Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำบายศรีในรูปแบบต่างๆ

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำบายศรีในรูปแบบต่างๆ

Published by CALLMESUB, 2022-03-13 12:22:18

Description: สรุปผลการดำเนินงาน
โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำบายศรีในรูปแบบต่างๆ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
จัดทำโดยนางสาวรจนา ขวัญเกตุ ครูกศน.ตำบลกระโทก

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการดําเนินงาน โครงการศนู ยฝ์ ึ กอาชีพชมุ ชน หลกั สตู รอาชีพการทําบายศรใี นรปู แบบต่างๆ ประจําปี งบประมาณ พ.ศ.2565 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอโชคชยั สาํ นกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นครราชสีมา

w ta, 4a ,, uuflnton?13J dautrtnl: fgludnr:fifl uluofl rsuuuavnr:fi nurmlud'ourfr'Ero\"rrnaTrn{'u .aI {uid u< qunrfi'ud u.n. bdbd Yl elo oleroo.enbo,rol tdat op^anr:oirtfiuqru 1n:qnr:qudfino'rfiurJruru rad'nqs:arfinnr:drrranBtu;rJuuurirrl uu4 yo s nr:fl uudnr:fid nuruo ntsllu LLay nr:fi nBrfl rudaurfr'u dr m otrnr-a ti {TdUrur o. d Ll0{l[flXl Fn}ryr {1un1Tfl ni$'tsl o Lu od fl ufl fl 't:fi r'tu11.Jo n:uuu uau nl:fr nurnr:id0ar 6u drmoTtnd'a leio-nfion::uTn:'rnr:IJ4lUudfinort'nruru ua-naflEorfinnr:yirrrun:'tugiluuurirrl :srn:rq{ud rrio - bsn d'u:rnu v!.6. tsdbd cu tiruTr.rad rau'\"t Eirlnn:yTyrn o'rrnaTrrr{u si oy_t_u_i:Jq--u_n- ::rt_d4tr tfor'oqlti,tJ,:strtulu6str\"oruan:v1syn 4leytu'iunrrufv yvrhus nr:dorurunTdLu:rJuuurirll uav arut:nd, trjl{lu*'?rrrJ:vqiri,u fi1rJ1;naa:ru0ra tfi'n-unuraluasn:orni: ufi'lrrJruuruayrt'puur qiln'rfl dA 4 Y Y d a[yyunutilrJu LlJ:i t?aL?{:il4:1dFl?'txt rrti{ u.tiofior:rul ' 4 , n' qvo 4 ,s dd Iru :r ru n r : fr n u'i ri o rfr a c ld'srh rfi u nT : a qrj ru a Tn : r n r : qu dfl n o r 6 mr ua-n q m orfi unr:lr'rr r u nflu:Iil utu si'lr.l ri ulio u u#r :t ua s rd u pr 6'r uuu ydoqi rn. ll0f)fl?llJ1EJ TctUgU n'l6{ d. gvoCt^6uo tTroltl'l:fu'l I Je, I tlAtoLU:flyr:'tu \\./ (u1ffi1r:qur t{rgrnq) a? nfiu.eilua d y vA 'l:fqlfl rJ Fl?111t14ilfl A{ tAlUU'lyl.l''lUfl 19191 O tUO{ rfia}J:fiYE'r! (tvuriqrcotfng rfroflryrgr) nI olaTfllTn: nfiu. (urs6:vnr {suunfrnr:) Vo urunr:quu6nr:fid nr*luonrsuu lrasn1:fi nulrruooutfr'ud.r rno1rnrYet {dT

ก คาํ นาํ เอกสารสรปุ ผลโครงการเลม น้ี จัดทําขึ้นเพ่ือสรปุ ผลการดาํ เนินงานพบวา โครงการศูนยฝกอาชพี ชมุ ชน หลกั สูตรอาชีพการทาํ บายศรใี นรูปแบบตา งๆ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอโชคชัย เพื่อรวบรวมขอมูลสรุปผลการดาํ เนินงาน วธิ ีการดําเนินงาน ปญ หา อุปสรรค ขอเสนอแนะ และแนวทางแกไข เพื่อเปน ขอ มลู สาํ หรับใชในการพฒั นาการดําเนนิ งานในครง้ั ตอไป คณะผจู ัดทาํ หวังเปน อยางยิง่ วาเอกสารเลม นี้ จะเปน ประโยชนต อ การศึกษาคน ควา และเปนแนวทาง ในการพัฒนาผูเรยี นตอไป ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอโชคชัย

สารบญั ข เน้อื หา หนา คํานํา ก สารบญั ข บทที่ 1 บทนาํ 1 1. หลักการและเหตุผล 1 2. วัตถุประสงค 1 3. เปาหมาย 2 4. ผูรับผดิ ชอบโครงการ 2 5. เครือขา ย 2 6. โครงการทีเ่ กยี่ วของ 2 7. ผลลพั ธ 2 8. ดชั นีชี้วดั ผลสําเร็จของโครงการ 2 9. การตดิ ตามและประเมินผล บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวของ 3 1. ขนบธรรมเนียมบายศรีสขู วญั 5 2. ขนดิ ของบายศรี 3. พิธกี รรมทใี่ ชบ ายศรีเปนองคประกอบสําคัญ 7 บทท่ี 3 วธิ ีการดาํ เนนิ งาน 10 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข อมูล 16 บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ 19 บรรณานกุ รม ภาคผนวก ตารางวิเคราะหข อมูล โดยใชโปรแกรม SPSS แบบประเมนิ โครงการฯ ภาพถา ยกิจกรรม รายช่อื ผูเขา รว มโครงการ โครงการศูนยฝก อาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชีพการทําบายศรใี นรูปแบบตา งๆ คณะผจู ดั ทาํ

บทที่ 1 บทนํา 1. หลักการและเหตุผล แผนการศึกษาแหงชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2560 - 2574) กําหนดวิสัยทัศนใหคนไทยไดเรียนรู ตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ โดยจุดมุงหมายที่สําคัญของแผนคือ การมุงเนนการประกันโอกาส และความเสมอภาค ทางการศกึ ษา การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน การศึกษา และการศึกษาเพอ่ื การมงี านทาํ และสรา งงานไดภ ายใต บริบท เศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกท่ีขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม และความคิดสรางสรรค รวมท้ังมี ความเปนพลวัต ภายใตสังคมแหงปญญา สังคมแหงการเรียนรู และการสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู ตามศักยภาพสําหรับประชากรทุกชวงวัย ตั้งแตเกิดจนตลอดชีวิต ท่ีประชาชนสามารถแสวงหาความรูและเรียนรู ไดดว ยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต และมีเปาหมายของการพัฒนาการศกึ ษา 5 ประการ ไดแกการเขา ถึง ความ เทาเทียม คุณภาพ ประสิทธิภาพ และการตอบโจทยบริบทท่ีเปล่ียนแปลง ภายใตบริบทเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศและของโลกท่ีเปนพลวัต ซ่ึงกําหนดวิสัยทัศน จุดมุงหมาย ความคาดหวัง เปาหมาย สุดทายของแผน หลกั การ/แนวคดิ และยทุ ธศาสตร/ มาตรการ เพื่อการบรรลุเปาหมายใหพ ลเมอื งสามารถแสวงหาความรแู ละเรียนรู ไดด ว ยตนเองอยา งตอเน่อื งตลอดชวี ิต จากผลการประชาคม ประชาชน มีความตองการในการฝกทักษะอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบ ตา งๆ ศูนยการเรียนชมุ ชน กศน.ตําบลกระโทก ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอโชคชัย ตระหนักถึงความสําคัญดังกลาว จึงไดจัดโครงการ หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบตางๆ จํานวน 10 ช่ัวโมง เพ่ือฝกทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถ สรางรายไดใหม่ันคง และย่ังยืน แกไขปญหาและพัฒนา คุณภาพชวี ิตเสรมิ สรา งความเขม แขง็ ใหก บั ชุมชน 2. วตั ถปุ ระสงค เพือ่ ใหป ระชาชนในเขตพ้นื ที่ตําบลกระโทก ไดรับความรู ทักษะ การทําบายศรีในรูปแบบตางๆ และสามารถนําไปใชในชีวติ ประจําวัน สามารถรายจาย ใหกบั ตนเองและครอบครวั แกไขปญหาและพัฒนา คณุ ภาพชีวิตเสริมสรา งความเขม แข็งใหกับชุมชน 3. เปาหมาย 3.1 เชิงปรมิ าณ ประชาชน ในตาํ บลกระโทก อาํ เภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสีมา จาํ นวน 6 คน 3.2 เชิงคณุ ภาพ ประชาชนทเ่ี ขารวมโครงการฯ รอ ยละ 90 มคี วามรู ทกั ษะการทําบายศรีในรูปแบบตางๆ สรา งรายได ลดรายจาย ใหต นเองและครอบครวั โครงการศนู ยฝ กอาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทําบายศรีในรปู แบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชัย ประจําปง บประมาณ 2565 1

