Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

วิชา การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

Published by lavanh9979, 2021-08-23 05:03:09

Description: วิชา การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 ระบบการจดั การฐานข้อมูล | 25 2.2 หน้าที่ระบบการจัดการฐานข้อมลู เม่ือผใู้ ช้งาน มีความต้องการที่จะจดั การกบั ข้อมูลที่อยใู่ นฐานข้อมลู น้ันผ้ใู ช้งานจะต้องทางาน ผา่ นโปรแกรมประยุกต์ทผี่ ู้พัฒนาโปรแกรมสร้างข้ึน โปรแกรมประยุกตน์ ้ันจะต้องติดต่อกบั DBMS จากนนั้ DBMS จะทาหน้าที่จัดหาหรอื จัดการต่างในฐานข้อมลู เพอ่ื ใหข้ ้อมลู น้นั เปน็ ไปตามความ ต้องการของผใู้ ชง้ าน ซึ่งหนา้ ท่ีของระบบจดั การฐานขอ้ มลู หรอื DBMS สรุปไดด้ งั นี้ ภาพที่ 2.2 ระบบจดั การฐานข้อมลู ทม่ี า : Database Systems: Design, Implementation, and Management (2009 : 7) 1. จัดเกบ็ และดแู ลข้อมูล เม่อื มีการกระทาใดๆกบั ข้อมูลในระบบฐานขอ้ มูล เม่ือเสร็จส้นิ แล้ว ข้อมลู เหลา่ น้ันจะถูกจัดเกบ็ และรวบรวมไวด้ ้วยกนั โดยมีระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นผดู้ แู ลรกั ษาข้อมูล 2. ช่วยกาหนดและเก็บโครงสร้างฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะช่วยกาหนดและเก็บ โครงสร้างฐานข้อมูล และตรวจสอบเพ่ือให้ข้อมูลถูกจัดเก็บตามโครงสร้างของฐานข้อมูล และทา ให้ เกิดความถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของระบบโดยโครงสร้างของฐานข้อมูลนั้นๆ จะถูกออกแบบโดยผู้ดูแล ระบบฐานขอ้ มูลกบั ผ้วู เิ คราะห์และออกแบบระบบ 3. ช่วยควบคุมความปลอดภัย ในระบบจัดการฐานข้อมูล จะมีวิธีการกาหนดสิทธิในการ เขา้ ถึงข้อมลู เพอื่ เป็นการปอ้ งกันความเสยี หายท่ีอาจจะเกดิ ข้ึนกับฐานข้อมูล 4. การสารองและการกู้ข้อมลู ระบบจัดการฐานข้อมลู จะมีโปรแกรมเพื่อสนับสนุนการสารอง และกู้คนื ของขอ้ มูล เพอ่ื ปอ้ งกันเหตุการณ์ทจี่ ะก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อขอ้ มูล เช่น ไฟดับ เป็นตน้ 5. ทาหน้าที่จัดทาพจนานุกรมข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทาการจัดเก็บนิยามของ ข้อมูล และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลไว้ในพจนานุกรมข้อมูล เมื่อโปรแกรมต่างๆ ที่ต้องการเข้าถึง ข้อมูลท่ีอยู่ในฐานข้อมูล โปรแกรมนั้นจะต้องติดต่อผ่านกระบบจัดการฐานข้อมูล โดยที่ระบบจัดการ ฐานข้อมูลจะใช้พจนานุกรมข้อมูล เพื่อค้นหาโครงสร้างตลอดจนส่วนประกอบของข้อมูลท่ีต้องการ การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกิจ

26 | บทที่ 2 ระบบการจัดการฐานขอ้ มูล นอกจากน้ันแล้วการเปล่ียนแปลงใดๆ ท่ีมีต่อโครงสร้างฐานข้อมูลจะถูกบันทึกไว้โดยอัตโนมัติใน พจนานกุ รมขอ้ มลู ทาใหเ้ ราไม่ตอ้ งเปลี่ยนแปลงแกไ้ ขโปรแกรมเมอื่ โครงสร้างข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลง 6. ควบคุมการใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้ในระบบ ในระบบคอมพิวเตอร์ท่ีผู้ใช้หลายคน สามารถเรียกใช้ข้อมลู พรอ้ มกัน ระบบจัดการฐานขอ้ มูลท่ีมีคณุ สมบัตินี้ จะทาการควบคุมการใช้ข้อมูล พร้อมกันของผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกันได้ โดยมีการควบคุมอย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น ถ้ามีการ แก้ไขข้อมูลนั้นยังไม่เรียบร้อย ผู้ใช้อ่ืนๆ ท่ีต้องการเรียกใช้ข้อมูลนี้จะต้องรอจนกว่าการแก้ไขเสร็จ เรียบร้อย เพอื่ ป้องกันไม่ใหเ้ กดิ ปัญหาการเรียกใช้ข้อมลู ท่ีไม่ถกู ต้อง 2.3 องคป์ ระกอบของระบบจดั การฐานข้อมูล 1) ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้เพื่อเก็บข้อมูลและประมวลผล ข้อมูล ซึ่งอาจประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ต้ังแต่หน่ึงเคร่ืองขึ้นไป หน่วยเก็บ ข้อมูลสารอง หน่วยนาเข้าข้อมูล และหน่วยแสดงผลข้อมูล นอกจากน้ียังต้องมี อุปกรณ์การส่ือสารเพ่ือเชื่อมโยงอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่อง ให้สามารถ แลกเปลย่ี นขอ้ มูลกนั ได้ เปน็ ตน้ 2) ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมท่ีใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล ซึ่ง โปรแกรมแต่ละตัวจะมีคุณสมบัติการทางานที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการพิจารณา เลือกใช้โปรแกรม จะต้องพิจารณาจากคุณสมบัติของโปรแกรมแต่ละตัวว่ามี ความสามารถทางานในสิ่งท่ีเราต้องการได้หรือไม่ ซ่ึงโปรแกรมท่ีใช้ในการจัดการ ฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เป็นต้น โดยโปรแกรมท่ีเหมาะสาหรับผู้เร่ิมต้นฝึกหัดสร้างฐานข้อมูล คือ Microsoft Access เน่ืองจากเป็นโปรแกรมใน Microsoft Office ตัวหนึ่ง ซ่ึงจะมี อยู่ในเครอื่ งคอมพิวเตอรอ์ ยู่แล้ว และการใช้งานก็ไม่ยากจนเกินไป แต่ผู้ใช้งานต้องมี พืน้ ฐานในการออกแบบฐานข้อมลู มาก่อน 3)ข้อมูล (data) ข้อมลู ท่ดี แี ละมีประสิทธภิ าพ ควรมีคุณสมบตั ิดังนี้ 1. มีความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่าน้ันเชื่อถือไม่ได้ จะทาใหเ้ กดิ ผลเสียอยา่ งมาก ผู้ใชจ้ ะไม่กล้าอ้างอิงหรือนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ 2. เป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน เพราะขอ้ มูลบางอย่างมกี ารเปล่ียนแปลงอยตู่ ลอด 3. มีความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พ้ืนท่ีใน การจัดเก็บข้อมูลมาก จึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัด และสามารถสอ่ื ความหมายไดถ้ ูกตอ้ ง การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

บทท่ี 2 ระบบการจดั การฐานขอ้ มูล | 27 4. มีความสอดคล้องกับความต้องการ ซ่ึงเป็นเร่ืองที่สาคัญ ดังน้ันจึงต้องมีการ วิเคราะหจ์ ดุ ประสงคข์ องการสืบคน้ ข้อมูลใหด้ ีกอ่ น 4) บุคลากร (people) จาเป็นต้องเก่ียวข้องกับระบบอยู่ตลอดเวลา เพราะบุคลากร จะต้องทาหน้าที่ในการจัดการฐานข้อมูล โดยบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการ ฐานข้อมลู มีดงั ต่อไปน้ี 1. ผู้บริหารข้อมูล (data administrators) ทาหน้าที่ในการกาหนดแนวทางของ ข้อมูล เช่น กาหนดจุดประสงค์ ขอบเขตของขอ้ มูล เปน็ ต้น 2. ผู้บริหารฐานข้อมูล (database administrators) ทาหน้าท่ีในการบริหาร จัดการ ควบคุม กาหนดนโยบาย มาตรการ และมาตรฐานของระบบ ฐานข้อมูลทั้งหมดเพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้มา ตลอดจนทาหน้าท่ี ประสานงานกับผู้ใช้ นักวิเคราะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เพ่ือให้การ บริหารระบบฐานข้อมลู สามารถดาเนนิ ไปได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3. นักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts) มีหน้าที่ศึกษาและทาความเข้าใจใน ระบบงาน ศึกษาความตอ้ งการของระบบท่ีจะทาการพัฒนาข้ึนมา รวมทัง้ ตอ้ ง เป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการทางานโดยรวมของทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์อกี ด้วย 4. นกั ออกแบบฐานขอ้ มูล (database designers) ทาหน้าที่นาผลการวิเคราะห์ มาออกแบบฐานข้อมลู เพ่อื ใหต้ รงกับความต้องการของผูใ้ ชง้ าน 5. ผพู้ ัฒนาโปรแกรม (programmers) มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการเขียนโปรแกรม ประยุกต์เพ่ือการใช้งานในลักษณะต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ตวั อยา่ งเช่น การเก็บบนั ทกึ ข้อมูล และการเรยี กใชข้ อ้ มูลจากฐานข้อมลู 6. ผู้ใช้ (users) เป็นบุคคลท่ีใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล ซึ่งวัตถุประสงค์หลัก ของระบบฐานข้อมูล คือ ตอบสนองความต้องการในการใช้งานของผู้ใช้ ดังนั้นในการออกแบบระบบฐานข้อมูลจึงจาเป็นต้องมีผู้ใช้เข้าร่วมอยู่ในกลุ่ม บุคลากรทีท่ าหนา้ ทีอ่ อกแบบฐานข้อมูลดว้ ย 2.4 ประเภทของระบบจัดการฐานขอ้ มูล การแบ่งประเภทของระบบฐานข้อมูล ขึ้นอย่กู ับความต้องการและความเหมาะสมของข้อมลู ซ่งึ สามารถแบ่งประเภทของระบบฐานข้อมูลดงั น้ี การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่ืองานธุรกจิ

