสยี งเปน็ คามี 20 คา คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอนที่ 2 การอ่านออกเสยี งประโยคมี 10 ประโยค คะแนนเต็ม 20 คะแนน ตอนที่ 3 การอ่านออกเสียงข้อความมี 1 ข้อความ คะแนนเตม็ 20 คะแนน 1.8 กำรแปลควำมหมำยของผลกำรประเมนิ ผลการประเมินในรายองค์ประกอบ รายสมรรถนะและภาพรวม สามารถแปลความหมายได้ ดังต่อไปน้ี ควำมหมำยในภำพรวม ระดบั ควำมสำมำรถ ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียง อ่านรู้เรื่อง คา ประโยค และ ดมี ำก ขอ้ ความในวงคาศัพทท์ ีก่ าหนดได้ถูกตอ้ ง ต้งั แต่ร้อยละ 75 ข้ึนไป ดี ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสยี ง อ่านรู้เรื่อง คา ประโยค และ ข้อความในวงคาศพั ทท์ ่ีกาหนดไดถ้ ูกตอ้ ง ต้ังแต่ร้อยละ 50 ขน้ึ ไปแตน่ อ้ ยกวำ่ พอใช้ รอ้ ยละ 75 ปรบั ปรุง ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสยี ง อ่านรู้เรื่อง คา ประโยค และ ข้อความในวงคาศัพทท์ ี่กาหนดไดถ้ ูกตอ้ ง ตัง้ แต่ร้อยละ 25 ขน้ึ ไปแตน่ ้อยกวำ่ รอ้ ยละ 50 ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสยี ง อา่ นรู้เร่ือง คา ประโยค และ ขอ้ ความในวงคาศพั ทท์ ีก่ าหนดได้ถูกตอ้ ง ต่ากวา่ รอ้ ยละ 25 5
1.9 กำหนดกำรบริหำรจัดกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 1 ปกี ำรศึกษำ 2562 ท่ี กิจกรรม ระยะเวลำ ผรู้ บั ผดิ ชอบ 1 สร้างแบบทดสอบการอา่ นและกาหนดเกณฑ์การประเมนิ เม.ย. 62 – ม.ค. 63 สพฐ. 2 แต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการทดสอบการอา่ นระดบั สพฐ. ต.ค. 62 สพฐ. 3 ประชุมคณะกรรมการอานวยการทดสอบการอ่านระดับ สพฐ. ต.ค. 62 สพฐ. 4 ประชุมชแี้ จงผู้แทนศูนย์สอบของ สพฐ. และผู้แทนสังกัดอื่น ๆ รุน่ ท่ี 1 (28 - 30 ต.ค. 62) สพฐ. เกย่ี วกับแนวทางการจดั สอบการอ่าน ร่นุ ท่ี 2 (30 ต.ค. – 1 พ.ย. 62) 5 ศูนยส์ อบนาเข้าและตรวจสอบข้อมลู สถานศึกษาที่มสี ิทธิส์ อบ 28 ต.ค. – 10 พ.ย. 62 ศนู ยส์ อบ ผา่ นระบบ NT Access 6 สถานศึกษานาเข้าขอ้ มลู นกั เรยี นที่มีสทิ ธ์สิ อบผา่ นระบบNTAccess 11 พ.ย. - 1 ธ.ค. 62 สถานศึกษา 7 ศูนย์สอบตรวจสอบข้อมูลและจัดสนามสอบ 2 – 8 ธ.ค. 62 ศนู ยส์ อบ 8 สนามสอบตรวจสอบและแก้ไขขอ้ มลู หอ้ งสอบ 9 – 15 ธ.ค. 62 สนามสอบ 9 สถานศึกษาตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลนักเรยี นท่ีมีสิทธิส์ อบ 16 – 22 ธ.ค. 62 สถานศกึ ษา ผา่ นระบบ NT Access (คร้งั สดุ ทา้ ย) 10 ศนู ย์สอบตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลการจดั สอบ ผ่านระบบ 23 – 29 ธ.ค. 62 ศูนยส์ อบ NT Access (คร้ังสุดท้าย) 11 สพฐ. ตรวจสอบการจดั สนามและออกเลขทนี่ ง่ั สอบ 30 ธ.ค. 62 – 12 ม.ค. 63 สพฐ. 12 ศูนยส์ อบแตง่ ตงั้ คณะกรรมการจัดสอบระดบั ศนู ย์สอบและสนามสอบ 13 - 17 ม.ค. 63 ศนู ย์สอบ 13 จัดส่งคมู่ ือและเอกสารธุรการประจาสนามสอบไปยังศนู ยส์ อบ 20 – 24 ม.ค. 63 สพฐ. 14 สพฐ. จัดจา้ งพิมพ์ขอ้ สอบและกระดาษคาตอบ 21 ม.ค. – 3 ก.พ. 62 สพฐ. 15 ศูนยส์ อบประชุมชี้แจงคณะกรรมการจัดการสอบระดบั 3 – 7 ก.พ. 63 ศูนย์สอบ ศนู ย์สอบ และสนามสอบ เกีย่ วกบั การบรหิ ารจัดการสอบ 16 จดั ส่งขอ้ สอบและกระดาษคาตอบไปยังศนู ยส์ อบ 3 – 6 ก.พ. 63 สพฐ. 17 ศนู ย์สอบดาเนินการจัดสอบ 11 - 14 ก.พ. 63 ศูนย์สอบ 18 สพฐ. และศนู ยส์ อบ ตรวจเย่ียมสนามสอบ 11 – 14 ก.พ. 63 สพฐ.ร่วมกับศูนยส์ อบ 19 สนามสอบนาเข้าผลการทดสอบรายบคุ คล 11 ก.พ. – 1 ม.ี ค. 63 ศนู ย์สอบร่วมกบั สนามสอบ 20 ประมวลผลคะแนนการทดสอบ 2 – 19 มี.ค. 63 สพฐ. 21 ประกาศผลการทดสอบ 20 ม.ี ค. 63 สพฐ. 6
1.10 กำรนำผลกำรประเมนิ ไปใช้ในกำรวินจิ ฉัยนักเรยี น ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียน ครูผู้สอน สามารถนาผลการประเมินไปใช้ในการวางแผนพัฒนาผู้เรียนทั้งในภาพรวม จากแบบรายงานผล ค่าสถิติพ้ืนฐานรายโรงเรียน (R-Local 05) และผู้เรียนรายบุคคล จากแบบสรุปรายงานผลการประเมิน ของนักเรียน (R-Student 01) แบบรายงานผลการประเมินนักเรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละสมรรถนะ (R-School 03) และแบบรายงานผลการประเมินนักเรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละองค์ประกอบ (R-School 04) ซึ่งผลการประเมินจากแบบรายงานดังกล่าวจะช่วยให้ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ทราบปัญหา จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาของผู้เรียนรายบุคคล รวมถึงสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับผู้เรียน เช่น พบว่านักเรียนส่วนใหญ่อ่านผิดซ้า ๆ ท่ีคาเดียวกัน แสดงว่า คาน้ัน เป็นคายากสาหรับนักเรียนในชั้นเรียนน้ัน ครูควรต้องปรับกระบวนการสอน ทาความเข้าใจกับนักเรียน และฝกึ ใหม้ ากขึน้ เปน็ ต้น สาหรับครูที่สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สามารถนาผลการวิเคราะห์การประเมิน เป็นรายบุคคลนี้มาศึกษา จะทาให้ครูทราบพื้นฐานของผู้เรียนแต่ละคน เพ่ือจะได้แก้ไขและพัฒนาได้ ตรงประเด็น โดยให้ครูพิจารณาผลการประเมินในแต่ละด้านว่านักเรียนแต่ละคนมีคะแนนในระดับปรับปรงุ องคป์ ระกอบยอ่ ยในเรื่องใด อาทิ เรื่องคา เรือ่ งประโยค หรือเรอ่ื งข้อความ 1.11 กำรวเิ ครำะห์ผลในภำพรวมของโรงเรียน ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน สามารถนาผลการประเมินจากแบบสรุปรายงานผลการประเมินของโรงเรียน (R-School 01) แบบรายงาน ค่าสถิติพ้ืนฐานผลการประเมินของโรงเรียน (R-School 02) รวมถึงแบบรายงานผลการประเมินนักเรียน จาแนกรายบุคคลในแตล่ ะสมรรถนะ (R-School 03) แบบรายงานผลการประเมินนักเรยี นจาแนกรายบุคคล ในแตล่ ะองค์ประกอบ (R-School 04) และแบบรายงานผลค่าสถติ ิพ้ืนฐานจาแนกรายโรงเรียน (R-School 05) ไปวิเคราะห์ และหาจุดบกพร่องของการเรียนการสอนในภาพรวม เช่น พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่อ่าน-เขียน คาที่ใช้วรรณยุกต์ไม่ถูกต้องในกลุ่มพยัญชนะเสียงสูง โรงเรียนควรส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาชุดฝึก ให้นักเรียนได้ฝึกอ่าน-เขียน คาที่ใช้วรรณยุกต์ โดยให้ทาซ้า ๆ จนคล่อง ก็จะเป็นการแก้ปัญหาท่ีตรงจุด เป็นต้น ท้ังนี้ สิ่งท่ีโรงเรียนวิเคราะห์ได้จากผลการประเมินจะช่วยให้ครูค้นหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ ท่ีเหมาะสมกบั นักเรียน หรือปรับเปล่ียนวธิ ีการจัดการเรียนรู้ เพ่ือแก้ไขปัญหาการอ่านเขยี นของนักเรียนทุกคน และช่วยกนั เสรมิ สรา้ งพ้นื ฐานการอ่านเขียนของนักเรยี นใหเ้ ข้มแขง็ จนเป็นเคร่ืองมือการเรยี นรขู้ องนกั เรียน ในชนั้ เรียนถัดไปได้เปน็ อยา่ งดี 7
ตอนที่ 2 กรอบแนวคดิ ในกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ น แนวคิดที่ใช้ในการบริหารจัดการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้ เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 น้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คานึงถึง ความสาคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แนวคิดเก่ียวกับการกระจายอานาจในการบริหารจัดการ (Decentralization) และแนวคิดเก่ียวกับ ความโปรง่ ใสในการจดั สอบ (Transparency) โดยมรี ายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 หลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย ควำมสำคญั ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็น เอกภาพ และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสาร เพ่ือสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ท่ีดตี ่อกนั ทาใหส้ ามารถประกอบกจิ ธรุ การงานและดารงชวี ติ ร่วมกัน ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนา อาชีพให้มีความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากน้ี ยังเป็นสื่อท่ีแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี ชีวทัศน์ โลกทัศน์ และสุนทรียภาพ โดยบันทึกไว้เป็นวรรณคดีและวรรณกรรม อันล้าค่า ภาษาไทยจึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ เพื่ออนุรักษ์และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทย ตลอดไป คณุ ภำพของผเู้ รียน เม่ือจบหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานแล้วผู้เรียนต้องมีความรู้ ความสามารถและคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยม ดงั น้ี 1. สามารถใช้ภาษาสื่อสารไดอ้ ย่างดี 2. สามารถอ่าน เขียน ฟัง ดู และพูด ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. มีความคิดสรา้ งสรรค์ คดิ อย่างมเี หตุผลและคดิ เปน็ ระบบ 4. มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้และใช้ภาษาในการพัฒนาตน และ สรา้ งสรรคง์ านอาชพี 5. ตระหนักในวัฒนธรรมการใช้ภาษาและความเป็นไทยภูมิใจและชื่นชมในวรรณคดีและ วรรณกรรมซง่ึ เปน็ ภูมปิ ญั ญาของคนไทย
6. สามารถนาทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ถูกต้องตามกาลเทศะ และบุคคล 7. มีมนุษยสมั พันธท์ ่ดี ี และสรา้ งความสามคั คีในความเป็นชาตไิ ทย 8. มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม มีวสิ ัยทศั น์ โลกทัศนท์ กี่ วา้ งไกลและลึกซง้ึ เมื่อจบแต่ละช่วงชั้นผู้เรียนต้องมีความรู้ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม ดงั นี้ ชว่ งช้ันท่ี 1 ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี 1 - 3 1. สามารถอ่านไดค้ ลอ่ งและอ่านได้เรว็ 2. เข้าใจความหมายและหนา้ ที่ของคา 3. นาความรู้ท่ีได้จาการอ่านมาคิด คาดคะเนเรื่องราวหรือเหตุการณ์ และกาหนดแนวทาง การปฏบิ ัตไิ ด้ 4. เลอื กอา่ นหนงั สือทเ่ี ปน็ ประโยชน์ทงั้ ความรู้ และความบนั เทิง 5. ดูและเขียนแสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ กึ ความตอ้ งการและจนิ ตนาการ 6. จดบันทึกความรู้ ประสบการณ์ และเรือ่ งราวในชวี ติ ประจาวัน 7. จบั ใจความสาคญั ต้งั คาถาม ตอบคาถาม สนทนา แสดงความคิดเหน็ เลา่ เรอ่ื ง ถ่ายทอด ความรู้ ความคิด ความรูส้ ึก และประสบการณ์จากเรือ่ งทฟ่ี ังท่ดี ไู ด้ 8. เขา้ ใจว่าภาษาไทยมที ัง้ ภาษาไทยกลางและภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น 9. ใชค้ าคลอ้ งจองแตง่ บทรอ้ ยกรองง่าย ๆ 10.ท่องจาบทร้อยกรองที่ไพเราะ และนาไปใชใ้ นการพูดและการเขยี น 11.นาปริศนาคาทายและบทร้องเลน่ ในท้องถิ่นมาใช้ในการเรียนและเล่น 12.ใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือการเรียน การแสวงหาความรู้ และใช้ได้เหมาะสมกับ บุคคลและสถานการณ์ 13.นาความรู้ท่ีได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไปใช้ในชีวิตมีมารยาทการอ่าน การเขียน การฟงั การดู และการพดู 14.มนี สิ ยั รกั การอา่ นและการเขยี น 2.2 ตัวชี้วดั ทเี่ กี่ยวข้องกับกำรประเมนิ กำรอำ่ น การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กาหนดให้มีการประเมิน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้มาตรฐาน และตัวช้ีวัดที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 10
สำระที่ 1 กำรอ่ำน มำตรฐำน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการดาเนินชีวิต และมีนสิ ัยรกั การอ่าน ชนั้ ตัวช้ีวัด สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง ป.1 - อ่านออกเสยี งคา คาคล้องจอง และ การอา่ นออกเสียงและบอกความหมายของคา ข้อความสน้ั ๆ คาคล้องจอง และข้อความที่ประกอบด้วย - บอกความหมายของคา และข้อความที่อา่ น คาพื้นฐาน คือ คาทใี่ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ไมน่ ้อย กวา่ 600 คา รวมท้งั คาท่ีใชเ้ รียนรู้ในกลุ่มสาระ การเรียนรูอ้ นื่ ประกอบดว้ ย - คาทม่ี ีรูปวรรณยุกต์และไมม่ ีรปู วรรณยุกต์ - คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา - คาที่มีพยัญชนะควบกลา้ - คาทม่ี อี ักษรนา - ตอบคาถามเก่ียวกบั เรือ่ งท่อี ่าน การอ่านจับใจความจากส่ือตา่ ง ๆ เช่น - เลา่ เรอ่ื งย่อจากเร่อื งท่ีอา่ น - นิทาน - คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองทอ่ี า่ น - เรื่องสน้ั ๆ - บทรอ้ งเลน่ และบทเพลง - เร่ืองราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทยและกลมุ่ สาระ การเรยี นรู้อน่ื - บอกความหมายของเครื่องหมาย หรือ การอ่านเคร่ืองหมายหรือสัญลกั ษณ์ สญั ลักษณ์สาคัญทม่ี ักพบเหน็ ประกอบดว้ ย ในชวี ติ ประจาวัน - เคร่ืองหมายสญั ลักษณ์ต่าง ๆ ทพ่ี บเห็น ในชวี ิตประจาวนั - เคร่ืองหมายแสดงความปลอดภยั และแสดง อนั ตราย 11
สำระที่ 2 กำรเขียน มำตรฐำน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราว ในรปู แบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ชั้น ตวั ชว้ี ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง ป.1 - เขยี นสื่อสารดว้ ยคาและประโยคงา่ ย ๆ การเขียนสอ่ื สาร - คาทใ่ี ช้ในชวี ติ ประจาวัน - คาพื้นฐานในบทเรียน - คาคล้องจอง - ประโยคงา่ ย ๆ สำระท่ี 4 หลักกำรใชภ้ ำษำไทย มำตรฐำน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ ชั้น ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง ป.1 - เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา การสะกดคา การแจกลกู และการอา่ นเปน็ คา มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา การผนั คา ความหมายของคา - เรียบเรยี งคาเปน็ ประโยคง่าย ๆ การแต่งประโยค สำระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มำตรฐำน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ป.1 - บอกข้อคิดที่ไดจ้ ากการอ่านหรอื การฟัง วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสาหรับเด็ก เช่น วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรองสาหรบั - นทิ าน เด็ก - เรอ่ื งสัน้ ง่าย ๆ - ปริศนาคาทาย - บทรอ้ งเลน่ - บทอาขยาน - บทร้อยกรอง - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น 12
2.3 ควำมหมำยของกำรอำ่ น การดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 ได้กาหนดนิยามความหมายไว้ ดงั น้ี 1) การอ่านออกเสียง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความส้ัน ๆ ท่ีเป็นคา ในวงคาศัพท์ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ทั้งที่เป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาที่มีความหมาย โดยนยั ท่ใี ชใ้ นชวี ิตประจาวัน โดยวิธีการอ่านออกเสียง 2) การอ่านรู้เรื่อง หมายถงึ การอา่ นคา ประโยค หรอื ข้อความสนั้ ๆ ทเ่ี ปน็ คาในวงคาศัพท์ ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ทั้งที่เป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาท่ีมีความหมายโดยนัยที่ใช้ใน ชวี ิตประจาวัน โดยสามารถบอกขอ้ คดิ ท่ีไดจ้ ากการอ่านร้อยแกว้ ร้อยกรอง สาหรบั เดก็ (เปน็ ข้อความง่าย ๆ) จับใจความจากเรื่องท่ีอ่าน ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายสัญลักษณ์ท่ีสาคัญ ท่ีพบเห็นในชีวิตประจาวนั คาดคะเนจากเร่ืองที่อ่าน สรุปความรู้ข้อคิดจากเร่ืองท่ีอ่านได้อย่างสมเหตสุ มผล แปลความและสรา้ งสรรค์จากภาพ 2.4 แนวคิดเก่ียวกบั กำรกระจำยอำนำจในกำรบริหำรจดั กำร (Decentralization) การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 น้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดหลักการกระจายอานาจการบริหารจัดการไปยังศูนย์สอบ ทุกแห่ง เร่ิมตั้งแต่การวางแผน การดาเนินงานบริหารจัดการ การตัดสินใจ และความรับผิดชอบ โดยมี แนวคดิ สาคัญ ดังต่อไปนี้ ควำมหมำยของกำรกระจำยอำนำจ การกระจายอานาจ คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจจาก ภาครัฐส่วนกลางให้แก่องค์กรอ่ืนใด ไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐส่วนภูมิภาค องค์กรอิสระ องค์กรท้องถิ่น องค์กรเอกชน โดยเฉพาะภาคประชาชนไปดาเนินการแทน ซ่ึงการถ่ายโอนดังกล่าว อาจจะมีลักษณะเป็น การถ่ายโอนเฉพาะภารกิจ ซ่ึงเป็นการแบ่งภารกิจ ให้แก่องค์กรที่ได้รับการกระจายอานาจดาเนินการ หรือ เป็นการถ่ายโอนโดยยึดพนื้ ทเี่ ปน็ หลัก ซึ่งเป็นการแบง่ พ้นื ทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานย่อยในการดาเนนิ การ แนวคิดพ้ืนฐำนเก่ยี วกบั กำรกระจำย การกระจายอานาจสู่ส่วนภูมิภาค เป็นยุทธศาสตร์หน่ึงในการบริหารจัดการบ้านเมืองของรัฐ ในระบบประชาธิปไตย โดยมุ่งลดบทบาทของรัฐสว่ นกลาง (Decentralize) ลงเหลือภารกิจหลักเท่าทต่ี ้องทา เท่าท่ีจาเป็น และให้ประชาชนได้มีส่วนในการบริหารงานชุมชนส่วนภมู ิภาค ตามเจตนารมณ์ของประชาชน มากข้ึน การกระจายอานาจสู่ส่วนภูมิภาค จึงเป็นการจัดความสัมพันธ์ทางอานาจหน้าท่ีใหม่ ระหว่าง ส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์บ้านเมือง ที่เปลี่ยนแปลงไปในสภาวะที่สังคมมีกลุ่ม ท่ีหลากหลาย มีความต้องการ และความคาดหวังจากรัฐท่ีเพิ่มข้ึน และแตกต่างกัน ขัดแย้งกัน ในขณะท่ีรัฐเอง 13