4. ผรู ับผิดชอบโครงการ ครู กศน.ตําบล - นางสาวรจนา ขวญั เกตุ ครู อาสาสมัคร กศน. ครู อาสาสมัคร กศน. - นายสมชาย มุงภกู ลาง - นางจงรกั ษ เชอ่ื ปญญา 5. เครือขา ย - สํานกั งานเกษตรอาํ เภอโชคชัย - ภูมิปญญาทองถ่ิน 6. โครงการที่เกยี่ วของ โครงการทําบายศรจี ากใบตอง 7. ผลลพั ธ (Outcome) ประชาชนท่ีเขารว มโครงการฯ ท่ีสนใจอาชพี ไดรบั การพัฒนาความรู ทกั ษะ การทาํ บายศรใี นรูปแบบ ตา งๆ สามารถนําไปประกอบอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตเสริมสรางความเขมแข็งใหก ับชมุ ชน การสรา งรายได ลดรายจา ยใหต นเองและครอบครวั 8. ดัชนีชว้ี ดั ผลสาํ เรจ็ ของโครงการ 8.1 ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ ( Outputs ) ประชาชนในตําบลกระโทก จํานวน 6 คน มคี วามรู ทกั ษะการทาํ บายศรีในรปู แบบตางๆ 8.2 ตวั ชว้ี ัดผลลพั ธ ( Outcomes ) ประชาชนท่เี ขา รวมโครงการฯ รอยละ 90 นําความรู ทกั ษะการทําบายศรีในรูปแบบตา งๆ สามารถสรา งรายได ลดรายจา ย ใหตนเองและครอบครวั 9. การประเมินผล - สังเกตการมีสว นรวม - แบบประเมินโครงการฯ โครงการศูนยฝ กอาชพี ชมุ ชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบตางๆ | กศน.อําเภอโชคชยั ประจําปงบประมาณ 2565 2

บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวของ ในการจัดทํารายงานคร้ังนี้ไดทําการศึกษาคน ควาเนื้อหาจากเอกสารการศึกษาและงานวิจัยที่ เก่ียวของ ดังตอ ไปน้ี 1. ขนบธรรมเนยี มบายศรสี ูขวัญ 2. ขนิดของบายศรี 3. พิธกี รรมท่ีใชบายศรเี ปน องคประกอบสาํ คัญ 1. ขนบธรรมเนียมบายศรสี ูขวญั พิธีบายศรีสูขวัญตามวัฒนธรรมอสี าน หรือภาษาทองถิ่นดั้งเดิมอสี าน เรียกวา “บาศรีสูตรขวัญ” เปนประเพณีดั้งเดิมท่ีเชื่อวาจะเปนสิริมงคล เกิดความสวัสดีกับผูรับขวัญหรือเจาของขวัญ เดิมทีเขาใจวา จะทํากันในหมูชนชั้นเจานายผูใหญเพื่อใหเกิดสิริมงคล เปนประเพณีของพราหมณ เน่ืองจากบรรพบุรุษของชาว อีสานไดผานการนับถือท้ังธรรมชาติ ศาสนาพราหมณ และศาสนาพุทธมา จึงมีการเลือกสรรเอาสวนท่ีดีมาปรับใช และไดยึดถือปฏบิ ตั เิ ปนประเพณีสําคญั อยา งหนงึ่ ของชาวอสี านสืบมาตราบเทาปจ จุบนั การบายศรีสูขวญั นอกจากภาคอสี านแลว ยงั มีการปฏบิ ัติในภาคอืน่ ๆ ของไทยดวย นิยมทํากันในแทบทุก โอกาส ทั้งในคราวประสบโชคและประสบเคราะห คราวท่ีตองพลัดพรากจากไกล คราวกลับมาสูถิ่นฐานบานเกิด คราวที่เจา นายหรอื พระสงฆผ ูใหญม าเยอื น คราวท่ีมีการเปลยี่ นแปลงสําคญั ในชวี ติ เชน การบวช การแตง งาน การ เขา รับราชการทหาร การไดงานใหม การไดเ ลื่อนขัน้ เลอ่ื นตาํ แหนงท่สี ูงข้นึ ตลอดท้ังคราวเจบ็ ไขไดปวย เปนตน “ขวัญ” เปนส่ิงท่ีไมมีตัวตน แตเชื่อวา มอี ยูประจําตัวของคนและสัตวมาแตกาํ เนิด ถาขวัญของผูใด อยูกับ เนอ้ื กับตัว ผูนั้นจะมแี ตความสุขกายสบายใจ แตถ า ขวัญของผูใดหลบลี้หนหี าย ผูน้นั จะมีลกั ษณะอาการตรงกนั ขา ม ขวัญจึงมหี นาท่ีรักษาประคับประคองชวี ิตและตดิ ตามเจาตัวไปทุกหนทุกแหง การทําพิธีสขู วัญจึงเปนการเชญิ ขวัญ ใหอยูกับเนื้อกับตัว ซึ่งนอกจากจะทําใหอยูดีมีสุขแลวยังจะสงเสริมใหมีกําลังใจที่เขมแข็ง มีสติไมประมาท ชาว อีสานนิยมเรียกส่ิงที่เปนที่รักและเสริมสิริมงคลแกตนวา “ขวัญ” เชน ลูกแกวเมียขวัญ ชางขวัญ มาขวัญ เพ่ือน ขวัญ ของขวญั เปนตน และเรียกผูท่ีรูวิธีทําขวัญวา หมอขวัญหรือหมอพราหมณ เรียกวธิ ีเรียกขวัญใหมาอยูกับตัว วา สูขวัญ เรียกการสวดหรือสูตรในพิธีกรรมสูขวัญของพราหมณวา สตู รขวัญ เรียกเครอื่ งใชในพิธสี ูข วัญวา บายศรี ซึ่งทําดวยใบตองกลวยเย็บเปนกรวยเรียงกันประดับดวยดอกไมสด เชน ดอกดาวเรือง ดอกมะลิ ดอกบานไมรูโรย ดอกจําปาขาว (ดอกล่ันทม) จัดเปนระเบียบอยูบนพานหรือโตก ปกตินิยมจัดดวยพานทองเหลือง หมอพราหมณ บางทานใหแยกพาขวัญสําหรับใสเครื่องใชประจําตัวของผูเขาพิธีสูขวัญ อันไดแก กระจกสองหนา หวี เสนผมตัด จากศีรษะเล็กนอย เล็บ ผาขาวและเครื่องประดับอื่น ๆ ตางหาก สวนพานบายศรีจะใสธูปเทียน ขนมไทย ผลไม นิยมเปนกลวยนํ้าวา และเสนดายไวสําหรับผูกขอมือ (ผูกแขน) โดยมีการวางไวอยางเปนระเบียบตามชองดอกไม แตโดยทว่ั ไปจะใชเพยี งพานเดียวรวมเรยี กวา พาขวัญ หรือพานบายศรี โครงการศนู ยฝ กอาชพี ชุมชน หลักสูตรอาชพี การทาํ บายศรใี นรูปแบบตางๆ | กศน.อําเภอโชคชยั ประจาํ ปง บประมาณ 2565 3

