Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home
About

This bookcase is encrypted.

Enter
โครงการมนุษย์และชีวมณฑล ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 โดยองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) จากวิสัยทัศน์ของนักวิทยาศาสตร์ที่มารวมตัวกันภายใต้กรอบของ UNESCO ที่มองเห็นว่า ต้องมีความร่วมมือกันเพื่อช่วยพัฒนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกต้อง และสามารถอนุรักษ์แหล่งทรัพยากรได้อย่างยั่งยืนรวมถึงส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
พื้นที่สงวนชีวมณฑลไม่ได้กำหนดขึ้นเพียงเพื่อคุ้มครองทรัพยากรชีวภาพเท่านั้น แต่ต้องทำหน้าที่เป็นพื้นที่สำหรับการดำเนิน
การศึกษาวิจัยด้านนิเวศวิทยาและชีววิทยาต่างๆ ตลอดจนส่งเสริมการใช้ประโยชน์และพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืนและเหมาะสมด้วยปัจจุบันในปี 2560 มีพื้นที่สงวนชีวมณฑลทั่วโลกจำนวน 669 แห่ง กระจายอยู่ใน 120 ประเทศ โดยประเทศไทยได้เข้าร่วมโปรแกรมมนุษย์และชีวมณฑล ในปี พ.ศ. 2519 และมีพื้นที่ที่ได้รับการประกาศเป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑล จำนวน 4 แห่ง ได้แก่
๑) พื้นที่สงวนชีวมณฑลสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา (ประกาศเมื่อ พ.ศ. 2519)
๒) พื้นที่สงวนชีวมณฑลแม่สา – คอกม้า จังหวัดเชียงใหม่ (ประกาศเมื่อ 1 มีนาคม พ.ศ. 2520)
๓) พื้นที่สงวนชีวมณฑลป่าสักห้วยทาก จังหวัดลำปาง (ประกาศเมื่อ พ.ศ. 2520)
๔) พื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง จังหวัดระนอง (ประกาศเมื่อ พ.ศ. 2540)

The Man and Biosphere Reserve Programme (MAB)
was initiated since 1971 by the United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO). This programme was founded through the visions of the scientists working with UNESCO that saw the need to collaborate and develop scientific knowledge for natural resource management. This is so that natural resources may be utilized properly and at the same time enables sustainable conservation of the source of resources. It will also promote the relationship between humans and nature.
A biosphere reserve can be on land or coastal area that received recognition from the international community under the Man and Biosphere Programme as an area for conservation, preservation of natural and cultural diversity and an area where humans can enhance their skills and values as well as being a pilot area for sustainable area management and development.
Biosphere reserves were not set up to only protect biological resources. It must also provide areas or researches about the ecology and various biological studies. On the other hand, it must support local use and development appropriately and sustainably. In 2017, there are 669 biosphere reserves in 120 countries scattered worldwide. Thailand first joined the MAB Programme in 1976 and to date has 4 biosphere reserves registered including;
1) Sakaerat Biosphere Reserve in Nakhon Ratchasima, announced since 1976.
2) Mae Sa – Kog Ma Biosphere Reserve, Chiang Mai, announced since 1 March 1977.
3) Huay Tak Biosphere Reserve, Lam Pang, announced since 1978.
4) Ranong Biosphere Reserve, Ranong, announced since 1997.