ก็มีขีดความสามารถ และทรัพยากรท่ีจากัด ในการตอบสนองปัญหา ความต้องการที่เกิดข้ึนในแต่ละ ส่วนภูมิภาคได้ทันต่อเหตุการณ์ และตรงกับความต้องการของส่วนภูมิภาค โดยการกระจายอานาจ จากส่วนกลางไปยังส่วนภมู ภิ าค จะดาเนนิ การกระจายในสิง่ ต่อไปน้ี 1) การกระจายหนา้ ท่ี เปน็ กระจายภารกิจหน้าทจ่ี ากส่วนกลางทีเ่ ปน็ ประโยชน์โดยตรงกับ ส่วนภมู ิภาค ให้สว่ นภูมิภาครับผดิ ชอบดาเนนิ การเอง 2) การกระจายอานาจการตัดสินใจ เป็นการกระจายอานาจการตัดสินใจดาเนินการ ตามหนา้ ทท่ี ่ีสว่ นกลางกระจายไปให้สว่ นภูมิภาคดาเนนิ การ 3) การกระจายทรัพยากรการบริหาร เป็นการกระจายบุคลากร งบประมาณ เทคโนโลยี ทเ่ี หมาะสมใหก้ บั สว่ นภูมิภาค 4) การกระจายความรับผิดชอบ เป็นการกระจายความรับผิดชอบต่อภารกิจ หน้าที่ที่รัฐ กบั ผบู้ ริหารส่วนภมู ภิ าค และประชาชนรว่ มกันรับผิดชอบ 5) การกระจายความพร้อม เป็นการกระจายความพร้อมท่ีมีอยู่ในส่วนกลางให้กับ ส่วนภูมิภาค เพ่ือสร้างขีดความสามารถให้แก่ส่วนภูมิภาค เป็นการทาให้ส่วนภูมิภาคมีความเข้มแข็ง สามารถบรหิ ารจดั การส่วนภมู ภิ าคได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 14
ในการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 มุ่งเน้นการกระจายอานาจในการบริหารจัดการไปยังศูนย์สอบที่เป็นหน่วยงานจากสังกัดต่าง ๆ เพื่อให้การ บรหิ ารจดั การสอบสามารถดาเนนิ งานได้อย่างมีประสิทธภิ าพและมีความรวดเร็ว โดยมีการกาหนดศูนย์สอบ ในการบริหารจัดการสอบให้สถานศกึ ษาในสงั กดั ต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ ศูนยส์ อบและสถำนศึกษำทีเ่ ข้ำร่วมสอบในศูนยส์ อบ สำนกั งำนเขต สำนกั งำน สำนกั กำรศกึ ษำ สำนกั สำนักงำน สำนกั งำน พืน้ ท่ีกำรศึกษำ ประถมศึกษำ สง่ เสริมกำร กรุงเทพมหำนคร กำรศึกษำ คณะกรรมกำร ศึกษำธิกำร (สพป.) ปกครองท้องถน่ิ เมืองพทั ยำ กำรส่งเสริม จังหวัด ร.ร. สพป. จังหวัด เอกชน ร.ร. สพม. ร.ร. ตชด. ร.ร. อบต. ร.ร. กทม. ร.ร.เมอื งพทั ยา ร.ร.เอกชนใน ร.ร.เอกชนใน ร.ร. สาธิต มหาวิทยาลัย ร.ร. เทศบาล กรงุ เทพมหานคร จงั หวัด ร.ร .ราชประชา นุเคราะห์ ร.ร. อบจ. ร.ร. การศึกษา พเิ ศษ Home school ศนู ย์การเรียนรู้ ชมุ ชน 2.5 แนวคดิ เกยี่ วกับควำมโปรง่ ใสในกำรจัดสอบ (Transparency) การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จาเป็นต้องมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน อันจะทาให้ผลที่ได้จากการประเมินมีความน่าเชื่อ และเป็นท่ี ยอมรับจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการประเมินคร้ังน้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้ กาหนดแนวปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความโปร่งใสในการบริหารจัดการสอบ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) กำรจัดสนำมสอบ การจัดสนามสอบ ให้ศูนย์สอบแต่ละแห่งกาหนดให้ทุกโรงเรียนเป็นสนามสอบ หรือ ศูนย์สอบบริหารจัดการตามความเหมาะสม และทุกสนามสอบในแต่ละศูนย์สอบจะต้องดาเนินการจัดสอบ พรอ้ มกันในวนั เดยี วกัน ทง้ั น้ี ศนู ย์สอบตอ้ งคานงึ ถึงความโปร่งใสและยุติธรรมในการสอบเป็นสาคัญ 15
2) กำรแตง่ ตั้งคณะกรรมกำรระดบั สนำมสอบ ศูนย์สอบแต่งต้ังคณะกรรมการระดับสนามสอบ ประกอบด้วย ประธานสนามสอบ กรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน กรรมการบันทึกคะแนน นักการภารโรง และกรรมการอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการระดับศูนย์สอบ โดยต้องคานึงถึง ความโปรง่ ใสและยุตธิ รรมในการสอบ 3) กำรรบั แบบทดสอบ การรบั แบบทดสอบ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานจะมีระบบการขนส่ง เอกสารทม่ี ีความเครง่ ครดั และปลอดภยั สูง 3.1) ในการรับแบบทดสอบทุกศูนย์สอบ จะต้องให้ผู้ประสานงานระดับศูนย์สอบ เป็นผลู้ งนามทกุ ครัง้ และศูนย์สอบตอ้ งเกบ็ รักษากล่องแบบทดสอบไว้ในห้องมั่นคงหรือห้องท่ีปิดมดิ ชดิ มผี ้ทู ี่ คอยดูแลตลอดเวลา 3.2) ศูนย์สอบส่งมอบแบบทดสอบ พร้อมเอกสารประกอบการสอบ ให้กับประธาน สนามสอบหรือตวั แทนในตอนเชา้ ของวันสอบ 3.3) หลังจากเสร็จส้ินการสอบ ให้แต่ละสนามสอบเก็บรักษาแบบทดสอบไว้ท่ีสนามสอบ เพอ่ื นาไปใช้ประโยชนต์ ่อไป 4) กลอ่ งบรรจุแบบทดสอบ การบรรจุแบบทดสอบ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะบรรจุแบบทดสอบ ใส่กล่องแยกเป็นรายห้องสอบ โดยกล่องบรรจุแบบทดสอบต้องแข็งแรงและปิดผนึกด้วยเทปกาว อนุญาตให้ ประธานสนามสอบเปิดกล่องบรรจแุ บบทดสอบไดไ้ ม่เกิน 1 ช่ัวโมงก่อนถงึ เวลาสอบตอ่ หน้าตัวแทนกรรมการ คุมสอบ 5) กำรตดิ ตำมกำรบริหำรกำรทดสอบ 5.1) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานศึกษา ร่วมกับสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาท่ีเข้าร่วมการทดสอบ ทาการติดตาม ตรวจเย่ียม การบรหิ ารการทดสอบใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการทดสอบ โดยคณะกรรมการจากสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน จะสุม่ ตรวจเย่ยี มศนู ย์สอบและสนามสอบ ในช่วงกอ่ นวันสอบ วนั สอบ และหลังวันสอบ 5.2) ศูนยส์ อบตรวจเย่ยี มสนามสอบในช่วงกอ่ นวันสอบ วันสอบ และหลงั วนั สอบ 16
6) กำรรับแจง้ เรือ่ งร้องเรียนเก่ยี วกบั ควำมไมโ่ ปร่งใสในกำรสอบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เปิดช่องทางรับแจ้งเรื่องร้องเรียน ในความไม่โปร่งใสในการสอบ 4 ชอ่ งทาง ได้แก่ - ศูนยส์ อบที่ดาเนนิ การจัดสอบ - โทรศัพท์หมายเลข 0-2288-5783 และ 0-2288-5787 - E-mail: [email protected] - Facebook ของ กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน 7) ระเบยี บกระทรวงศึกษำธิกำรว่ำด้วยกำรปฏิบตั ขิ องผู้กำกับกำรสอบ พ.ศ. 2548 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ขอให้บุคลากรประจาสนามสอบทุกท่าน ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการปฏิบัติของผู้กากับการสอบ พ.ศ. 2548 อย่างเคร่งครัด เพ่อี ให้การทดสอบเปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อยและเป็นมาตรฐานเดียวกันท่ัวประเทศ (ภาคผนวก ฉ) 17
ตอนท่ี 3 กำรบรหิ ำรกำรจดั สอบระดับศนู ยส์ อบ การบริหารจัดการสอบระดับศูนย์สอบ ในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 ในส่วนน้ีเป็นการนาเสนอเกี่ยวกับภารกิจของ ศูนย์สอบ คณะกรรมการระดับศูนย์สอบ และบทบาทของคณะกรรมการระดับศูนย์สอบ โดยมีรายละเอยี ด ดังต่อไปนี้ 3.1 ภำรกิจระดบั ศนู ย์สอบ ศูนย์สอบมีภาระหน้าที่และบทบาทที่สาคัญท่ีสุดในการบริหารการจัดสอบให้เป็นไปตาม มาตรฐานการบริหารการทดสอบ ซึ่งได้รับการกระจายอานาจการบริหารจัดการมาจากสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ท้งั ในเรอื่ งของการวางแผนการจัดสอบ การตดั สนิ ใจ การบริหารจัดการ และความรับผิดชอบ เพื่อให้การดาเนินงานการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 มีประสิทธิภาพและมาตรฐานเดียวกัน โดยมีภารกิจสาคัญ ดังต่อไปนี้ 3.1.1 ประสานความรว่ มมือและวางแผนกับหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องในการบรหิ ารการจัดสอบ 3.1.2 ดาเนนิ การจดั สอบใหเ้ ป็นไปตามแผนการดาเนนิ งาน 3.1.3 กากบั ตดิ ตามการดาเนินการสอบ 3.1.4 รายงานผลการทดสอบ และเผยแพร่ 3.2 บทบำทของคณะกรรมกำรระดับศนู ย์สอบ 3.2.1 ประธานศูนย์สอบ ได้แก่ ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ที่เปน็ ศนู ย์สอบ หรือผ้ทู ไี่ ด้รบั มอบหมาย หรือผู้บงั คบั บัญชาของหนว่ ยงานทีเ่ ป็นศนู ยส์ อบ มหี น้าที่ ดังนี้ 1) ดาเนินการตามแนวปฏิบัติท่ีสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กาหนด โดยบริหารการจัดสอบให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการบริหารการทดสอบ 2) แตง่ ตัง้ คณะกรรมการระดับศูนยส์ อบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ 3) ควบคุม กากับ ติดตามให้การดาเนินการบริหารการจัดสอบระดับศูนย์สอบ และสนามสอบเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย 4) พิจารณาตรวจสอบ ส่ังการ ติดตามกรณีที่เกิดปัญหาในการบริหารการจัดสอบ ทัง้ ระดบั ศนู ย์สอบ และระดับสนามสอบ