เมื่อเตรียมทุกอยางเรียบรอยแลว การสูตรหรือสวดเชิญขวัญจะเร่ิมขึ้น ทุกคนจะนั่งพับเพียบลอมวงหันหนาเขาสู พาขวญั ผูที่เปน เจาของขวญั จะเอามือขวาจับพาขวัญ พอแมญาติผใู หญท่เี คารพนับถอื จะนง่ั อยทู างดา นเหนือ ผูรับ ขวัญมิตรสหายหรอื แขกในงานจะนัง่ ดา นใต และรว มกันยกพาขวัญข้ึนตอนเริม่ พธิ ี หมอทําขวญั จะต้ังจิตอธิษฐานให เจาของขวัญมีความสุขความเจริญแลวสวดเปนภาษาบาลี ซ่ึงมีความหมายวา ขออันเชิญเทวดาผูเปนใหญ มีทาว สักกะ พระอินทร พระพรหม และเทพาอารักษทั้งหลายที่อยู ณ อาณาบริเวณน้ีมาชุมนุมอวยพรใหเจาของขวัญมี ความสุขสวัสดี คําสวดหรือสูตรขวัญจะเปลย่ี นไปตามวัตถุประสงคของการสขู วัญแตละครง้ั วา สูขวัญเนื่องในโอกาส อะไร สขู วัญใหใ คร ในขณะเดยี วกันผูร บั ขวญั และบุคคลอื่น ๆ นง่ั สงบเงียบ มกี ารเปลง เสียงรบั ขวัญเปน ชว ง ๆ ตอน ท่ีหมอขวัญสวดวา “มาเดอขวัญเอย” เม่ือสวดจบจะมีการเจิมดวยนํ้าสุรา ภาษาทองถ่ินเรียกวา ฟายเหลา ที่มือผู รับขวัญ เม่ือฟายเหลาเสร็จ หมอพราหมณก็จะผูกขอมือใหคนรับขวัญเปนคนแรก ตอไปจะเปนพอแมญาติผูใหญ และแขกที่มารวมงานตามลําดับ ขณะผูกขอมือ ผูรับขวัญตองหงายมือท่ีผูกข้ึน มืออีกขางหน่ึงยกข้ึนทาพนมมือ เสมออก เพื่อเปนการเคารพขวัญและรับคําอวยพร การผูกขอมือตองหยิบไขไก หรือขนม ขาวสุกจากพาขวัญมา วางบนมือเจาของขวัญดวย เมื่อผูกขอมือเสร็จทุกคนแลว จึงมีการเล้ียงขาวปลาอาหารกันตามที่จัดไวจนอิ่มหนํา สาํ ราญก็เปน อนั เสรจ็ พธิ ี การสูขวัญ เปนเรื่องเก่ียวกับขวัญและกําลังใจ ซ่ึงบรรพบุรุษของชาวอีสานไดเห็นความสําคัญของจิตใจ มาก การดําเนินชีวิตแทบทุกอยางตองอาศยั พลังทางจิตเพ่ือจะไดชวยใหมีจิตใจท่ีเขมแข็ง มีสติสัมปชัญญะท่ีมั่นคง ซ่ึงจะกอใหเกิดปญญาและความมุงมั่นทุมเทไปสูเปาหมาย สามารถเอาชนะฟนผาอุปสรรคที่อาจจะเกิดข้ึน จึงถือ เปน มรดกภูมิปญ ญาทางวฒั นธรรมทคี่ วรถอื ปฏบิ ัตสิ บื ทอดกันตอ ไป พธิ บี ายศรสี ขู วญั ไดร บั การขึ้นบัญชีมรดกภมู ิปญญาทางวฒั นธรรมของชาติ ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๖ 2. ชนิดของบายศรีที่ใชใ นพธิ ี บายศรีนําไปใชในพิธีตางๆ ซึ่งสวนใหญเปนประเพณีท่ีเก่ียวขอ งกับวิถีชวี ิต แมแตพิธีที่เก่ียวของกับการทํา มาหากิน การทําขวญั เชน ทาํ ขวัญนาค ทําขวัญเดือน ทําขวญั แตงงาน ฯลฯ การบวงสรวงสงั เวย เชน ต้ังศาลพระ ภูมิ วางศิลาฤกษ บวงสรวงเทวดาอารักษ บูชาครู ไหวครูชาง ไหวครูศิลปน และการสมโภชในโอกาสตางๆ เชน สมโภชฉลองพระพุทธรูป ทําขวัญชาง ทําขวัญกระบือ ทําขวัญขาว ทําขวัญนา ทําขวัญแมโพสพ พิธีเหลานี้ใช บายศรีเปนเครื่องประกอบพิธีกรรมทั้งสิ้น เน่ืองจาก บายศรีมีท้ัง บายศรีปากชามและบายศรีตน การเลือกใช บายศรชี นิดใดและโอกาสใดน้นั มกั นิยมปฏบิ ตั ิสบื ตอ กนั เปน แบบแผนประเพณี โดยมขี อ สังเกตงายๆ คอื 2.1 บายศรปี ากชาม มักใชในพิธีทําขวัญกันภายในครัวเรือนอยางเรียบงาย ไมใชงานใหญ เชน การทําขวัญเด็กแรกเกิด ทํา ขวญั เดือน หรือใชเปน เครอื่ งบวงสรวงสังเวยเทวดา เชน การต้งั หรอื การถอนศาลพระภมู ิ 2.2 บายศรตี น หรือบายศรีใหญ มักใชเปนเครื่องบูชาเทพยดาตามลัทธิพราหมณ หรือใชในงานทําขวัญที่เปนงานชุมนุมชนหรืองานใหญ ครึกครนื้ เชน ทําขวัญนาค โกนจุก สมโภชในการฉลองพระพุทธรูป ฉลองสมณศักดิ์ นอกจากนี้ยังใชในการไหวครู อีกดว ย อน่ึง บางงานหรอื บางพิธีอาจใชท ัง้ บายศรปี ากชามและบายศรีตน ควบคูกนั ไปดวยกไ็ ด โครงการศนู ยฝกอาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทําบายศรีในรปู แบบตางๆ | กศน.อําเภอโชคชัย ประจําปงบประมาณ 2565 4

3. พิธกี รรมที่ใชบ ายศรเี ปน องคประกอบสาํ คัญ ไดแ ก 3.1 การทําขวัญ บายศรีถือเปนองคประกอบสําคัญที่บางทองถิ่นใชในการทําขวัญ คนไทยมีความเชื่อวา ขวัญเปนส่ิงที่มี ความสําคัญมาก จึงตองมีพิธีกรรม เพ่ือไมใหขวัญหนีไปจากตัว และเชื่อวา เม่ือขวัญหนีไป ก็ตองทําพิธีกรรมเรียก ขวัญ หรือรับขวัญ ใหกลับมาอยกู ับตัว เม่ือมีการเจ็บไขไดป วย หรือมีผูมาเยอื น ก็จะมีการทําขวัญเพื่อความเปนสิริ มงคลทั้งสิ้น เชน ทําขวัญ ๓ วัน ใชบายศรีปากชาม ทําขวัญเดือน โกนจุก ใชบายศรีปากชามหรือบายศรีตน แลวแตฐานะของเจา ภาพ และขนาดของพิธี ทําขวญั นาค ใชบายศรตี น ยอดบายศรี มักเปน บายศรปี ากชาม ทําขวัญแตงงาน ในภาคเหนือและภาคอีสานนิยมทําขวัญแตงงาน สวนภาคกลาง ไมนิยม ทําขวัญสัตว ส่ิงของ ใช บายศรีปากชาม 3.2 การบวงสรวงสงั เวย การบวงสรวงสังเวยเปนพธิ ีกรรมอยา งหนง่ึ ที่มนษุ ยใ ชในการบําบวง เซน ไหว และสงั เวยสง่ิ ศักดสิ์ ิทธห์ิ รอื สิ่ง ที่ตนเคารพนับถือ เพ่ือชวยดลบันดาลใหประสบกับโชคลาภ ความผาสุก และความสําเร็จในกจิ การท้ังปวง ในการ บวงสรวงสังเวย จะตองมีเครื่องสังเวยบูชาเปนโภชนาหารตางๆ โดยตองมีบายศรีเปนองคประกอบหลัก การ บวงสรวงจึงเปนการบอกกลาวเทวดา อัญเชิญมารวมในพิธีและเสวยอาหารในบายศรีและเครื่องสังเวย การ บวงสรวงสังเวย จะมีทั้งพระราชพิธีที่เก่ียวเน่ืองกับ พระมหากษัตริย และพิธีที่ราษฎรจัดทําข้ึน ในการบวงสรวง ของราษฎรมักใชบ ายศรปี ากชาม เครื่องบวงสรวงสังเวย ไดแ ก โภชนาหารทมี่ พี วกเนือ้ สตั ว ที่เรยี กวา เครื่องมัจฉมัง สาหาร เชน หัวหมู เปด ไก กุง ปู ปลา ซ่ึงสวนใหญตมสุกแลว และพวกท่ีไมปรุงดวยเนื้อสัตว เรียกวา เครื่อง กระยาบวช เชน มะพราวออน กลวยน้ําไท ขนมตมแดง ขนมตมขาว เผือกตม มันตม แกงบวด ถั่ว งา และนมเนย ถาเปนบายศรีในศาลพระภูมิตองมีไขตมสุกอีก ๓ ฟอง การทําพิธีบวงสรวงสังเวยของราษฎร เชน การบวงสรวง สงั เวยตง้ั หรอื ถอนศาลพระภูมิเจาท่ี ใชพราหมณหรือผูรเู ปน ผูประกอบพธิ ี แลว แตจะทําในโอกาสใด 3.3 พิธีบวงสรวง พิธีบวงสรวงของหลวงมักใชบายศรีตน ๓ ชั้น ไมใชบายศรีปากชามอยางของราษฎร เคร่ืองประกอบ บายศรีมีหัวหมู เปด ไก กุง ปู ปลาชอน แปะซะ ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมตมแดง ขนมตมขาว ไข เม่ียง สม ผลไม กลวยน้ําไท มะพราวออน เครื่องประกอบบายศรีเหลานี้ อาจงดเวนบางอยางก็ได ไมไดบังคับวา ตองมี ตามรายการนี้ทั้งหมด การทําพิธีนั้น พราหมณเปนผูทาํ พิธี โดยกลาวคําชุมนุมเทวดาและอานคาํ ประกาศบวงสรวง พิธีบวงสรวงของหลวงเปนพิธีใหญ และมักเก่ยี วกบั เรื่องของพระมหากษตั ริย เชน พธิ ีบวงสรวงสมเดจ็ พระนเรศวร มหาราช ที่อําเภอดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี พิธีบวงสรวงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ที่ เชงิ สะพานพระพทุ ธยอดฟา การบวงสรวงสงั เวยพระภมู ิเจาท่ี ทวี่ ังไกลกงั วล หวั หิน 3.4 การไหวครู การไหวครูท่ีตองใชบายศรี ไดแก การไหวครูของกลุมศิลปนและชางสาขาตางๆ งานชางศิลปกรรมน้ัน ลวนเปนส่ิงที่ตองสรางสรรค ดวยความประณีตและวิจิตรบรรจง งานชางบางอยางยุงยากซับซอน จะตองหาที่พึ่ง ทางจิตใจเพ่ือเสริมสรา งกําลังใจใหม่ันคง จึงจะสําเร็จลุลวงได สวนงานดานนาฏศลิ ปกเ็ ชน กนั มกี ารกาํ หนดขั้นตอน ไวเปนแบบแผน ทั้งยังยึดถือปฏิบัติ ดวยความเชื่อม่ันศรัทธา เพราะผูเรียนตองไดรับการถายทอดความรูจากงาย ไปสยู าก จากการเปนผูไมรไู ปสผู รู ู และยังนําความรูนัน้ ไปประกอบอาชีพ ดวยความมนั่ ใจ ทําใหมคี วามผกู พันและ ใหความสําคัญยกยองครูมาก ดังน้ัน การไหวครูของพวกชางและศิลปน จึงเปน การแสดงความกตัญูกตเวทีตอ ครู โครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทําบายศรีในรปู แบบตางๆ | กศน.อําเภอโชคชัย ประจาํ ปง บประมาณ 2565 5

ดวยความศรัทธาและเคารพอยางแทจริง เครื่องประกอบพิธีกรรมในการไหวครูชางและโขนละคร ประกอบดวย เคร่ืองบูชา เคร่ืองสังเวย ไดแก อาหารคาว-หวานตางๆ เคร่ืองกระยาบวช นอกจากน้ียังมีเครื่องมือชาง (ไหวครู ชาง) และหัวโขนละครตางๆ (ไหวครูโขนละคร) สิ่งที่ขาดไมไดคือ บายศรี สวนจะใชบายศรีชนิดใดน้ัน ข้ึนอยูกับ ฐานะของผูจัดและขนาดของพิธี หากเปนการไหวครูระดับธรรมดามักใชบายศรปี ากชาม ถามีการเวียนเทียนจะใช บายศรีตน ซึง่ จะมีกชี่ ้ันแลวแตจะกําหนด บายศรีเปนเครื่องสักการบูชาสําคัญในพิธีไหวครู ในการไหวครูดังกลาวนั้นมักประกอบพิธีดวยการบูชา เทวรูป สรงน้ําเทวรูป กลาวคําชุมนุมเทวดา อัญเชิญเทพเจา และครูผูลวงลับไปแลว มารวมพิธี รวมทั้งรวมรับ เครื่องสักการะและเครื่องสังเวย การประกอบพิธีกรรม เปนไปตามการไหวครูของศิลปะแตละประเภท และมีพิธี ครอบครู ซึ่งเปนพิธีการประกาศยอมรับความเปนศษิ ย ซ่ึงเปน โอกาส ท่ีจะฝกหัดวิชาการขนั้ สูงตอๆ ไป นอกจากน้ี ยงั มีบายศรีซ่งึ ใชสักการะเทพเจาชั้นพรหม ชน้ั เทพ ท่ีแพรหลายอยางกวา งขวางในปจจบุ นั พธิ ีไหวค รูมกั กระทาํ เปน ประจําป หรือกําหนดวัน-เวลาแตกตางกันไปในแตละสํานัก เชน ไหวครู ยกครู ในการประกอบพิธีดังกลาว อาจมี ทัง้ พิธีทางพระพุทธศาสนาและพิธพี ราหมณควบคูกันไปดว ย ท้ังนี้ เทากบั เปนการเช่ือมโยงพระพุทธศาสนา เขากับ คติความเชื่อของพราหมณ ซึ่งยังคงยึดถือและเช่ือม่ันไมเส่ือมคลาย พิธีไหวครูประจําปหรือสักการะส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ ดังกลาว นอกจากจะมีบายศรีตนอนั เปน บายศรีหลักแลว ยงั มีบายศรที ่ีประดิษฐข ้ึน เพ่ือบูชาเปนการเฉพาะ และมี บายศรบี รวิ ารอกี เปน จาํ นวนมาก ความยงิ่ ใหญอลังการข้ึนอยกู ับระดับความสาํ คัญของเทพเจา นัน้ ๆ 3.5 การสมโภช เปนงานฉลองในพิธีมงคลเพ่ือความร่ืนเริงยินดี การสมโภชสวนใหญจะเปนพิธีของหลวง เชน พระราชพิธี สมโภชขึ้นระวางชางสําคัญ พระราชพิธีสมโภชเดือนและข้ึนพระอู พระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป สวนการสมโภชของราษฎร ใชในพิธีสมโภชฉลองพระพุทธรูป ฉลองสมณศักดิ์ บายศรีท่ีใชในการสมโภชมีทั้ง บายศรีปากชามและบายศรีตน ในพิธีของหลวง ใชบายศรีแกว ทอง เงิน ตามแบบแผนท่ีมีการกําหนดไวในราช ประเพณี บางพธิ อี าจใชบายศรีตน และบายศรตี องรองทองขาว ควบคูไปดวย บายศรีนอกจากจะใชในโอกาสตางๆ ตามท่ีกลาวมาแลว ยังไดขยายวงกวางออกไป โดยนําไปสักการบูชา พระพุทธรูป หรือถวายแกบน ดังท่ีพบเห็นกันทั่วไปตามวัดวาอารามตางๆ จึงกลาวไดวา บายศรีเปนองคประกอบ สําคัญในพิธีกรรมการทําขวัญ บวงสรวงบูชาเทพยดา บูชาครู เพ่ือความเปนสิริมงคลแกตนเองหรือสวนรวม ทั้งน้ี เพราะบายศรจี ะนําไปใชเ ฉพาะในงานพธิ ี ท่เี ปน มงคลเทานน้ั จะไมใ ชใ นพธิ อี วมงคล โครงการศูนยฝกอาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชีพการทาํ บายศรใี นรูปแบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชัย ประจาํ ปงบประมาณ 2565 6

บทที่ 3 วิธกี ารดําเนนิ งาน การดาํ เนนิ งานโครงการศูนยฝกอาชพี ชมุ ชน หลกั สตู รอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบตางๆ คณะทาํ งานได ดําเนนิ งาน ดังน้ี 1. สํารวจกลมุ เปา หมาย ประชาชนในอาํ เภอโชคชัย จังหวดั นครราชสมี า จาํ นวน 6 คน 2. ประชุม/ชี้แจงวางแผนการดาํ เนินงานแกบุคลากร กศน.อําเภอโชคชยั เพ่ือกําหนดรูปแบบและ วางแผนการดําเนินงาน ในวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2564 ณ บานโบสถ หมูที่ 9 ตําบลกระโทก อําเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสมี า 3. จดั เตรียมเอกสาร/วัสดุอุปกรณ และประสานสถานท่ี เพ่ือเตรียมความพรอมดานเอกสารวัสดุ อปุ กรณ และสถานท่ี ในวนั ที่ 20 ธนั วาคม 2564 ณ ณ บานโบสถ หมทู ี่ 9 ตําบลกระโทก อําเภอโชคชัย จังหวัด นครราชสีมา 4. ดําเนินการจัดโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบตางๆ ระหวางวันที่ 22-23 ธันวาคม 2564 โดยมคี ณะวิทยากรใหความรู ดังน้ี 1. วิธีการทําบายศรี 1.1 อปุ กรณทใ่ี ชใ นการทาํ บายศรี การเตรียมวัสดุอุปกรณไวใหพรอม เปนการเตรียมการท่ีดี สามารถดําเนินงานไดดวยความ เรยี บรอ ยรวดเรว็ ซ่งึ มอี ปุ กรณท คี่ วรจะตอ งเตรยี มไวดงั ตอไปน้ี 1. ใบตอง (ควรใหใบตองกลวยตานี) 2. พานแวนฟา ขนาดเลก็ กลาง ใหญ ผูกตดิ กนั ไวดวยลวด และรองพน้ื พานดวยโฟม 3. ภาชนะปากกวา งสําหรบั ใสน้ําแชใบตอง 2 ใบ 4. สารสม 5. นํ้ามนั มะกอก ชนิดสีเหลอื ง หรอื ขาว 6. ไมป ลายแหลม (ขนาดไมเ สยี บลูกชิน้ ) ประมาณ 20-30 อัน 7. ดอกไม (ดอกพดุ ดอกดาวเรือง ดอกบานไมร โู รย ฯลฯ) 8. กรรไกร สําหรบั ตดั ใบตอง 9. ลวดเย็บกระดาษ 2. การเลือก และ การทําความสะอาดใบตอง ใบตองที่นํามาใชสําหรับทําบายศรี มักนิยมใชใบตองจากกลวยตานี เนื่องจากเปนใบตองที่มี ลักษณะเปนเงา มันวาว เมื่อโดนน้ําจะยิ่งเกิดประกายสีเขียวเขมสวยงามยิ่งขึ้น และท่ีสําคัญ ใบตองจากกลวยตานี โครงการศูนยฝ ก อาชีพชุมชน หลักสูตรอาชพี การทําบายศรใี นรูปแบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชยั ประจาํ ปงบประมาณ 2565 7