3.2.2 คณะกรรมการดาเนินการทดสอบ คณะกรรมการดาเนินการทดสอบ ได้แก่ ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบงานวัดและ ประเมินผล หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากประธานศูนย์สอบ มีหนา้ ที่ ดังนี้ 1) ประสานงานการจัดสอบในด้านต่าง ๆ ระหว่างสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ศูนยส์ อบและสนามสอบ 2) กากับ และติดตาม ให้สถานศึกษาส่งข้อมูลห้องสอบ และข้อมูลนักเรียน ในระบบ NT Access (http://nt.obec.go.th) ให้ครบถ้วนและถูกต้อง ภายในวันและเวลาท่ีสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน กาหนด 3) ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูลห้องสอบ และข้อมูลนักเรียน 4) ดาเนินการจัดสนามสอบในระบบ NT Access 5) ตรวจสอบและแกไ้ ขข้อมลู นกั เรียนท่มี ีสิทธส์ิ อบผ่านระบบ NT Access 6) ดแู ลและประสานงานเร่อื งการนาสง่ ขอ้ มูลผู้มีสิทธสิ์ อบในกรณีต่าง ๆ 7) แตง่ ต้ังคณะกรรมการระดบั ศนู ยส์ อบ และสนามสอบ 8) จัดประชุมชี้แจงคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้องกับการสอบ ทั้งระดับศูนย์สอบและ ระดบั สนามสอบ 9) ประสานงานการรับ-ส่งแบบทดสอบ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พนื้ ฐาน ตามวนั และเวลาทกี่ าหนด 10) บรหิ ารการจดั สอบให้เป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย 11) รับแบบบันทึกคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 (แบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2) และเอกสาร ธุรการประจาสนามสอบจากสนามสอบ 12) ศูนย์สอบตรวจสอบคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 แต่ละสนามสอบให้ถูกต้องตามแบบบันทึกคะแนน 1 และ แบบบันทกึ คะแนน 2 ทโ่ี รงเรียนสง่ มาให้ศนู ยส์ อบ และยืนยนั ข้อมูลส่งในระบบ NT Access 13) จัดทารายงานผลการทดสอบ ระดับศูนยส์ อบ 3.2.3 คณะกรรมการรับ-ส่งแบบทดสอบ เก็บรักษาแบบทดสอบ และเอกสารประกอบ การสอบ มีหน้าที่ ดังน้ี 1) จัดเตรียมห้องมั่นคงหรือสถานท่ีที่มีความเหมาะสม เพ่ือใช้ในการเก็บรักษา แบบทดสอบ 2) ดแู ล รกั ษาแบบทดสอบทีเ่ ก็บรักษาไวใ้ นที่ปลอดภัย 3) ควบคมุ ดแู ล กากับการขนสง่ แบบทดสอบจากศูนย์สอบไปยงั สนามสอบ 20
3.2.4 คณะกรรมการตรวจเยย่ี มสนามสอบ มหี น้าที่ ดงั น้ี มีหน้าท่ี กากับ ติดตาม และตรวจเย่ียม การดาเนินการจัดสอบ ของคณะกรรมการระดับ สนามสอบในระหว่างวันที่ 11 - 14 กุมภาพันธ์ 2563 เพื่อให้การดาเนินการจัดสอบเป็นไปตาม แนวปฏิบตั กิ ารจัดสอบและมาตรฐานการทดสอบ 21
ตอนที่ 4 กำรบริหำรกำรจดั สอบระดบั สนำมสอบ การบริหารจัดการสอบระดับสนามสอบในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผ้เู รียน ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 ในส่วนน้เี ปน็ การนาเสนอเก่ยี วกับภารกิจของสนามสอบ คณะกรรมการระดับสนามสอบ คุณสมบัติของกรรมการระดับสนามสอบ บทบาทของคณะกรรมการ ระดับสนามสอบ และแนวปฏบิ ัตใิ นการบรหิ ารจดั การสอบ โดยมรี ายละเอยี ด ดงั ต่อไปน้ี 4.1 ภำรกจิ ของสนำมสอบ ภารกจิ ของสนามสอบมีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ตงั้ แตก่ ่อนการสอบ ระหวา่ งการสอบ และหลงั การสอบ โดยมีรายละเอยี ด ดงั ต่อไปน้ี 1) ก่อนกำรสอบ 1.1) ประสานงานกับศูนย์สอบ และดาเนินการตามคมู่ ือการจัดสอบอย่างเครง่ ครัด 1.2) เตรียมความพร้อมก่อนการจัดสอบในส่วนของสถานที่สอบ ติดประกาศรายชื่อ ผเู้ ข้าสอบ 1.3) ประสานงานกับศูนย์สอบในกรณีมผี เู้ ขา้ สอบกรณีพิเศษ 1.4) ดาวน์โหลดแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 จากระบบ NT Access (ไฟล์ excel) 1.5) พิมพ์แบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 เพื่อเตรียมส่งมอบให้ กรรมการคมุ สอบ 1.6) รบั แบบทดสอบวดั ความสามารถด้านการอ่านจากศนู ยส์ อบในเช้าวันสอบ 2) ระหว่ำงกำรสอบ ดาเนินการจัดสอบภายในสนามสอบให้มีประสิทธิภาพ มีความยุติธรรม โปร่งใสและ เป็นไปตามแนวปฏิบัติในคู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 3) หลงั กำรสอบ 3.1) ให้สนามสอบเก็บแบบทดสอบไวท้ โ่ี รงเรียนตนเอง เพ่อื นาไปใชป้ ระโยชนต์ ่อไป 3.2) บนั ทกึ คะแนนการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ลงในแบบบนั ทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 เม่ือบนั ทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนท้ัง 2 ฉบบั แล้ว ให้กรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน ลงลายมือช่ือ แล้วมอบให้สนามสอบ ทาสาเนา 1 ชุด จากน้ันกรรมการคุมสอบ ลงลายมือชื่อรับรองสาเนา เพื่อเก็บรักษาไว้ท่ีสนามสอบ ส่วนแบบบันทึกคะแนนฉบับจริงทั้ง 2 ฉบับ ให้สนามสอบนาส่งศนู ยส์ อบภายในวนั สอบ ตามเวลาที่กาหนด
3.3) นาคะแนนจากแบบบันทึกคะแนนฉบับสาเนาที่สนามสอบเก็บไว้ ไปบันทึกใน แบบฟอร์มบันทึกคะแนนท่ีดาวน์โหลดจากระบบ NT Access ไว้ให้ถูกต้อง หลังจากน้ันให้นาเข้าไฟล์ข้อมูล เข้าส่รู ะบบ NT Access พร้อมตรวจสอบความถกู ตอ้ งของคะแนนนักเรียนรายบุคคลอีกคร้ังหนงึ่ 4.2 คณะกรรมกำรระดบั สนำมสอบ คณะกรรมการระดบั สนามสอบ ประกอบดว้ ย 1) ประธานสนามสอบ ได้แก่ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นของโรงเรียนทีเ่ ปน็ สนามสอบ 2) กรรมการคมุ สอบและตรวจใหค้ ะแนน ได้แก่ ขา้ ราชการครู หรือบคุ ลากรทางการศึกษา หรือครอู ตั ราจ้าง หรือพนักงานราชการ โดยกาหนดใหม้ ีกรรมการคมุ สอบ 2 คน ต่อ 1 หอ้ งสอบ ดังนี้ - กรรมการคุมสอบคนที่ 1 เป็นครูประจาช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 หรือครูผู้สอนวิชา ภาษาไทยของโรงเรียนตนเอง - กรรมการคุมสอบคนที่ 2 เป็นครูผู้สอนท่ีมีความรู้ ความสามารถในด้านการอ่านออกเสียง และอา่ นรู้เรื่องทมี่ าจากตา่ งโรงเรียน 3) กรรมการบันทึกคะแนน ได้แก่ ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีความสามารถในการ ใช้โปรแกรม Excel 4) นกั การภารโรง ไดแ้ ก่ นักการภารโรงของโรงเรียนทเี่ ป็นสนามสอบ 5) กรรมการอ่ืน ๆ ตามที่คณะกรรมการอานวยการระดับศูนย์สอบสามารถพิจารณาแต่งต้ัง กรรมการเพม่ิ เติมได้ตามความเหมาะสม 4.3 คุณสมบตั ขิ องกรรมกำรระดับสนำมสอบ 1) เป็นข้าราชการครู หรือบุคลากรทางการศึกษา หรือพนักงานราชการ หรือครูอัตราจา้ ง ทป่ี ฏบิ ตั หิ น้าท่ใี นโรงเรยี น 2) มคี วามรู้ ความสามารถในด้านการอ่านออกเสียง และอ่านรูเ้ ร่ือง 3) มีความรับผดิ ชอบ 4) ตรงตอ่ เวลา 5) เก็บรักษาความลับได้เปน็ อยา่ งดี 6) ปฏิบัติหน้าที่ตามคู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 อยา่ งเคร่งครดั 4.4 บทบำทของคณะกรรมกำรระดบั สนำมสอบ 1) ประธำนสนำมสอบ มหี น้าท่ี ดังนี้ 1.1) ประสานงานกับศูนย์สอบและดาเนินการตามคู่มือการประเมินความสามารถ ด้านการอา่ นของผู้เรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 อย่างเคร่งครัด 24
1.2) ประชุมคณะกรรมการระดับสนามสอบก่อนสอบ เพ่ือทาความเข้าใจเก่ียวกับ กระบวนการจดั สอบและขน้ั ตอนการดาเนินงานของกรรมการคุมสอบ 1.3) เตรียมความพร้อมสถานที่สอบ กากับการจัดห้องสอบ ติดรายช่ือผู้มีสิทธ์ิสอบ และเอกสารการสอบอน่ื ๆ ท่ปี ้ายประชาสัมพันธข์ องสนามสอบ และหน้าห้องสอบ 1.4) รับ-ส่งแบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบ ระหว่างศนู ยส์ อบ และสนามสอบ (ในกรณีที่ไม่สามารถไปด้วยตนเองได้ ให้มอบหมายผู้แทน โดยใช้บันทึกมอบหมายผู้แทน เพ่ือให้ศูนย์สอบ เกบ็ ไว้เปน็ หลกั ฐาน) 1.5) เปิดกล่องบรรจุแบบทดสอบในวันสอบ ไม่เกิน 1 ช่ัวโมงก่อนเวลาสอบ ต่อหน้า ตัวแทนกรรมการคุมสอบ 1.6) อนุมัติผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ท่ีไม่มีเลขท่ีนั่งสอบ แล้วบันทึก ในแบบ สพฐ.5 นกั เรยี น 1 คน ตอ่ 1 ฉบบั เพือ่ รายงานใหศ้ ูนยส์ อบทราบ 1.7) กากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดสอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วย ความเรยี บรอ้ ย มปี ระสิทธภิ าพ มีความยุตธิ รรม โปรง่ ใส และเป็นไปตามคู่มอื การประเมนิ ความสามารถด้าน การอา่ นของผู้เรยี น ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 1.8) ส่ังพักการปฏิบัติหน้าที่ในกรณีที่คณะกรรมการคุมสอบหรือเจ้าหน้าท่ีสนามสอบ บกพร่องต่อหน้าท่ีหรอื ประพฤติปฏบิ ัติตนไมเ่ หมาะสม และรายงานให้ศนู ย์สอบทราบ 1.9) ตรวจสอบคะแนนในแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 ร่วมกับ กรรมการคมุ สอบใหถ้ ูกต้อง ครบถว้ นกอ่ นนาส่งขอ้ มลู เขา้ ส่รู ะบบ NT Access 1.10) หลังเสร็จสิ้นการสอบ ให้นาส่งเอกสารประกอบการสอบกับศูนย์สอบ โดยจะต้องนาสง่ ในวนั สอบ ดังน้ี - แบบ สพฐ.2 ใบเซน็ ชื่อผู้เขา้ สอบในแต่ละหอ้ งสอบ - แบบ สพฐ.3 ใบเซน็ ชอ่ื ผเู้ ข้าสอบกรณพี เิ ศษ (Walk in) - แบบ สพฐ.5 แบบฟอรม์ สาหรบั ผ้ปู ฏบิ ัติผิดระเบยี บการสอบ - แบบ สพฐ.6 แบบคาขอแกไ้ ขขอ้ มูล - แบบบันทกึ คะแนนการอ่านร้เู ร่ือง (แบบบนั ทึกคะแนน 1) ฉบบั จริง - แบบบนั ทกึ คะแนนการอ่านออกเสยี ง (แบบบันทกึ คะแนน 2) ฉบับจรงิ 2) กรรมกำรคุมสอบและตรวจให้คะแนน 2.1) ปฏิบัติตามคู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2562 2.2) กากับการสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส และยุติธรรม ทั้งภายใน หอ้ งสอบและบรเิ วณใกลเ้ คียง 25