มคี วามคงทน ไมแตกงาย ไมเ ห่ียวงาย สามารถนํามาพับมวนเปน รปู ลักษณะตางๆไดงาย และสามารถเก็บไวไดน าน หลายวัน หรือถา รักษาโดยหมั่นพรมนา้ํ บอ ยๆ ใบตองกลวยตานี จะสามารถคงทนอยไู ดน านเปนสปั ดาหท ีเดยี ว เม่อื ไดใบตองกลว ยตานมี าแลว จะตอ งนํามาทําความสะอาดกอน ดวยการเชด็ โดยใชผ านุมๆ เช็ดฝุน ละอองและส่ิง สกปรกตางๆออกจากใบตองเสียกอน โดยการเช็ด จะตองใชผาเช็ดตามรอยของเสนใบไปในทางเดียว อยาเช็ด กลับไปกลับมา หรืออยาเช็ดขวางเสนใบเปนอันขาด เพราะจะทําใหใบตองเสียหาย มีรอยแตก และชํ้า ทําใหไม สามารถนําใบตองมาใชงานไดเต็มท่ี เม่ือเช็ดสะอาดดีแลว ก็ใหพับพอหลวมๆ เรียงซอนกันไวใหเปนระเบียบ เพื่อ รอนาํ มาใชง านในขน้ั ตอนตอไป 3. การฉีกใบตองเพ่อื เตรมี ทํากรวยบายศรี ใบตองท่ไี ดทาํ ความสะอาดเปน ทเี่ รียบรอยแลว หยิบมาทีละใบ แลวนํามาฉกี เพ่ือเตรียมไวสําหรับ มว นหรือพับ ทาํ กรวยบายศรี 4. การพับหรือฉกี ใบตอง แบงเปนสามประเภทคือ 1. ใบตองสาํ หรบั ทํากรวยแม ฉกี กวางประมาณ 2 นวิ้ ฟุต 2. ใบตองสาํ หรบั ทํากรวยลกู ฉกี กวา งประมาณ 2 นิว้ ฟตุ 3. ใบตองสาํ หรับหอ ฉีกกวา งประมาณ 1.5 นวิ้ ฟตุ ใบตองแตละประเภท ควรฉีกเตรียมไวใหไดจํานวนที่ตองการ กลาวคือ ถาทําพานบายศรี 3 ชั้น ช้ันละ 4 ทิศ ( 4 ริ้ว ) น่ันก็หมายถึงวาจะมีริ้วทั้งหมด 12 ริ้ว ในแตละร้ิว จะประกอบดวยกรวยแม 1 กรวย และ กรวยลูก 9 กรวย รวมท้ังส้ิน จะมีกรวยแม 12 กรวย และ กรวยลูก 108 กรวย นั่นเอง แสดงวาจะตองมีใบตองสําหรับทํากรวยแม 12 ชิ้น ใบตองสําหรับทํากรวยลูก 108 ช้ิน ใบตองสําหรับหอ 120 ชิ้น นั่นเอง แตใบตองสําหรับหอ จะตองเตรียม ไวเพ่ือหอร้ิวอีก คือใน 1 ร้ิวจะประกอบไปดว ย กรวยแม 1 กรวย กรวยลูก 9 กรวย ซึ่งจะตอ งมาหอรวมกัน ดังนั้น จึงตองเพ่ิมใบตองสําหรับหอ อีก 120 ช้นิ รวมเปน ใบตองสําหรับหอ 240 5. การพบั กรวย และหอ กรวย การพับหรือหอกรวย หมายถึงการนําใบตองที่ฉีกเตรียมไวแลวสําหรับพับกรวย มาพับ โดยการ พับกรวยแมและกรวยลูกจะมีลักษณะวิธีการพับเหมือนกัน คือ การนําใบตองมาพับมวนใหเปนกรวยปลายแหลม เพียงแตกรวยลูกจะมีการนําดอกพุด มาวางเสียบไวที่สวนยอดปลายแหลมของกรวยดวย เมื่อพับหรือมวนใบตอง เปนกรวยเสร็จในแตละกรวยแลว ใหนําลวดเย็บกระดาษ มาเย็บใบตองไวเพ่ือปองกันใบตองคลายตัวออกจากกัน แลว เก็บกรวยแตละประเภทไวจ นครบจํานวนทตี่ องการเมื่อไดกรวยแตละประเภทครบตามจาํ นวนทีต่ องการแลว ก็ นํากรวยทีไ่ ดมาหอ โดยการนาํ ใบตองทีฉ่ ีกเตรียมไวสาํ หรับหอมาหอกรวย หรือเรียกอกี อยางวา หมผา หรือ แตง ตัว ใหกรวยบายศรี สว นวิธกี ารหอ ศึกษาไดจากภาพยนตรท แี่ สดงใหช ม ตอนที่ 6 การหอ ร้ิวบายศรีและการแชน ํ้า โครงการศูนยฝ ก อาชีพชมุ ชน หลกั สูตรอาชีพการทําบายศรีในรปู แบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชัย ประจําปงบประมาณ 2565 8

การหอร้ิวบายศรี คือการนํากรวยแม และ กรวยลูกที่ไดหอกรวยไวเรียบรอยแลว มาหอมัดรวมเขาไวดวยกัน ท่ี นยิ มทํากัน ใน 1 ร้วิ จะประกอบดว ย กรวยแม 1 กรวย กรวยลกู 9 กรวย 6. วธิ ีการหอ รวิ้ มกี ารหอ คลา ยกับการหอกรวยแมห รือกรวยลูก แตจะแบง วิธีตามลกั ษณะงานทไ่ี ดเปน 2 วิธี คอื 1. หอแบบตรง คือการหอโดยเริ่มตนจากกรวยแม แลววางกรวยลูกไวดานบนกรวยแมเปนช้ันๆทับกัน ข้ึนมา หรือหันกรวยลูกเขาหาตัวผูหอ การหอแบบน้ี จะไดริ้วบายศรีคอนขางตรง และในชวงตัวร้ิว จะมีรอยหยัก ของใบตองหอ เรียกวา มีเกลด็ 2. หอ แบบหวาน คือการหอ โดยเริม่ ตนจากกรวยแม แตวางกรวยลูกไวดานลางของกรวยแม และวางซอ น ลงดานลางลงไปจนครบ หรือหันกรวยแมเขาหาตัวผูหอ โดยวางกรวยลูกลงดานลางจนครบนั่นเอง การหอแบบนี้ จะไดริ้วบายศรีเปนลักษณะออนชอย งอน ออนหวาน เมื่อหอร้ิวจนเสร็จในแตละริ้วแลว จึงนําริ้วท่ีไดลงแชในนํ้า ผสมสารสมท่ีเตรียมไวประมาณ 20 นาที เพื่อใหใบตองเขารูปทรง อยูตัวตามท่ีไดพับและหอ จากนั้น จึงนําไปแช ในน้ําผสมน้ํามันมะกอกตอไป เพื่อใหริ้วมีความเปนมันวาว เนนสีเขียวเขมของใบตองมากขึ้น และมีกลิ่นหอมใน ตัวเอง 7. การประกอบพานบายศรี การประกอบพานบายศรี ถือเปนข้ันตอนสดุ ทายในการทําบายศรี คือการนําริว้ ท่ีทําเสรจ็ แลวและแชใ นน้ํา ผสมน้ํามันมะกอกแลว มาประกอบเขากับพานบายศรี 3 ชั้นที่ไดเตรียมไวการน้ําริ้ว มาประกอบกับพาน ควร เร่ิมตนจากพานใหญสุด หรือพานท่ีวางอยูช้ันลางสุดกอน โดยการวางใหริ้วอยูบนพานใหมีระยะหางเทาๆกัน 4 ริ้ว ( 4 ทิศ ) ซึ่งจะยึดริ้วติดกับพานโดยใชไมปลายแหลมท่ีเตรียมไวแลว มากลัด หรือเสียบจากดานบนของริ้วใหทะลุ ไปยดึ ตดิ กับโฟมท่รี องไวบนพน้ื พานการประกอบร้ิวกบั พานช้นั กลาง และช้ันบนสดุ กใ็ ชวธิ เี ดยี วกัน แตจ ะตองใหร ิ้ว ช้นั ที่ 2 วางสลับกับร้ิวช้ันแรก และรวิ้ บนพานช้ันบนสุด ก็ใหสลับกบั ร้ิวบนพานชั้นกลาง การประกอบริ้วกับพานช้ัน บนสุด ใหห อใบตองเปนกรวยขนาดใหญพอควรวางไวเ ปนแกนกลางของพาน เมื่อวางร้ิวท้ัง 4 ร้ิวเสร็จแลว ใหรวบ ปลายสุดของริ้วทั้ง 4 เขาหากัน โดยมีกรวยท่ีทําเปนแกนกลางอยูดานใน แลวนําใบตองมวนเปนกรวยขนาดใหญ อีกกรวย มาครอบทับยอดทั้ง 4 ของรว้ิ ไว ซ่ึงจะทําใหพานบายศรที ี่ได มียอดแหลมท่ีสวยงามและมั่นคง จากนั้นจึง นําใบไม (สวนใหญจะนําใบไมที่มีช่อื เปนมงคล เชน ใบเงนิ ใบทอง ) มาวางรองบนพาน เพื่อปกปดไมใ หมองเห็นโฟ มท่ีรองพ้ืนพาน และนําดอกไมสีสด เชน ดอกบานไมรโู รย หรอื ดอกดาวเรือง มาประดับบนพานเพ่ิมความสวยงาม หรือทํามาลัย สวมบนยอด หรือทําเปนอุบะรอยรอบพานแตละช้ัน ก็จะเพิ่มสีสัน และความสวยงามใหแกพาน บายศรมี ากขึน้ โครงการศูนยฝกอาชพี ชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาํ บายศรีในรปู แบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชัย ประจําปง บประมาณ 2565 9