2.3) รับแบบทดสอบจากประธานสนามสอบ ตรวจนับแบบทดสอบให้ถูกต้องและ ครบถ้วน แล้วลงลายมอื ชื่อในแบบ RT 1 2.4) ปฏบิ ตั กิ ารประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ดงั น้ี 2.4.1) การทดสอบการอ่านรูเ้ รื่อง - กรรมการคุมสอบแจกแบบทดสอบตามลาดับเลขที่น่ังสอบจากน้อย ไปหามาก - กรรมการคุมสอบดาเนินการตามคาช้ีแจงในแบบทดสอบ การอ่านรเู้ รื่อง - กรรมการเก็บแบบทดสอบหลังจากหมดเวลาสอบ เรียงตามลาดับ เลขทน่ี ัง่ สอบจากน้อยไปหามาก - กรรมการคุมสอบท้ัง 2 คน ตรวจให้คะแนนตามเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน - กรรมการคุมสอบบันทึกคะแนนของนักเรียนแต่ละคน ลงในแบบบันทึก คะแนนการอ่านรู้เร่ือง (แบบบันทึกคะแนน 1) พร้อมลงลายมือช่ือกรรมการคุมสอบท้ัง 2 คน ในแบบบันทกึ คะแนนใหเ้ รยี บร้อย - กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทึกคะแนนใส่ซอง (ไม่ต้องปิดผนึกซอง) สง่ คืนประธานสนามสอบ และตรวจสอบการบนั ทึกคะแนนร่วมกับประธานสนามสอบให้ถูกตอ้ ง - สนามสอบทาสาเนาแบบบนั ทึกคะแนนการอา่ นรู้เรื่อง (แบบบันทกึ คะแนน 1) จานวน 1 ชุด แลว้ ให้กรรมการคมุ สอบลงลายชอื่ รับรองสาเนาถูกตอ้ ง เก็บไว้ทสี่ นามสอบ 2.4.2) การทดสอบการอ่านออกเสียง กรรมกำรคุมสอบคนท่ี 1 (กรรมกำรที่มำจำกโรงเรียนท่ีเป็นสนำมสอบ) ปฏบิ ตั ิ ดังนี้ - ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนในแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบนั ทึกคะแนน 2) แลว้ เตรยี มนกั เรียนใหเ้ ข้ำสอบตำมลำดบั เลขทใี่ นแบบบันทกึ คะแนน 2 - สรุปคะแนนจากแบบทดสอบฉบับนักเรียนท่ีกรรมการคนที่ 2 ดาเนินการสอบเรยี บร้อยแลว้ จากนัน้ บนั ทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนการอา่ นออกเสียง (แบบบนั ทึก คะแนน 2) - ตรวจสอบการบันทึกคะแนนของนักเรียนให้ครบทุกคน แลว้ ลงลายมือช่ือ กรรมการคุมสอบทงั้ 2 คน ในแบบบันทกึ คะแนน - กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทึกคะแนนใส่ซอง (ไม่ต้องปิดผนึกซอง) สง่ คืนประธานสนามสอบ และตรวจสอบการบนั ทึกคะแนนรว่ มกบั ประธานสนามสอบให้ถกู ตอ้ ง 26
- สนามสอบทาสาเนาแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึก คะแนน 2) จานวน 1 ชุด แลว้ ให้กรรมการคุมสอบลงลายช่อื รบั รองสาเนาถูกต้อง เก็บไวท้ ส่ี นามสอบ กรรมกำรคมุ สอบคนที่ 2 (กรรมกำรทมี่ ำจำกตำ่ งโรงเรียน) ปฏบิ ตั ิ ดังนี้ - ให้นักเรียนทดสอบการอ่านออกเสียงเป็นรายบุคคล โดยให้นักเรียน อ่านทลี ะคน ในห้องสอบท่แี ยกเฉพาะ - ใหก้ รรมการคมุ สอบอ่านคาชแ้ี จงใหน้ ักเรียนฟงั ก่อนอา่ นออกเสียง - เม่ือนักเรียนเร่ิมอ่านออกเสียงให้กรรมการทาเคร่ืองหมาย ในช่อง ของคาทน่ี กั เรยี นอ่านออกเสียงถูกต้อง และทาเคร่อื งหมาย X ในชอ่ งคาท่ีนกั เรียนอ่านออกเสียงผดิ - ให้นักเรียนอ่านออกเสียงท้ัง 3 ตอน คนละไม่เกิน 10 นาที ถ้านักเรียน อ่านยังไม่เสร็จให้นกั เรียนหยุดอ่านทันที (กรณีนักเรียนอ่านไม่ได้ กรรมการคุมสอบสามารถบอกให้นกั เรียน ขา้ มไปอ่านคาตอ่ ไปกอ่ น แลว้ สามารถยอ้ นกลับมาอ่านคาเดิมได้ภายในชว่ งเวลาทกี่ าหนด) - ส่งแบบทดสอบฉบับกรรมการที่ประเมินแล้ว ให้กรรมการคนท่ี 1 บันทึกคะแนนลงในแบบบันทกึ คะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบนั ทึกคะแนน 2) - ดาเนนิ การสอบอา่ นออกเสยี งจนครบทุกคน - กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทึกคะแนนใส่ซอง (ไม่ต้องปิดผนึกซอง) สง่ คืนประธานสนามสอบ และตรวจสอบการบันทึกคะแนนรว่ มกบั ประธานสนามสอบใหถ้ ูกตอ้ ง - สนามสอบทาสาเนาแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึก คะแนน 2) จานวน 1 ชดุ แลว้ ให้กรรมการคมุ สอบลงลายช่ือรับรองสาเนาถูกตอ้ ง เกบ็ ไวท้ ่ีสนามสอบ 2.5) ควบคุมมิให้ผู้เข้าสอบหรือผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องปฏิบัติผิดระเบียบหรือกระทา การทุจรติ ในระหวา่ งการสอบ 2.6) รายงานประธานสนามสอบ กรณีสงสัยว่าจะมีการทุจริตเกิดขึ้น และ ห้ามบุคคลท่ีไมเ่ กยี่ วข้องเขา้ บรเิ วณห้องสอบ 2.7) รักษาความลับของแบบทดสอบ และไม่ให้กรรมการหรือบุคคลอื่นดูหรือ ถา่ ยรูปแบบทดสอบเพ่ือเผยแพร่ 3) กรรมกำรบนั ทกึ คะแนน 3.1) นาแบบบันทึกคะแนนการอ่านรู้เรื่อง (แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบบันทึก คะแนนการอา่ นออกเสียง (แบบบันทกึ คะแนน 2) ฉบับสาเนา ไปบันทกึ คะแนนในแบบฟอร์มบนั ทึกคะแนน (ไฟล์ Excel) ทด่ี าวน์โหลดมาแลว้ 3.2) นาไฟล์ Excel ที่บันทึกคะแนนแล้ว เข้าสู่ระบบ NT Access พร้อมตรวจสอบ ความถูกตอ้ งของคะแนนนักเรยี นรายบุคคลในระบบ NT Access อีกคร้งั หนึ่ง 27
4) นักกำรภำรโรง 4.1) อานวยความสะดวกแก่กรรมการคุมสอบ โดยดาเนินการต่าง ๆ ตามท่ีได้รับ การร้องขอ 4.2) จัดเตรียมสถานที่ในการจัดการสอบ ติดเอกสารประชาสัมพันธ์ และเอกสาร ที่เกี่ยวขอ้ งกับการสอบ กอ่ นวันสอบใหเ้ รยี บร้อย 4.3) ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนตามท่ีได้รับมอบหมายจากประธานสนามสอบ 4.5 แนวปฏิบัตใิ นกำรบริหำรจัดกำรสอบ 4.5.1 กำรจดั สนำมสอบและห้องสอบ 1) กำรจดั สนำมสอบ ให้ทุกโรงเรียนเป็นสนามสอบ สาหรับโรงเรียนท่ีมีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ต่ากว่า 10 คน สามารถสอบร่วมกับโรงเรยี นใกล้เคียง โดยใหค้ านึงถงึ ความปลอดภัยของนกั เรยี นเป็นหลัก 2) กำรจดั ห้องสอบ 2.1) การจัดหอ้ งสอบการอ่านรู้เร่อื ง กาหนดห้องสอบในแต่ละสนามสอบเป็น 3 ประเภท คือ 1) ห้องสอบปกติ (ห้องเด็กปกติ ท่ีใช้ข้อสอบปกติ) 2) ห้องสอบพิเศษ 1 (ห้องเด็กพิเศษท่ีใช้ข้อสอบปกติ) 3) ห้องสอบพิเศษ 2 (ห้องเด็กพิเศษ ทใ่ี ช้ขอ้ สอบพิเศษ เชน่ อกั ษรเบรลล์ หรอื ขอ้ สอบอกั ษรขยาย) โดยลักษณะการจัดเรียงห้องสอบ จะจัดเรียงตามลาดับ ดังนี้ ห้องปกติห้องแรก จนถึง หอ้ งปกตสิ ดุ ทา้ ย ตามด้วยห้องพเิ ศษ 1 และหอ้ งพเิ ศษ 2 ตามลาดบั ห้องปกติ หอ้ งปกติ ห้องพเิ ศษ ห้องพเิ ศษ ห้องที่ 1 หอ้ งสดุ ทำ้ ย 1 2 หมำยเหตุ การจัดห้องสอบของสนามสอบท่ีมีห้องพิเศษ 1 (เด็กพิเศษท่ีใช้ข้อสอบปกติ) เพื่อมิให้เด็กพิเศษ เกิดความรู้สึกว่าตนเองแตกต่างจากเพื่อน ๆ ศูนย์สอบ/สนามสอบสามารถบริหารจัดให้นักเรียน สอบร่วมกบั เด็กปกติได้ โดยนาโต๊ะของเด็กพิเศษมาวางไวใ้ นห้องเด็กปกติ และดาเนินการจัดสอบ ตามปกติ แตต่ อนบรรจแุ บบบนั ทกึ คะแนนกลับใหแ้ ยกตามซองที่ สพฐ. ส่งไป 28
2.2) การจัดหอ้ งสอบการอ่านออกเสียง ขอ้ สอบ ตดิ โต๊ะ แบบบนั ทกึ ข้อสอบสำหรับ คะแนน กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร คนที่ 1 คนท่ี 2 3) จำนวนนักเรยี นในหอ้ งสอบ ศูนย์สอบต้องกาหนดสนามสอบ ผ่านระบบ NT Access ภายในช่วงเวลาท่ีสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนด โดยโปรแกรม NT Access จะทาการกาหนดห้องสอบในแต่ละ สนามสอบโดยอัตโนมัติ กาหนดจานวนผู้เข้าสอบห้องละ 25 คน (ยกเว้นห้องสุดท้ายสามารถมีจานวน นักเรียนได้สูงสุด 30 คน) โดยการจัดห้องสอบจะจัดนักเรียนเข้าห้องสอบทีละโรงเรียน เริ่มต้นท่ีนักเรียน ในโรงเรียนที่เป็นสนามสอบก่อน หลังจากน้ันจะเรียงตามตัวอักษรของช่ือโรงเรียนจากน้อยไปหามาก และ การเรียงลาดับเลขท่ีนั่งของนักเรียนในแต่ละโรงเรียนจะจัดเรียงตามที่โรงเรียนส่งข้อมูลเข้าโปรแกรม NT Access ตัวอย่างเช่น ถ้าโรงเรียนกบินทร์วิทยาเป็นสนามสอบ มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 20 คน มีโรงเรียนมาร่วมสอบ 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนชนาธิปวิทยา มีนักเรียน 8 คน และ โรงเรียนนารีศึกษา มีนกั เรียน 10 คน การจดั ห้องสอบจะเปน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี 3.1) มีจานวนเด็กท่ีเข้าสอบทั้งหมด 38 คน ดงั นั้นจะตอ้ งมหี อ้ งสอบทง้ั สิ้น 2 หอ้ ง 3.2) จดั เรียงนกั เรยี นเขา้ ห้องสอบ โดยเรียงตามตัวอักษรของชื่อโรงเรียน ในท่ีนี้ คือ กบินทรว์ ิทยา คนท่ี 1-20 ชนาธิปวิทยาคนท่ี 1-8 และนารีศกึ ษา คนท่ี 1-10 ตามลาดับ ดังภาพ 29
3.3) จัดนักเรียนเข้าห้องสอบ โดยจัดห้องสอบให้มีโต๊ะสอบท้ังหมด 5 แถว ๆ ละ 5 ตัว ถา้ นกั เรียนครบ 25 คน คนท่ี 26 ให้จัดนกั เรยี นเข้าสอบในห้องถดั ไป 3.4) ติดสต๊ิกเกอร์ข้อมูลผู้เข้าสอบที่โต๊ะนักเรียน โดยเรียงลาดับเลขที่น่ังสอบตามประกาศ สพฐ.2 ดงั ภาพตอ่ ไปน้ี หอ้ งสอบที่ 1 หอ้ งสอบที่ 2 กรรมการคนที่ 1 กรรมการคนที่ 1 1 10 11 20 21 1 10 11 11 2 9 12 3 8 13 2 9 12 19 22 47 3 8 13 18 23 56 4 7 14 17 24 กรรมการคนท่ี 2 5 6 15 16 25 กรรมการคนท่ี 2 กบินทร์วิทยำ ชนำธิปวิทยำ นำรศี กึ ษำ 4.5.2 แนวทำงปฏบิ ัติในกำรสอบอ่ำนออกเสียง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานขอกาหนดแนวทางปฏิบัติสาหรับกรรมการที่ ควบคุมการสอบอา่ นออกเสยี ง เพื่อให้การบรหิ ารจัดการสอบมคี วามชดั เจนไปในทิศทางเดยี วกัน ดงั นี้ 1) กอ่ นกำรดำเนินกำรสอบ กรรมการคมุ สอบท้ัง 2 ท่าน ดาเนินการ ดงั นี้ 1.1) ศกึ ษาคมู่ อื แบบทดสอบ และเกณฑ์การให้คะแนนอยา่ งละเอยี ด 1.2) ทาความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ในการทดสอบและแนวทางการสรุปผล การประเมนิ ของผู้เข้าสอบ 1.3) ตรวจสอบจานวนผู้เข้าสอบและรายชื่อของผู้เข้าสอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เข้าสอบ ที่ขาดสอบ และผูเ้ ข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) เพ่อื ไมใ่ ห้เกดิ ความคาดเคลื่อนในการกรอกคะแนน 30
1.4) จัดห้องแยกออกเป็น 2 หอ้ ง คอื ห้องสอบอ่านออกเสียง และห้องพักนักเรียนที่รอเข้าสอบ อา่ นออกเสียง โดยห้องทัง้ สองตอ้ งเป็นหอ้ งทเี่ ก็บเสียง และไมส่ ามารถยินเสยี งจากอีกหอ้ งหน่งึ ได้ 2) ระหวำ่ งดำเนนิ กำรสอบ 2.1) กรรมการคุมสอบคนที่ 1 เตรียมนักเรียนให้เข้าสอบตามลาดับเลขที่ในแบบบันทึก คะแนน 2 2.2) กรรมการคุมสอบคนท่ี 2 ดาเนนิ การดังนี้ 2.2.1) พูดคุยทักทายกับนักเรียนอย่างเป็นกันเอง เพื่อไม่ให้เกิดความเครียดหรือ เกิดความกดดัน 2.2.2) ชแ้ี จงให้นักเรยี นทราบเก่ียวกบั แนวทางการอ่าน ดงั น้ี - เวลาทใ่ี ช้ในการทดสอบ 10 นาที นกั เรยี นคนใดท่ีอ่านได้ครบถ้วน เสร็จก่อนเวลา ก็สามารถยตุ กิ ารทดสอบได้ - การสอบอ่านในแต่ละข้อ ถ้านักเรียนไม่สามารถอ่านได้ อนุญาตให้นักเรียน ข้ามไปสอบขอ้ ตอ่ ไปก่อนได้ และถา้ ยังมเี วลาเหลอื สามารถย้อนกลับไปอ่านข้อเดมิ ที่ขา้ มได้ 2.2.3) ดาเนนิ การสอบการอา่ นออกเสียงของนกั เรยี นทีละคน ตามจานวนในแต่ละห้องสอบ 3) หลังกำรดำเนินกำรสอบ กรรมการคุมสอบท้ัง 2 ทา่ น ดาเนนิ การ ดังน้ี 3.1) ตรวจสอบคะแนนนักเรียนเป็นรายบุคคลให้ถูกต้อง แล้วนามาบันทึกลงในแบบบันทึก คะแนนการสอบอ่านออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 2) ในกรณีท่ีมีนักเรียนขาดสอบ ให้เขียนคาว่า “ขาดสอบ” ด้วยหมกึ สแี ดงในช่องสถานะ 3.2) นาแบบบันทึกคะแนนการอ่านรู้เร่ือง (แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบบันทึกคะแนน อ่านออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 2) บรรจุลงในซองแบบทดสอบ เพื่อเตรียมนาผลบันทึกลงในโปรแกรม NT Access 4.5.3 กรณีผู้เข้ำสอบกรณีพเิ ศษ (Walk in) ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ได้แก่ ผู้ท่ีไม่มีรายช่ือในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (แบบ สพฐ.2) ซ่ึงนกั เรยี นจะเขา้ สอบได้ ก็ต่อเมอ่ื ไดร้ ับอนญุ าตจากประธานสนามสอบแล้ว โดยตอ้ งปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) ใหผ้ ้เู ข้าสอบกรณพี เิ ศษ (Walk in) เขา้ สอบในห้องสอบสุดทา้ ย โดยน่ังตอ่ จากเลขที่น่งั สอบสดุ ทา้ ย ของห้องสอบปกตหิ อ้ งสดุ ท้าย ในสนามสอบนน้ั ๆ 2) ให้ผเู้ ข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ใชแ้ บบทดสอบสารอง สาหรับเลขทนี่ งั่ สอบให้ใช้เลขที่นั่งสอบ ต่อจากเลขทส่ี ดุ ท้ายของหอ้ งสอบปกติห้องสุดทา้ ย ในสนามสอบนัน้ ๆ 3) ใหผ้ ู้เข้าสอบกรณพี ิเศษ (Walk in) ลงช่ือในใบเซน็ ชื่อผเู้ ข้าสอบกรณพี ิเศษ (แบบ สพฐ.3) 31
4) ให้สนามสอบเพิ่มชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (walk in) ในแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึก คะแนน 2 โดยเขยี นชอ่ื ตอ่ จากคนสุดทา้ ยของห้องสอบท่เี ขา้ สอบ 5) กรอกข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน และบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน 1 และ แบบบันทึกคะแนน 2 ในระบบ NT Access (ซ่ึงเป็นไฟล์ Excel) ให้ครบถ้วน โดยเพิ่มเป็นคนสุดท้ายใน ห้องสอบทีเ่ ข้าสอบ 4.5.4 กรณีเดก็ ขำดสอบ 1) ให้กรรมการคุมสอบขีดฆ่าช่ือนักเรียนที่ขาดสอบ และระบุว่า “ขำดสอบ” ด้วยหมึกสีแดง ในใบเซน็ ชอื่ ผู้เขา้ สอบ สพฐ.2 ตรงช่องหมำยเหตุ 2) ให้กรรมการคุมสอบขีดฆ่าชื่อนักเรียนที่ขาดสอบ และระบุว่า “ขำดสอบ” ด้วยหมึกสีแดง ในแบบบนั ทึกคะแนน 1 และแบบบนั ทึกคะแนน 2 3) ให้กรรมการบันทึกคะแนน เลอื กสถานะเป็น “ขำดสอบ” ในระบบ NT Access 4.5.5 กำรสง่ เฉลยข้อสอบกำรอำ่ นรูเ้ ร่อื ง กรณที ่ี 1 ส่งไปพรอ้ มกับข้อสอบ สานักทดสอบทางการศึกษาจะบรรจุเฉลยใส่ซอง แนบไปพร้อมกับซองข้อสอบการอ่านรู้เร่ือง จานวน 1 ซอง ตอ่ 1 หอ้ งสอบ 32
กรณที ่ี 2 ส่งผ่ำนระบบ NT Access สานักทดสอบทางการศึกษาจะส่งเฉลยผ่านระบบ NT Access ให้ศูนย์สอบในวันที่ 11 กุมภาพนั ธ์ 2563 โดยใหศ้ นู ย์สอบดาเนินการ ดังน้ี 1) ดาวนโ์ หลดเฉลยจากโปรแกรม NT Access ตามภาพ 2) ศูนย์สอบจัดทาสาเนาแจกให้กับสนามสอบในวันสอบ โดยจะต้องดาเนินการในลักษณะ ท่ีเป็นความลับทางราชการ และห้ามเปิดเผยเฉลยผ่านโซเชียลมีเดีย เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์ หรือ ทางเว็บไซต์ ของหนว่ ยงาน เป็นตน้ 33
ตอนที่ 5 เอกสำรกำรจัดสอบ เอกสารการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ในส่วนนี้ เป็นการนาเสนอเกี่ยวกับเอกสารที่จัดส่งไปยังสนามสอบ การรับ-ส่งข้อสอบ และเฉลย โดยมรี ายละเอียด ดังต่อไปนี้ 5.1 เอกสำรทจี่ ัดส่งไปยังสนำมสอบ 1) คู่มือกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 1 ปีกำรศึกษำ 2562 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดส่งคู่มือการประเมินความสามารถ ด้านการอ่านของผ้เู รียน ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 ไปศนู ย์สอบละ 20 เลม่ และสนามสอบละ 1 เล่ม 2) แบบทดสอบ ในการจัดสอบคร้ังน้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จะบรรจุ ซองแบบทดสอบลงในกล่อง ให้แต่ละสนามสอบ โดยภายในกล่องจะบรรจุซองแบบทดสอบ ซึ่งมัดรวมกันเป็น รายหอ้ งสอบ ดังนี้ 2.1) ซองแบบทดสอบการอา่ นรเู้ รือ่ ง 2.2) ซองแบบทดสอบการอ่านออกเสยี ง 2.3) ซองแบบทดสอบสารอง กลอ่ งข้อสอบ หอ้ งสอบที่ 1 ห้องสอบที่ 2
ซองแบบทดสอบแต่ละซอง (แต่ละวิชา) มลี ักษณะดงั นี้ - ด้านหน้าซองแบบทดสอบ มีใบปะหน้าสีแตกต่างกัน เพ่ือให้กรรมการระดับสนามสอบ สังเกตได้ง่าย ได้แก่ ใบปะหน้าสีขาว คือ ซองแบบทดสอบอ่านรู้เรื่อง และใบปะหน้าสีฟ้า คือ ซองแบบทดสอบ อา่ นออกเสียง ดงั ภาพ - ดา้ นหลงั ซองแบบทดสอบ ปิดผนึกซอง และปิดทับด้วย Security Seal เพอ่ื ป้องกัน การเปิดก่อนถงึ กาหนด ในซองแบบทดสอบแต่ละวิชา จะมีเอกสารบรรจุอยู่ภายในแตกต่างกัน ตามรูปแบบวธิ กี ารในการ ประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี นดังตอ่ ไปน้ี 1) ซองแบบทดสอบกำรอ่ำนรู้เรื่อง (ใบปะหนำ้ สีขำว) ภายในซองแบบทดสอบอา่ นรเู้ รื่อง ประกอบดว้ ย 1.1) แบบทดสอบ มีจานวนเทา่ กบั จานวนนกั เรียนที่เขา้ สอบแต่ละหอ้ ง 1.2) เฉลยแบบทดสอบ (อยู่ในซองแบบทดสอบซองแรก ของกลอ่ งแรก) 1.3) แบบบันทึกคะแนน 1: แบบบนั ทึกคะแนนแบบทดสอบการอา่ นรู้เรือ่ ง จานวน 1 ฉบับ 1.4) ใบเซ็นช่ือผู้เข้าสอบ (สพฐ.2) จานวน 1 ฉบับ 36
เอกสารบรรจุอยูภ่ ายในซองแบบทดสอบการอา่ นร้เู รอ่ื ง ดงั ภาพ แต่ละห้อง 2) ซองแบบทดสอบกำรอ่ำนออกเสียง (ใบปะหน้ำสฟี ำ้ ) ภายในซองแบบทดสอบอ่านออกเสียง ประกอบด้วย 2.1) แบบทดสอบอ่านออกเสียง (ฉบบั นักเรียน) จานวน 1 ฉบบั 2.2) แบบทดสอบอา่ นออกเสียง (ฉบบั กรรรมการ) มจี านวนเทา่ กบั จานวนนักเรียนที่เข้าสอบ 2.3) แบบบนั ทกึ คะแนน 2: แบบบันทกึ คะแนนแบบทดสอบการอ่านออกเสยี งจานวน 1 ฉบบั 2.4) ใบเซน็ ช่อื ผ้เู ข้าสอบ (สพฐ.2) จานวน 1 ฉบบั 37
เอกสารบรรจุอยู่ภายในซองแบบทดสอบการอ่านออกเสยี ง ดังภาพ 3) ซองแบบทดสอบสำรอง แบบทดสอบ และกระดาษคาตอบสารอง ทั้งแบบทดสอบการอ่านรู้เร่ืองและการอ่านออก เสียง จานวนรอ้ ยละ 5 ของแบบทดสอบท้ังหมด หรอื อยา่ งน้อย 1 ฉบบั /ห้องสอบ โดยจะถกู บรรจุรวมกัน อยู่ ในกล่องบรรจซุ องแบบทดสอบกล่องแรกของแต่ละสนามสอบ แบบทดสอบท่ีใช้ในการทดสอบคร้ังน้ี พิมพ์ด้วยกระดาษปอนด์ขนาด 8.85 x 11.80 น้ิว ซ่งึ แบบทดสอบแต่ละฉบับจะมสี ีของตวั อกั ษรแตกต่างกนั อยา่ งชดั เจน เพ่อื ให้เกดิ ความสะดวกในการจัดเก็บ ดงั น้ี ชุดท่ี 1 แบบสอบการอา่ นรู้เรือ่ ง (สีม่วง) ชุดที่ 2 แบบสอบการอา่ นออกเสียง (ฉบบั นักเรียน) (สีเขียว) ชดุ ท่ี 3 แบบสอบการอา่ นออกเสียง (ฉบับกรรมการ) (สฟี ้า) 38
ตวั อยา่ งปกแบบทดสอบ ดงั ภาพ แบบทดสอบด้ำนกำรอ่ำนรู้เรือ่ ง แบบทดสอบดำ้ นกำรอำ่ นออกเสยี ง แบบทดสอบดำ้ นกำรอำ่ นออกเสียง (สมี ว่ ง) ฉบับนกั เรยี น (สเี ขยี ว) ฉบับกรรมกำร (สีฟำ้ ) 4) แบบบันทึกคะแนนสอบ แบบบันทึกคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่าน แบ่งออกเป็น 2 ฉบับ คือ แบบบันทึกคะแนนการประเมินการอ่านรู้เรื่อง (แบบบันทึกคะแนน 1) และ แบบบนั ทึกคะแนนการประเมนิ การอ่านออกเสยี ง (แบบบันทกึ คะแนน 2) ดงั ภาพ แบบบันทกึ คะแนนการประเมินการอ่านรูเ้ รอื่ ง แบบบนั ทึกคะแนนการประเมินการอา่ นออกเสียง (แบบบนั ทกึ คะแนน 1) (แบบบันทึกคะแนน 2) 5) เอกสำรธุรกำรประจำสนำมสอบ ในการจัดสอบครั้งน้ี จะบรรจุเอกสารธุรการ ประจาสนามสอบใส่ลงในซองแยกออกจากกล่องแบบทดสอบ โดยมีเอกสารธุรการ ดงั นี้ 5.1) ใบรายช่ือตดิ บอรด์ หน้าสนามสอบ 5.2) ใบรายชอื่ ติดหนา้ หอ้ งสอบแต่ละห้องสอบ 5.3) แบบ สพฐ.2 แบบเซน็ ช่อื ผู้เขา้ สอบในแตล่ ะหอ้ งสอบ 5.4) แบบ สพฐ.3 แบบเซน็ ช่ือผูเ้ ขา้ สอบกรณพี เิ ศษ (Walk in) 39