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข อ มลู การวิเคราะหขอมูลครั้งน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินผลกิจกรรม โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตร อาชีพการทําบายศรีในรูปแบบตางๆ จากผูตอบแบบประเมิน จํานวน 6 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวม ขอ มูล คอื แบบประเมนิ โครงการ ไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมลู ในแบบตารางความถ่ี คาเฉล่ีย และคาเบย่ี งเบน มาตรฐาน (Standard deviation) ซึง่ ใชโ ปรแกรม SPSS เพอื่ วิเคราะหค า สถติ ทิ ้ังหมด ดังมีรายละเอยี ดตอ ไปนี้ ตอนท่ี 1 ขอมลู สว นตวั ของผตู อบแบบประเมินโครงการ โดยการแจกแจงความถแี่ ละคารอยละของตวั แปร ตอนท่ี 2 ผลการประเมินกจิ กรรมโครงการ โดยการแจกแจงคา เฉลยี่ คา เบ่ียงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 3 ความคดิ เห็นและขอเสนอแนะอืน่ ๆ ตอนที่ 1 วเิ คราะหข อมูลสวนตวั ของผูตอบแบบประเมินโครงการ โดยการแจกแจงความถแ่ี ละคารอยละของ ตวั แปร ขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบประเมินโครงการ ที่เขารวมกิจกรรมตาม โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสตู รอาชีพการทาํ บายศรีในรูปแบบตางๆ โดยการแจกแจงความถแ่ี ละคา รอ ยละของตัวแปร ดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 จํานวน และคารอยละ ของผูตอบแบบประเมินโครงการ จําแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ (N=6) ขอมูลสว นตัว จํานวน รอยละ 1. เพศ ชาย -- หญงิ 6 100.00 รวม 6 100 2. อายุ 15 – 29 ป -- 30 – 49 ป 1 16.67 มากกวา 50 ปขนึ้ ไป 5 83.33 รวม 6 100 3. ระดับ ประถม 6 100.00 การศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน -- มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย - - รวม 6 100 โครงการศนู ยฝก อาชพี ชมุ ชน หลกั สูตรอาชีพการทําบายศรีในรปู แบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชยั ประจาํ ปงบประมาณ 2565 10

4. อาชพี ขอมูลสวนตัว จํานวน รอยละ เกษตรกร 4 66.66 คา ขาย - รับราชการ - - พนักงานของรัฐ รฐั วสิ าหกจิ - - ธรุ กจิ สว นตัว 1 - รบั จาง 1 16.67 วางงาน - 16.67 รวม 6 - 100 หมายเหตุ : * หมายถงึ ขอ มลู สวนใหญ จากตารางท่ี 1 พบวา ผูตอบแบบประเมินโครงการ จํานวน 6 คน เปน เพศหญิง จํานวน 6 คน คิดเปน รอยละ 100.00 สวนใหญมีอายุมากกวา 50 ปข้ึนไป จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 83.33 รองลงมา คือ อายุ 30-49 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 16.67 สวนใหญศึกษาระดับ ประถมศึกษา จํานวน 6 คน คิดเปน รอยละ 100.00 สําหรับอาชีพสวนใหญ คือ เกษตรกร จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 66.66 รองลงมา คือ รับจาง จํานวน 1 คน คดิ เปนรอ ยละ 16.67 และ ธุรกจิ สว นตัว จาํ นวน 1 คน คดิ เปนรอยละ 16.67 ตอนที่ 2 วเิ คราะหผลการประเมินกจิ กรรม โครงการศูนยฝกอาชีพชมุ ชน หลกั สตู รอาชพี การทําบายศรใี น รปู แบบตางๆ โดยการแจกแจงคาเฉลี่ยคา เบี่ยงเบนมาตรฐาน การจําแนกระดับ ผลการประเมินโครงการ แบบมาตรฐานประมาณคา (Rating Scale) มี 5 ระดับ ดังนี้ 5 คะแนน คอื ระดับผลการประเมนิ มากที่สุด 4 คะแนน คอื ระดบั ผลการประเมินมาก 3 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมินปานกลาง 2 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมินนอย 1 คะแนน คอื ระดับผลการประเมินนอยทีส่ ุด N คือ จาํ นวนผตู อบแบบประเมิน X̅ คอื ระดับคาเฉล่ยี ผลการประเมิน S.D. (Standard deviation) คอื คาเบย่ี งเบนมาตรฐาน คา เฉลยี่ ระดบั ผลการประเมินของผตู อบแบบประเมนิ โครงการ คาเฉล่ยี 4.50 – 5.00 คะแนน หมายถึง มผี ลการประเมินอยใู นระดับมากทีส่ ดุ คา เฉล่ยี 3.50 – 4.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมินอยูในระดบั มาก คา เฉล่ยี 2.50 – 3.49 คะแนน หมายถงึ มผี ลการประเมนิ อยูในระดับปานกลาง โครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชมุ ชน หลกั สูตรอาชพี การทําบายศรใี นรปู แบบตางๆ | กศน.อําเภอโชคชยั ประจําปงบประมาณ 2565 11

คา เฉลี่ย 1.50 – 2.49 คะแนน หมายถึง มผี ลการประเมินอยใู นระดับนอย คาเฉลีย่ 1.00 – 1.49 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมินอยใู นระดบั นอยทส่ี ุด ตารางท่ี 2.1 คาเฉลี่ย คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมนิ กิจกรรม โครงการศนู ย ฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาํ บายศรีในรปู แบบตา งๆ ของผตู อบแบบประเมินโครงการ ในภาพรวม และรายดา น รายการ N=6 ระดบั ผลการประเมิน X� S.D. 1. ความพึงพอใจดา นเน้อื หา 4.46 0.54 มาก 2. ความพึงพอใจดา นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 4.70 0.39 มากทีส่ ุด 3. ความพึงพอใจตอ วิทยากร 4.28 0.80 มาก 4. ความพึงพอใจดานการอํานวยความสะดวก 4.44 0.64 มาก รวม 4.47 0.59 มาก จากตารางที่ 2.1 พบวา โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบตางๆ มีผล การประเมินโครงการในภาพรวม อยูในระดับมาก (X�=4.47) เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ความพึงพอใจ ดานกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยูในระดับมากท่ีสุด (X�=4.70) รองลงมาคือ ความพึงพอใจดานเนื้อหา อยูในระดับมาก (X�=4.46) ความพึงพอใจดานการอํานวยความสะดวก อยูในระดับมาก (X�=4.44) และความ พงึ พอใจตอ วทิ ยากร อยูในระดบั มาก (X�=4.28) ตามลาํ ดบั ตารางที่ 2.2 คา เฉลยี่ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกิจกรรม โครงการศูนยฝก อาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชีพการทําบายศรใี นรปู แบบตา งๆ ของผูต อบแบบประเมินโครงการ ความพึงพอใจ ดานเน้อื หา รายการ N=6 ระดับผลการประเมนิ ความพึงพอใจดานเนือ้ หา X� S.D. 1. เน้ือหาตรงตามความตอ งการ 4.50 0.55 มากทสี่ ุด 2. เนื้อหาเพียงพอตอความตองการ 4.50 0.55 มากท่สี ุด 3. เนอื้ หาปจจบุ นั ทนั สมัย 4.33 0.52 มาก 4. เน้ือหามีประโยชนต อการนาํ ไปใชใ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ 4.50 0.55 มากท่สี ดุ รวม 4.46 0.54 มาก จากตารางที่ 2.2 พบวา โครงการศนู ยฝ กอาชีพชมุ ชน หลกั สตู รอาชพี การทาํ บายศรีในรูปแบบตางๆ ใน ดา นหลักสูตร มีผลการประเมินอยใู นระดบั มาก (X�=4.46) เมอื่ พจิ ารณาเปนรายขอพบวา เน้ือหาตรงตามความ โครงการศูนยฝ กอาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรใี นรปู แบบตางๆ | กศน.อําเภอโชคชัย ประจําปง บประมาณ 2565 12

ตอ งการ, เน้ือหาตรงตามความตอ งการ และเนื้อหามีประโยชนต อการนาํ ไปใชในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ มผี ลการ ประเมินอยใู นระดบั มากทีส่ ุด (X�=4.50) รองลงมาคือ เนือ้ หามีประโยชนตอการนาํ ไปใชใ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ มี ผลการประเมนิ อยูในระดบั มาก (X�=4.33) ตามลําดับ ตารางท่ี 2.3 คาเฉล่ีย คา เบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกจิ กรรม โครงการศูนยฝก อาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาํ บายศรใี นรปู แบบตา งๆ ของผูต อบแบบประเมินโครงการ ความพึงพอใจ ดานกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม รายการ N=6 ระดบั ผลการประเมิน X� S.D. ความพึงพอใจดานกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5. การเตรียมความพรอมกอนอบรม 4.83 0.41 มากทส่ี ุด 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค 5.00 0.00 มากท่ีสุด 7. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4.67 0.52 มากที่สุด 8. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ เปา หมาย 4.33 0.52 มาก 9. วิธีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค 4.67 0.52 มากท่สี ดุ รวม 4.70 0.39 มากทสี่ ุด จากตารางที่ 2.3 พบวา โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบตางๆ ใน ความพึงพอใจดานกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม มีผลการประเมินอยูในระดับมากที่สุด (X�=4.70) เมื่อ พจิ ารณาเปนรายขอพบวา การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค มผี ลการประเมินอยูในระดับมากทส่ี ุด (X�=4.50) รองลงมา คือ การเตรยี มความพรอมกอนอบรม มีผลการประเมินอยูในระดับมากที่สุด (X�=4.83) การ จัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา, วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค มีผลการประเมินอยูในระดับ มากท่ีสุด (X�=4.67) และการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย มีผลการประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.33) ตามลาํ ดบั โครงการศนู ยฝกอาชีพชมุ ชน หลกั สูตรอาชพี การทาํ บายศรีในรูปแบบตางๆ | กศน.อําเภอโชคชยั ประจําปงบประมาณ 2565 13