5.5) แบบ สพฐ.5 แบบฟอรม์ สาหรับผูป้ ฏบิ ัตผิ ิดระเบียบการสอบ 5.6) แบบ สพฐ.6 แบบคาขอแก้ไขขอ้ มลู 5.7) แบบบนั ทึกคะแนน 1 แบบบนั ทกึ คะแนนแบบทดสอบการอา่ นรู้เรอื่ ง 5.8) แบบบนั ทึกคะแนน 2 แบบบันทกึ คะแนนแบบทดสอบการอา่ นออกเสียง 5.9) RT1 บัญชีรับส่งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบระหว่างประธานสนามสอบกบั กรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน 5.10) RT2 บัญชีส่งจานวนกล่องกระดาษคาตอบ และเอกสารอื่น ๆ จากประธาน สนามสอบถงึ ศนู ยส์ อบ 5.11) ซองใสแ่ บบบันทึกคะแนนและเอกสารอื่น ๆ จากสนามสอบ 5.12) สตกิ๊ เกอร์ข้อมลู ผูเ้ ข้าสอบ (สาหรับตดิ โต๊ะผูเ้ ข้าสอบ) หมำยเหตุ: ตัวอย่างแบบฟอร์มเอกสารธรุ การประจาสนามสอบ อยใู่ นภาคผนวก 5.2 กำรรบั -ส่งแบบทดสอบ ก า ร รั บ - ส่ ง แ บ บ ท ด ส อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ด้ า น ก า ร อ่ า น ข อ ง ผู้ เ รี ย น ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 ดาเนินการ ดังตอ่ ไปนี้ 1) สพฐ. จะสง่ ซองเอกสารธรุ การประจาสนาม พรอ้ มคมู่ ือไปยงั ศูนย์สอบ ระหว่างวนั ที่ 20 - 24 มกราคม 2563 โดยใหผ้ แู้ ทนศูนย์สอบเซน็ รบั เอกสาร ตามวันเวลาท่นี ัดหมาย 2) สพฐ. จะส่งกล่องแบบทดสอบ ระหว่างวันที่ 3 - 6 กุมภาพันธ์ 2563 โดยใหผ้ ู้แทนศูนย์สอบ เซ็นรับเอกสาร ตามวันเวลาทีน่ ดั หมาย 3) สนามสอบมารบั แบบทดสอบทศี่ ูนยส์ อบในช่วงเชา้ ของวนั สอบ 4) แบบทดสอบสารอง (ร้อยละ 5) และกระดาษคาตอบสารอง (ร้อยละ5) จะถูกส่งไปยัง สนามสอบทุกแห่ง โดยจะบรรจไุ วใ้ นกล่องแรกของทุกสนามสอบ 5) แบบทดสอบฉบับจริง และแบบทดสอบสารอง (ที่ไม่ได้ใช้) เม่ือดาเนินการสอบเสร็จสิ้น ให้สนามสอบเกบ็ รักษาไว้จนกว่าจะประกาศผลการทดสอบ จงึ สามารถนามาใช้เพ่ือเป็นประโยชน์ตอ่ ไปได้ 40
ตอนท่ี 6 กำรรำยงำนผลกำรทดสอบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะรายงานผลการประเมินให้กับผู้เข้าสอบ โรงเรียน ศูนย์สอบ หน่วยงานต้นสังกัด และประเทศ ผ่านระบบ NT Access โดยแบบรายงานผลการสอบ จะแสดงรายละเอียดขอ้ มลู ทัว่ ไป ค่าสถติ ผิ ลการสอบรายด้าน และภาพรวม ได้แก่ คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน จาแนกเปรียบเทียบตามระดับต่าง ๆ คะแนนสอบรายองค์ประกอบและระดับคุณภาพ รายสมรรถนะ เปน็ ต้น 6.1 กำรรำยงำนระดับบคุ คล นักเรียนสามารถเข้าดูผลการประเมิน โดยพิมพ์เลขประจาตัวประชาชน แบบรายงาน ผลการทดสอบของนักเรียนรายบุคคล คอื R-Student 01: แบบสรุปรายงานผลการทดสอบของนักเรยี น 6.2 กำรรำยงำนระดับโรงเรียน โรงเรียนสามารถเข้าดูผลการประเมิน โดยพิมพ์รหัสผู้เข้าใช้และรหัสผ่านของโรงเรียน แบบรายงาน มดี ังน้ี R-School 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมินของโรงเรยี น R-School 02: แบบรายงานค่าสถิติพ้ืนฐานผลการประเมนิ ของโรงเรียน R-School 03: แบบรายงานผลการประเมนิ นกั เรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละสมรรถนะ R-School 04: แบบรายงานผลการประเมินนักเรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละองค์ประกอบ R-School 05: แบบรายงานผลค่าสถติ ิพ้นื ฐานจาแนกนักเรียนรายบุคคล 6.3 กำรรำยงำนระดับศูนยส์ อบ ศูนย์สอบสามารถเข้าดูผลการประเมิน โดยพิมพ์รหัสผู้เข้าใช้และรหัสผ่านของศูนย์สอบ แบบรายงาน มดี งั น้ี R-Local 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมนิ ของสงั กัดย่อย R-Local 02: แบบรายงานคา่ สถิติพนื้ ฐานผลการประเมินของสงั กดั ยอ่ ย R-Local 03: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายโรงเรยี นในแต่ละสมรรถนะ R-Local 04: แบบรายงานผลจาแนกรายโรงเรียนในแตล่ ะองค์ประกอบ R-Local 05: แบบรายงานผลคา่ สถติ พิ ื้นฐานจาแนกรายโรงเรียน
6.4 กำรรำยงำนระดบั จงั หวัดหรือศกึ ษำธิกำรจังหวัด ศูนย์สอบสามารถเข้าดูผลการประเมินโดยพิมพ์รหัสผู้เข้าใช้และรหัสผ่านของศูนย์สอบ แบบรายงาน มดี ังนี้ R-Province 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมินของจังหวดั R-Province 02: แบบรายงานค่าสถติ ิพ้ืนฐานผลการประเมนิ ของจังหวดั R-Province 03: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายโรงเรียน (ทุกสังกัดภายในจังหวัด) ในแต่ละสมรรถนะ R-Province 04: แบบรายงานผลจาแนกรายโรงเรียน (ทุกสังกัดภายในจังหวัด) ในแต่ละ องค์ประกอบ R-Province 05: แบบรายงานผลค่าสถิติพื้นฐานจาแนกรายโรงเรียน (ทุกสังกัดภายใน จงั หวัด) 6.5 กำรรำยงำนระดบั หน่วยงำนต้นสังกัด ต้นสังกัดสามารถเข้าดูผลการประเมิน โดยพิมพ์รหัสผู้เข้าใช้และรหัสผ่านของต้นสังกัด แบบรายงาน มีดงั น้ี R-Central 01: แบบรายงานผลการประเมินของต้นสงั กัด R-Central 02: แบบรายงานค่าสถติ พิ ้ืนฐานผลการประเมินของต้นสงั กดั R-Central 03: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายสังกัดย่อย (เขตพ้ืนท่ี) ในแต่ละ สมรรถนะ R-Central 04: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายสังกัดย่อย (เขตพ้ืนที่) ในแต่ละ องคป์ ระกอบ R-Central 05: แบบรายงานผลค่าสถิติพืน้ ฐานจาแนกรายสงั กัดย่อย 42
ตอนท่ี 7 กำรจัดสอบสำหรบั เด็กท่มี ีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พิเศษ เด็กที่มีควำมต้องกำรจำเป็นพิเศษ หมายถึง ผู้เข้าสอบท่ีมีความต้องการพิเศษเกี่ยวกับ วิธีการ กระบวนการ เครื่องมือหรือบริการอ่ืนใดที่ใช้ในการจัดสอบแตกต่างไปจากเด็กท่ัวไป เพื่อให้ เด็กสามารถแสดงความสามารถในการทาขอ้ สอบได้อยา่ งเต็มศักยภาพ 7.1 แนวทำงกำรจดั สอบสำหรับเด็กท่ีมีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พิเศษ การดาเนินการสอบสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ 9 ประเภท โดยแต่ละประเภท อาจมแี นวทางการจดั สอบ ดังน้ี 1) เด็กทีม่ คี วำมบกพร่องทำงกำรเห็น หมายถงึ คนทส่ี ญู เสียการเหน็ ต้ังแต่ระดับเล็กน้อย จนถงึ ตาบอดสนทิ อาจแบ่งได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.1) ตำบอด หมายถึง คนกลุ่มน้ีไม่สามารถใช้การมองเห็นจากประสาทตาได้เลย ต้องใช้อักษรเบรลล์ช่วยในการอ่านและทาความเข้าใจข้อสอบ ซ่ึงการดาเนินการผู้จัดสอบแจกข้อสอบ ฉบับอักษรเบรลล์ให้นักเรียนแต่ละคน โดยแยกออกมาให้สอบในห้องเฉพาะและให้มีกรรมการคุมสอบ ท่ีมาจากโรงเรียนสอนคนตาบอดแห่งนั้น ๆ เป็นกรรมการคุมสอบช่วยในการคุมสอบและช่วยเหลือ เท่าท่ีจาเป็น โดยกรรมการคุมสอบจะเป็นผู้ระบายคาตอบในกระดาษคาตอบให้นักเรียนแต่ละคนในช่วงท้าย ของเวลา การคุมสอบโดยอาจให้กรรมการ 1 คน ช่วยนักเรียนประมาณ 3 - 5 คน แต่เด็กบางคนอาจให้ กรรมการคุมสอบเป็นผู้อ่านข้อสอบให้ฟัง โดยใช้ข้อสอบปกติ ให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพื่อไม่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อ่ืน ซึงครูจะเป็นอ่านข้อสอบให้ฟังและนักเรียนจะทามือแสดงสัญลักษณ์คาตอบ แล้วให้กรรมการคุมสอบชว่ ยระบายคาตอบในกระดาษคาตอบก็ได้ โดยให้เวลาเพิ่มข้ึนร้อยละ 30 จากเวลา ที่กาหนด 1.2) สำยตำเลือนลำง หมายถึง คนกลุ่มน้ียังสามารถใช้การมองเห็นจากประสาทตา ที่หลงเหลือได้ เด็กกลุ่มนี้อาจต้องการให้จัดทาข้อสอบท่ีมีอักษรขนาดขยายเพ่ิมกว่าปกติ ขนาด 20 พอยท์ (โดยประมาณ) เพื่อสามารถอ่านข้อสอบด้วยตนเองได้ และอาจจะมีความยากลาบากในการระบาย กระดาษคาตอบ เน่ืองจากมีพ้ืนท่ีกาหนดให้ระบายกระดาษคาตอบในแต่ละข้อขนาดเล็กมาก อาจต้องให้ กรรมการคุมสอบช่วยอนุเคราะห์ระบายคาตอบให้ โดยเด็กทาคาตอบไว้ก่อนในระหว่างการทาข้อสอบและ ค่อยอ่านให้กรรมการคุมสอบช่วยระบายคาตอบหรือเขียนคาตอบให้ภายหลัง หรือเด็กอาจให้กรรมการคุมสอบ อ่านข้อสอบให้ฟังและช่วยระบายคาตอบให้นักเรียนคนน้ัน ๆ ตามท่ีนักเรียนบอกคาตอบก็ได้ การคุมสอบ อาจใหก้ รรมการ 1 คน ต่อเดก็ 3 - 5 คน โดยให้เวลาในการทาขอ้ สอบเพ่มิ ข้นึ ร้อยละ 30 จากเวลาท่ีกาหนด
2) เด็กท่ีมีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยิน หมายถึง คนท่ีสูญเสียการได้ยินต้ังแต่ระดับ รนุ แรงถึงระดับน้อย อาจแบง่ ได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 2.1) หูตึง คนกลุ่มน้ีสามารถรับรู้การได้ยินผ่านระบบประสาทหูได้ แต่มีระดับการได้ยิน น้อยกว่าปกติท่ัวไป และอาจพูดส่ือสารได้ไม่ชัดเจน มักจะใส่เครื่องช่วยฟังเพื่อช่วยในการได้ยินให้ดีข้ึน เดก็ กลมุ่ นี้สามารถทาแบบทดสอบได้ด้วยตนเอง โดยอาจไมต่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื ใด ๆ เป็นกรณีพิเศษ 2.2) หูหนวก เด็กกลุ่มนี้ไม่สามารถรับรู้การได้ยินผ่านทางประสาทหูได้แม้จะใส่ เครื่องช่วยฟัง ช่วยการได้ยินแล้วก็ตาม และต้องใช้ภาษามือในการส่อื สารแทนการใช้เสยี งพูด แม้เด็กกลุ่มน้ี มีลักษณะภายนอกคล้ายเด็กทั่วไป แต่เขาเหล่านี้จะมีพัฒนาการทางภาษาด้อยกว่าเด็กท่ัวไปท่ีอายุ อยู่ในระดับเดียวกัน การดาเนินการสอบควรจัดให้มีล่ามภาษามือจากโรงเรียนโสตศึกษาในจังหวัดน้ัน ช่วยในการแปลรายละเอียดข้อสอบ เพ่ือช่วยให้เด็กหูหนวกท่ีเข้าสอบมีความเข้าใจที่ชัดเจนและสามารถ แสดงศักยภาพในการทาข้อสอบได้ถูกต้อง และควรให้เวลาในการทาข้อสอบเพ่ิมข้ึนร้อยละ 30 จากเวลา ท่ีกาหนด 3) เด็กที่มีควำมบกพร่องทำงสติปัญญำ หมายถึง คนที่มีพัฒนาการช้ากว่าคนทั่วไป เมื่อวัดระดับเชาว์ปัญญา กรณีนี้เด็กจะมีความสามารถทางสติปัญญาต่ากว่าเกณฑ์เฉล่ียและมีข้อจากัด ในการปรับตัว แต่หากเป็นเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาท่ีเรียนร่วมกับเด็กทั่วไป จะมีความสามารถ ในการเรียนได้ในระดับประถมศึกษาอยู่แล้ว อาจเปิดโอกาสให้เด็กกลุ่มน้ีได้เข้าสอบด้วย โดยอาจเพ่ิมเวลา ในการทาขอ้ สอบได้แตไ่ มเ่ กินร้อยละ 30 ของเวลาท่กี าหนด 4) เด็กท่ีมีควำมบกพร่องทำงร่ำงกำยหรือสุขภำพ หมายถึง คนท่ีมีอวัยวะไม่สมส่วน อวัยวะส่วนใดส่วนหน่ึงหรือหลายส่วนขาดหายไป กระดูกและกล้ามเนื้อพิการ เจ็บป่วยเร้ือรังรุนแรง มีความพิการของระบบประสาท มีความลาบากในการเคลื่อนไหวซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาในสภาพปกติ แบ่งเป็น 4.1) เด็กมีควำมบกพร่องทำงร่ำงกำยหรือกำรเคล่ือนไหว เช่น คนมีอวัยวะไม่สมส่วน หรือขาดหายไปโดยเฉพาะแขนขาดหรือกล้ามเน้ือแขนลีบผิดปกติ ทาให้มีอุปสรรคในการเขียนคาตอบหรือ ระบายคาตอบในกระดาษคาตอบ แต่เด็กกลุ่มนี้มีความสามารถทางสมองและสติปัญญาอยู่ในระดับปกติ ในการทาข้อสอบ จัดให้เด็กสอบในห้องเฉพาะและมีกรรมการอานวยความสะดวกในการเขียนคาตอบให้เด็ก โดยให้เด็กแต่ละคนอ่านข้อสอบด้วยตนเองและบอกคาตอบให้กรรมการช่วยเขียนคาตอบให้ ซึ่งให้เวลา ทาข้อสอบเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 จากเวลาที่กาหนด ถ้าเด็กสามารถทาข้อสอบได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องการ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ให้เด็กคนนั้นสอบรวมกับเด็กทั่วไป อน่ึงควรจัดสนามสอบสาหรับเด็กกลุ่มนี้ ใหเ้ หมาะสม เช่น ควรจดั อยูช่ ัน้ ลา่ งของอาคารเพื่อความสะดวกในการใชเ้ ก้าอี้รถเข็น 44
4.2) เด็กท่ีมีควำมบกพร่องทำงสุขภำพ ได้แก่ คนท่ีมีความเจ็บป่วยเร้ือรังหรือมี โรคประจาตัว และตอ้ งได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เดก็ เหลา่ นี้หากสามารถทาข้อสอบได้ดว้ ยตนเอง ให้ทา ข้อสอบด้วยตนเอง หากไม่สามารถทาข้อสอบได้ด้วยตนเอง ให้กรรมการคุมสอบช่วยเขียนคาตอบให้ ซึ่งเด็กเป็นผู้บอกคาตอบให้กรรมการเขียน โดยให้เพิ่มเวลาในการทาข้อสอบให้ได้ตามความจาเป็นแต่ไม่เกิน รอ้ ยละ 30 จากเวลาทกี่ าหนด 5) เด็กที่มีปัญหำทำงกำรเรียนรู้ หมายถึง เด็กท่ีมีความบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ หลายอย่าง เกี่ยวกับความเข้าใจหรือการใช้ภาษา อาจเป็นภาษาพูดหรือภาษาเขียน เด็กเหล่าน้ีส่วนใหญ่ กระจายอย่ใู นโรงเรยี นทั่ว ๆ ไป ในการจัดสอบตอ้ งเปดิ โอกาสให้เดก็ เหลา่ นี้มีโอกาสในการทาขอ้ สอบร่วมกับ เด็กท่ัวไปด้วย โดยอาจจัดให้มีกรรมการคุมสอบช่วยควบคุมและอานวยความสะดวกเป็นการเฉพาะ เพราะ เด็กเหล่าน้ี สามารถพูดคาตอบที่ถูกต้องได้ แต่อาจไม่สามารถแสดงศักยภาพของตนเองด้านการเขยี นคาตอบได้ กรรมการคุมสอบควรอนุเคราะห์เขียนหรือระบายคาตอบให้เด็กเหล่าน้ีด้วย เพราะเด็กเหล่านี้สามารถ พูดคาตอบได้ อน่ึงหากเด็กสามารถทาข้อสอบได้ด้วยตนเอง ก็ให้นักเรียนคนนั้นทาข้อสอบด้วยตนเอง การเพม่ิ เวลาอาจพิจารณาตามความเหมาะสมแตไ่ ม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาท่กี าหนด 6) เด็กที่มีควำมบกพร่องทำงกำรพูดและภำษำ หมายถึง คนที่มีความบกพร่องในเร่ือง ของการเปล่งเสียงพูด เช่น เสียงผิดปกติ อัตราความเร็วและจังห วะการพูดผิดปกติ หรือคนท่ีมี ความบกพร่องในเร่ืองความเข้าใจหรือการใช้ภาษาพูด การเขียน และหรือระบบสัญลักษณ์อื่นที่ใช้ใน การติดต่อสื่อสาร ซ่ึงอาจเก่ียวกับรูปแบบของภาษา เน้ือหาของภาษาและหน้าที่ของภาษา กรณีนี้ ให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่ือไม่เป็นการรบกวนสมาธิผอู้ ื่น และเพิ่มเวลาในการทาข้อสอบ ใหต้ ามแต่กรณีโดยไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 30 ของเวลาที่กาหนด 7) เด็กท่ีมีปัญหำทำงพฤติกรรมหรืออำรมณ์ หมายถึง คนที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจาก ปกติเป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมนั้นเป็นไปอย่างต่อเน่ือง ไม่เป็นที่ยอมรับทางสังคม กรณีน้ี ให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่ือไม่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อ่ืน และเพิ่มเวลาในการทาข้อสอบ ให้ตามแต่กรณีโดยไมเ่ กินรอ้ ยละ 30 ของเวลาทกี่ าหนด 8) เด็กออทิสติก หมายถึง คนที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการด้านสังคม ภาษาและ การส่ือความหมาย พฤติกรรม อารมณ์ และจินตนาการ เด็กเหล่าน้ีมีความผิดปกติของระบบการทางาน ของสมองบางส่วน ทาให้เด็กเหล่านี้มีความบกพร่องของพัฒนาการด้านภาษา ด้านสังคม และการปฏิสัมพันธ์ ทางสังคม มีความสนใจเฉพาะเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง เด็กเหล่านี้อาจไม่มีสมาธิในการทาข้อสอบได้ตลอดการสอบ และหากเด็กสามารถควบคุมสมาธิของตนเองให้ทาข้อสอบได้ ควรเปิดโอกาสให้เด็กเหล่านี้มีโอกาสในการ ทาข้อสอบได้ตามศักยภาพที่เขามี โดยให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพื่อไม่เป็นการรบกวน สมาธิผู้อ่ืน และเพ่ิมเวลาในการทาข้อสอบให้ตามแต่กรณีโดยไม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาท่ีกาหนด หากเด็ก มีศักยภาพในการทาข้อสอบได้เพยี งใด ให้ถือวา่ คอื ศกั ยภาพในการทาข้อสอบของเด็กคนนัน้ แล้ว 45
9) บุคคลพิกำรซ้อน หมายถึง คนที่มีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่า หนึ่งประเภทในบุคคลเดียวกัน เช่น คนปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน เป็นต้น กรณีนี้ให้กรรมการคุมสอบ แยกการสอบออกมาเฉพาะ เพื่อไม่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อื่น และเพิ่มเวลาในการทาข้อสอบให้ตามแต่กรณี โดยไม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาท่ีกาหนด (การพิจารณาให้เด็กที่มีความพิการซ้อนเข้าสอบน้ัน ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจ ของผูบ้ รหิ ารโรงเรียนวา่ ควรใหน้ ักเรยี นเข้าสอบได้หรอื ไม่) 7.2 ข้อปฏบิ ัตสิ ำหรบั กำรจดั สอบเด็กทม่ี คี วำมต้องกำรจำเป็นพเิ ศษ กรณีที่สนามสอบมีเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้แก่ เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น เดก็ ทีม่ ีความบกพร่องทางการได้ยิน เดก็ ทีม่ คี วามบกพร่องทางสตปิ ัญญา เด็กทีม่ คี วามบกพร่องทางร่างกาย หรือสุขภาพ เด็กท่ีมีปัญหาทางการเรียนรู้ เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการพูดและภาษา เด็กท่ีมีปัญหา ทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เด็กออทสิ ตกิ และบคุ คลพกิ ารซอ้ น ขอให้ดาเนนิ การ ดังนี้ 1) เด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ รายงานตัวท่ีห้องอานวยการสอบประจาสนามสอบ เพือ่ สอบถามข้อมูลเกย่ี วกับห้องสอบ (กรณไี มท่ ราบขอ้ มูล) 2) ให้กรรมการคุมสอบรับรายงานตัวผูเ้ ข้าสอบที่มีความต้องการจาเปน็ พิเศษ โดยอานวย ความสะดวกในการแจ้งห้องสอบและแจ้งรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการสอบ เช่น ระเบียบการเข้าสอบ ตารางสอบใหก้ ับผู้เข้าสอบ เป็นตน้ 3) ให้สนามสอบอานวยความสะดวกใหก้ ับนกั เรยี นกล่มุ ดังกล่าว ตามความเหมาะสม 7.3 หลกั ฐำนทีใ่ ช้แนบประกอบสำหรับเด็กท่มี คี วำมต้องกำรจำเป็นพเิ ศษ กรณีโรงเรียนท่ีมีนักเรียนเป็นเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ต้องการเข้าร่วมประเมิน ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ให้แนบหลกั ฐานยืนยันสถานภาพของนักเรียน ไปยังศูนย์สอบ ภายในวันที่ 22 ธันวาคม 2562 เพ่ือทาการตรวจสอบ โดยมีหลักฐาน คือ สำเนำใบรับรอง แพทย์หรอื สำเนำบตั รประจำตัวคนพิกำรเท่ำนั้น (เน่อื งจากนกั เรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ยงั ไม่มี การคัดกรองเดก็ ที่มีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ) 46
Search