ตารางที่ 2.4 คา เฉล่ยี คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชีพการทําบายศรใี นรปู แบบตางๆ ของผตู อบแบบประเมนิ โครงการ ความพึงพอใจตอวิทยากร รายการ N=6 ระดบั ผลการประเมิน X� S.D. ความพงึ พอใจตอวิทยากร 10. วทิ ยากรมคี วามรูความสามารถในเร่ืองท่ีถายทอด 4.33 0.82 มาก 11. วิทยากรมเี ทคนคิ การถา ยทอดใชส ่อื เหมาะสม 4.17 0.75 มาก 12. วิทยากรเปดโอกาสใหมีสวนรว มและซกั ถาม 4.33 0.82 มาก รวม 4.28 0.80 มาก จากตารางท่ี 2.4 พบวา โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบ ตางๆ ในดานความพึงพอใจตอวิทยากร มีผลการประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.28) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา วิทยากรมีความรูความสามารถในเร่ืองที่ถายทอด และวิทยากรเปดโอกาสใหมีสวนรวมและซักถาม มีผล การประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.33) รองลงมา คือ วิทยากรมีเทคนิคการถายทอดใชส่ือเหมาะสม มีผลการ ประเมนิ อยูใ นระดับมาก (X�=4.17) ตามลาํ ดับ ตารางที่ 2.5 คาเฉลยี่ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการประเมินกิจกรรมโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสตู รอาชีพการทําบายศรีในรปู แบบตางๆ ของผตู อบแบบประเมนิ โครงการ ความพึงพอใจดานการอาํ นวย ความสะดวก รายการ N=6 ระดบั ผลการประเมิน X� S.D. ความพึงพอใจดานการอาํ นวยความสะดวก 13. สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณและสิ่งอํานวยความสะดวก 4.17 0.98 มาก 14. การสอ่ื สาร การสรางบรรยากาศเพือ่ ใหเกดิ การเรยี นรู 4.83 0.41 มากที่สดุ 15. การบรกิ าร การชวยเหลอื และการแกปญหา 4.33 0.52 มาก รวม 4.44 0.64 มาก จากตารางที่ 2.5 พบวา โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบ ตางๆ ในดานความพึงพอใจดานการอํานวยความสะดวก มีผลการประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.44) เมื่อ พิจารณาเปนรายขอพบวา การสื่อสาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเกิดการเรียนรู มีผลการประเมินอยูในระดับ มากท่ีสุด (X�=4.83) รองลงมา คือ การบริการ การชวยเหลือและการแกปญหา มีผลการประเมินอยูในระดับมาก โครงการศนู ยฝก อาชพี ชุมชน หลักสูตรอาชพี การทาํ บายศรใี นรูปแบบตางๆ | กศน.อําเภอโชคชยั ประจําปงบประมาณ 2565 14

(X�=4.33) และ สถานท่ี วัสดุ อุปกรณและส่ิงอํานวยความสะดวก มีผลการประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.17) ตามลาํ ดบั ตอนท่ี 3 ความคิดเหน็ และขอเสนอแนะอ่นื ๆ ควรเพ่ิมระยะเวลาในการจัด และเปลี่ยนสถานทีเ่ พ่ือความนาสนใจมากขนึ้ โครงการศนู ยฝ กอาชพี ชุมชน หลักสูตรอาชพี การทําบายศรีในรูปแบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชัย ประจําปงบประมาณ 2565 15

บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ สรปุ ผล ผลการวิเคราะห สามารถสรปุ ไดด ังนี้ ตอนที่ 1 วเิ คราะหข อมลู สวนตวั ของผตู อบแบบประเมินโครงการ ตอนที่ 2 วิเคราะหผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการ ตอนที่ 3 วเิ คราะหค วามคิดเห็นและขอเสนอแนะอ่ืน ๆ ตอนท่ี 1 วิเคราะหขอมลู สว นตัวของผูตอบแบบประเมินในภาพรวม จากตารางท่ี 1 พบวา ผูตอบแบบประเมินโครงการ จํานวน 6 คน เปน เพศหญิง จํานวน 6 คน คดิ เปนรอยละ 100.00 สวนใหญม ีอายุมากกวา 50 ปข ึ้นไป จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 83.33 รองลงมา คือ อายุ 30-49 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 16.67 สวนใหญศึกษาระดับ ประถมศึกษา จํานวน 6 คน คิดเปน รอยละ 100.00 สําหรับอาชีพสวนใหญ คือ เกษตรกร จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 66.66 รองลงมา คือ รบั จา ง จํานวน 1 คน คดิ เปนรอ ยละ 16.67 และ ธุรกิจสวนตวั จาํ นวน 1 คน คดิ เปนรอยละ 16.67 ตอนที่ 2 วเิ คราะหผลการประเมินกิจกรรม โครงการศนู ยฝ กอาชีพชมุ ชน หลกั สูตรอาชีพการทําบายศรใี นรปู แบบ ตา งๆ จากตารางท่ี 2.1 พบวา โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบ ตา งๆ มีผลการประเมินโครงการในภาพรวม อยูในระดับมาก (X�=4.47) เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ความ พึงพอใจดานกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม อยูในระดับมากท่ีสุด (X�=4.70) รองลงมาคือ ความพงึ พอใจดาน เนื้อหาอยูในระดับมาก (X�=4.46) ความพึงพอใจดานการอํานวยความสะดวก อยูในระดับมาก (X�=4.44) และ ความพึงพอใจตอวทิ ยากร อยใู นระดับมาก (X�=4.28) ตามลาํ ดับ จากตารางที่ 2.2 พบวา โครงการศูนยฝ กอาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชีพการทําบายศรีในรปู แบบ ตา งๆ ในดา นหลกั สตู ร มผี ลการประเมินอยใู นระดับมาก (X�=4.46) เม่อื พจิ ารณาเปนรายขอ พบวา เน้ือหาตรง ตามความตองการ, เนื้อหาตรงตามความตองการ และเนื้อหามปี ระโยชนตอ การนําไปใชใ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ มผี ลการประเมินอยูใ นระดับมากที่สดุ (X�=4.50) รองลงมาคือ เนือ้ หามีประโยชนตอการนาํ ไปใชในการพฒั นาคุณภาพ ชวี ติ มีผลการประเมินอยูในระดบั มาก (X�=4.33) ตามลาํ ดับ จากตารางท่ี 2.3 พบวา โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบ ตางๆ ในความพึงพอใจดานกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม มีผลการประเมินอยูในระดับมากที่สุด (X�=4.70) โครงการศนู ยฝ กอาชีพชมุ ชน หลกั สูตรอาชพี การทาํ บายศรีในรูปแบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชัย ประจําปงบประมาณ 2565 16

เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค มีผลการประเมินอยใู นระดับมาก ท่ีสดุ (X�=4.50) รองลงมา คือ การเตรียมความพรอมกอนอบรม มีผลการประเมนิ อยูในระดับมากท่สี ุด (X�=4.83) การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา, วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค มีผลการประเมินอยูใน ระดับมากท่ีสุด (X�=4.67) และการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย มีผลการประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.33) ตามลาํ ดับ จากตารางท่ี 2.4 พบวา โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบ ตางๆ ในดานความพึงพอใจตอวิทยากร มีผลการประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.28) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา วิทยากรมีความรูความสามารถในเร่ืองที่ถายทอด และวิทยากรเปดโอกาสใหมีสวนรวมและซักถาม มีผล การประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.33) รองลงมา คือ วิทยากรมีเทคนิคการถายทอดใชสื่อเหมาะสม มีผลการ ประเมนิ อยใู นระดบั มาก (X�=4.17) ตามลําดบั จากตารางที่ 2.5 พบวา โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทําบายศรีในรูปแบบ ตางๆ ในดานความพึงพอใจดานการอํานวยความสะดวก มีผลการประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.44) เม่ือ พิจารณาเปนรายขอพบวา การส่ือสาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเกิดการเรียนรู มีผลการประเมินอยูในระดับ มากท่ีสุด (X�=4.83) รองลงมา คือ การบริการ การชวยเหลือและการแกปญหา มีผลการประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.33) และ สถานที่ วัสดุ อุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก มีผลการประเมินอยูในระดับมาก (X�=4.17) ตามลําดับ ตอนที่ 3 ความคิดเหน็ และขอ เสนอแนะอืน่ ๆ ควรเพิ่มระยะเวลาในการจัด และเปล่ียนสถานที่เพ่ือความนาสนใจมากข้ึน อภปิ รายผล จากการสรุปผลการดําเนนิ โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชพี การทาํ บายศรใี นรปู แบบตา งๆ ใน คร้ังน้ี พบวา สามารถดําเนนิ โครงการไดป ระสบผลสาํ เร็จบรรลุตามวัตถปุ ระสงคข องโครงการ ผูตอบแบบประเมนิ สวนใหญ มคี วามพงึ พอใจในภาพรวมตอการจดั โครงการดังกลา วในทุกดาน อยูในระดับ มาก โดยมีคา เฉลย่ี (X�=4.47) เมื่อแยกเปนรายขอพบวา ความพึงพอใจดานกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม มผี ลการประเมินอยใู น ระดบั มากทีส่ ดุ (X�=4.70) ทั้งน้ี เน่อื งจาก ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอโชคชยั ได ดําเนินการตาม สาํ นักงาน กศน. ท่ีไดด าํ เนนิ ตามแผนการศึกษาแหงชาติฉบับปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560 - 2574) กําหนดวิสัยทัศนใหคนไทยไดเรียนรูตลอดชวี ิตอยางมีคณุ ภาพ โดยจุดมุง หมายทสี่ ําคญั ของแผนคอื การมุงเนน การ ประกนั โอกาส และความเสมอภาคทางการศึกษา การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา และการศกึ ษาเพื่อ การมงี านทําและสรางงานไดภายใตบ รบิ ท เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศและของโลกที่ขบั เคลือ่ นดวยนวัตกรรม และความคิดสรางสรรค รวมทัง้ มคี วามเปนพลวัต ภายใตส ังคมแหงปญญา สงั คมแหง การเรียนรู โครงการศนู ยฝกอาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาํ บายศรีในรปู แบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชัย ประจาํ ปงบประมาณ 2565 17

ศนู ยก ารเรียนชุมชน กศน.ตําบลกระโทก ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอ โชคชยั ตระหนักถึงความสาํ คญั ดงั กลา ว จึงไดจ ดั โครงการ หลกั สูตรอาชพี การทาํ บายศรีในรูปแบบตา งๆ จํานวน 10 ชัว่ โมง เพ่อื ฝก ทักษะในการประกอบอาชพี สามารถ สรา งรายไดใ หม ัน่ คง และย่ังยืน แกไ ขปญ หาและพฒั นา คณุ ภาพชีวิตเสริมสรา งความเขม แข็งใหก ับชุมชน ขอ เสนอแนะในการพัฒนาครัง้ ตอไป ควรเพ่ิมจาํ นวนกลมุ เปา หมาย ใหค รอบคลุมทุกอาชีพ ชวงอายุ เพอื่ นําความรูที่ไดจากการเขารว มโครงการ ไปพัฒนาชมุ ชน และนําไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั ได โครงการศนู ยฝ ก อาชีพชุมชน หลกั สูตรอาชีพการทําบายศรีในรปู แบบตางๆ | กศน.อําเภอโชคชัย ประจําปง บประมาณ 2565 18

บรรณานกุ รม กรมสง เสริมวฒั นธรรม. (๒๕๖๐). แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คม พธิ กี รรมและงานเทศกาล. กรุงเทพ ฯ : สถาบันวฒั นธรรมศกึ ษา กรมสงเสริมวฒั นธรรม. กรมสง เสริมวัฒนธรรม. (๒๕๖๑). มรดกภูมปิ ญ ญาอสี าน. กรงุ เทพ ฯ : สถาบนั วัฒนธรรมศกึ ษา กรมสง เสรมิ วฒั นธรรม. โครงการบริการวิชาการแกสังคมการทาํ นุบาํ รุงศลิ ปวฒั นธรรมและภูมิปญญาทองถน่ิ โครงการบายศรีสขู วัญ (2562). พรรษชล แขง็ ขนั .. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก https://www.stou.ac.th/Offices/rdec/udon/main/PDF/ โครงการศูนยฝ ก อาชพี ชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาํ บายศรีในรปู แบบตางๆ | กศน.อาํ เภอโชคชยั ประจําปงบประมาณ 2565 19

ภาคผนวก

ตารางวิเคราะหผ ลขอมลู โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน หลักสตู รอาชีพการทาํ บายศรใี นรูปแบบตางๆ โดยใชโปรแกรม SPSS เพศ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid หญิง 6 100.0 100.0 100.0 อายุ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid อายุ 30 - 49 ป 1 16.7 16.7 16.7 อายุมากกวา 50 ป 5 83.3 83.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ระดบั การศกึ ษา Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ประถมศกึ ษา 6 100.0 100.0 100.0 อาชพี Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid เกษตรกร 4 66.7 66.7 66.7 รับจาง 1 16.7 16.7 83.3 วางงาน 1 16.7 16.7 100.0 Total 6 100.0 100.0

ขอ 1 เนือ้ หาตองตามความตองการ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 3 50.0 50.0 50.0 มากทีส่ ดุ 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 2 เนื้อหาเพียงพอตอความตองการ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 3 50.0 50.0 50.0 มากทส่ี ดุ 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 3 เนื้อหาปจ จบุ นั ทันสมัย Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 4 66.7 66.7 66.7 มากทส่ี ุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 4 เน้อื หามีประโยชนต อ การนาํ ไปใชในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 3 50.0 50.0 50.0 มากทส่ี ุด 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 5 การเตรยี มความพรอ มกอนอบรม Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 1 16.7 16.7 16.7 มากที่สดุ 5 83.3 83.3 100.0 Total 6 100.0 100.0

ขอ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มากที่สดุ 6 100.0 100.0 100.0 ขอ 7 วทิ ยากรมีเทคนคิ วธิ ีการในการจัดการถายทอดองคค วามรู Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 2 33.3 33.3 33.3 มากท่สี ุด 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุมเปาหมาย Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 4 66.7 66.7 66.7 มากทสี่ ุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 9 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 2 33.3 33.3 33.3 มากทีส่ ุด 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 10 วิทยากรมีความรูความสามารถในเรอ่ื งท่ถี า ยทอด Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 2 33.3 33.3 50.0 มากที่สุด 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0

ขอ 11 วทิ ยากรมีเทคนคิ การถายทอดใชสือ่ เหมาะสม Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 3 50.0 50.0 66.7 มากที่สุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 12 วทิ ยากรเปดโอกาสใหมสี วนรวมและซักถาม Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 2 33.3 33.3 50.0 มากท่สี ุด 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 13 สถานที่ วสั ดุ อุปกรณและสงิ่ อาํ นวยความสะดวก Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 2 33.3 33.3 33.3 มาก 1 16.7 16.7 50.0 มากทีส่ ุด 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ 14 การสอื่ สาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเ กดิ การเรยี นรู Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 1 16.7 16.7 16.7 มากทส่ี ดุ 5 83.3 83.3 100.0 Total 6 100.0 100.0

ขอ 15 การบริการ การชว ยเหลือและการแกป ญ หา Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 4 66.7 66.7 66.7 มากที่สุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 Descriptive Statistics ขอ 1 เนือ้ หาตองตามความตอ งการ N Range Minimum Maximum Std. 6 1.00 4.00 5.00 Mean Deviation ขอ 2 เนื้อหาเพียงพอตอความตองการ 6 1.00 4.00 5.00 4.50 0.55 6 1.00 4.00 5.00 4.50 0.55 ขอ 3 เน้อื หาปจ จุบนั ทนั สมัย 6 1.00 4.00 5.00 4.33 0.52 4.50 0.55 ขอ 4 เนื้อหามปี ระโยชนต อการนาํ ไปใชในการพฒั นา 6 1.00 4.00 5.00 4.83 0.41 คุณภาพชีวิต 6 .00 5.00 5.00 5.00 0.00 ขอ 5 การเตรยี มความพรอ มกอ นอบรม 6 1.00 4.00 5.00 4.67 0.52 ขอ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับ 4.33 0.52 วัตถปุ ระสงค 6 1.00 4.00 5.00 4.67 0.52 ขอ 7 วทิ ยากรมีเทคนคิ วธิ กี ารในการจดั การ 6 1.00 4.00 5.00 ถายทอดองคความรู 4.33 0.82 ขอ 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย 6 2.00 3.00 5.00 4.17 0.75 4.33 0.82 ขอ 9 วิธีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั 6 2.00 3.00 5.00 4.17 0.98 วัตถุประสงค 6 2.00 3.00 5.00 ขอ 10 วิทยากรมีความรูความสามารถในเร่อื งที่ 6 2.00 3.00 5.00 4.83 0.41 ถา ยทอด 4.33 0.52 ขอ 11 วทิ ยากรมีเทคนิคการถา ยทอดใชส ื่อเหมาะสม 6 1.00 4.00 5.00 ขอ 12 วทิ ยากรเปดโอกาสใหมสี ว นรว มและซกั ถาม 6 1.00 4.00 5.00 6 ขอ 13 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณและสง่ิ อํานวยความ สะดวก ขอ 14 การสอ่ื สาร การสรา งบรรยากาศเพอ่ื ใหเ กดิ การเรยี นรู ขอ 15 การบรกิ าร การชว ยเหลือและการแกปญหา Valid N (listwise)

ภาพกจิ กรรม โครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาํ บายศรใี นรปู แบบตา งๆ

ภาพกจิ กรรม โครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาํ บายศรใี นรปู แบบตา งๆ

แบบประเมินโครงการศูนยฝ ก อาชีพชมุ ชน หลกั สูตรอาชีพการทาํ บายศรใี นรูปแบบตา งๆ

รายช่อื ผูเขา รว มโครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทําบายศรีในรูปแบบตา งๆ ปงบประมาณ 2565 ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอโชคชยั

โครงการศนู ยฝก อาชพี ชมุ ชน หลกั สตู รอาชพี การทาํ บายศรใี นรปู แบบตา งๆ

คณะผูจัดทํา ท่ปี รึกษา ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอโชคชยั นางจีระภา วัฒนกสกิ าร บรรณารักษชํานาญการพิเศษ นางสวุ มิ ล หาญกลา ครู กศน.ตาํ บล วิเคราะห เรยี บเรยี ง และจัดทาํ ตนฉบับ ครูอาสาสมัคร กศน. นางสาวรจนา ขวญั เกตุ ครอู าสาสมัคร กศน. นางจงรักษ เชือ่ ปญ ญา นายสมชาย มงุ ภกู ลาง บรรณาธกิ าร ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอโชคชยั นางจีระภา วฒั นกสกิ าร บรรณารักษช าํ นาญการพเิ ศษ นางสุวมิ ล หาญกลา

โครงการศนู ยฝ์ ึ กอาชีพชมุ ชน หลกั สตู รการทําบายศรใั นรปู แบบต่างๆ ประจําปี งบประมาณ พ.ศ.2565 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอโชคชยั สาํ นกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นครราชสีมา