28 | บทท่ี 2 ระบบการจดั การฐานข้อมูล 2.4.1 แบง่ ตามจานวนของผใู้ ช้เปน็ หลัก การแบ่งประเภทของระบบฐานข้อมูลแบบแบง่ ตามจานวนของผูใ้ ช้เป็นหลักสามารถ แยกออกได้ 2 ประเภท คือ 1) ผู้ใช้คนเดียว เป็นระบบฐานข้อมูลท่ีใช้ภายในองค์กรขนาดเล็ก ที่มีเครื่อง คอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวและผู้ใช้เพียงคนเดียว เช่น ระบบฐานข้อมูลของ รา้ นสะดวกซื้อเลก็ ๆ ท่ัวไป ภาพที่ 2.3 ตวั อย่างโปรแกรมฐานข้อมลู แบบผู้ใชค้ นเดียว ทีม่ า : ผูเ้ ขียน 2) ผู้ใช้หลายคน เป็นระบบฐานข้อมูลที่มีผู้ใช้หลายคนเข้าใช้งานฐานข้อมูลพร้อม ๆกันได้ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันหรืออาจจะใช้ฐานข้อมูลเดียวกันก็ได้ แต่ จะอยูใ่ นองคก์ รเดยี วกันเทา่ นนั้ ภาพท่ี 2.4 โปรแกรมฐานขอ้ มลู แบบผใู้ ชห้ ลายคน ที่มา : ผเู้ ขียน การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกิจ

บทท่ี 2 ระบบการจัดการฐานขอ้ มูล | 29 2.4.2 แบง่ ตามสถานท่ีเก็บข้อมลู เป็นหลกั การแบ่งตามสถานทเี่ ก็บข้อมูล สามารถจาแนกไดด้ ังนี้ 1) ประเภทศูนย์กลาง (Centralized Database) เป็นระบบฐานข้อมูลที่นาเอามา เก็บไว้ในตาแหน่งศูนย์กลาง เพื่อให้ผู้ใช้ ทุกคนสามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ตาม สิทธิ์ทถ่ี กู กาหนดไว้ของผใู้ ช้แต่ละคน ภาพที่ 2.5 โปรแกรมฐานข้อมลู ประเภทศนู ย์กลาง ทม่ี า : https://cdn-images-1.medium.com/max/600/0*bJj5KJSmTN0Lq_hA.jpg 2) ประเภทกระจาย (Distributed Database) เป็นระบบฐานข้อมูลท่ีเก็บ ฐานข้อมูลไว้ แต่ละแผนก ซึ่งแต่ละแผนกสามารถใช้ฐานข้อมูลร่วมกันได้ตาม สิทธ์ิท่ีได้กาหนดจากผู้มีอานาจ เช่น ฐานข้อมูลของฝ่ายบุคคลเก็บไว้ท่ีแผนก ทรัพยากรบุคคล ยอมให้ฝ่ายบัญชีนารายชื่อของนักศึกษาไปใช้ร่วมกับ ฐานข้อมูลการจ่ายเงินค่าลงทะเบียนเรียน จากน้ัน ฝ่ายบัญชีก็จะนาข้อมูลการ จา่ ยเงินค่าลงทะเบียน ไปจัดเก็บไวใ้ นฐานข้อมูลของฝา่ ยบัญชเี ช่นกนั ภาพที่ 2.6 โปรแกรมฐานข้อมลู ประเภทกระจาย ทมี่ า : https://cdn-images-1.medium.com/max/600/0*bJj5KJSmTN0Lq_hA.jpg การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกจิ

30 | บทที่ 2 ระบบการจดั การฐานข้อมูล 2.4.3 แบ่งตามลกั ษณะการใชง้ านเป็นหลกั การใช้งานระบบฐานข้อมลู ขึน้ อยู่กับความต้องการของผใู้ ช้งานและผอู้ อกแบบ ระบบ สามารถแบง่ ออกตามลักษณะการใชง้ านได้ดังน้ี 1) ฐานขอ้ มลู ดาเนนิ การ (Operational Database) ฐานขอ้ มลู ประเภทนี้มีการนา ข้อมลู เข้า เปลย่ี นแปลงและลบขอ้ มูล สาหรบั งานประจาวัน ทาให้ข้อมลู เปล่ียนแปลงตลอดเวลา เชน่ งานสนิ ค้าคงคลัง งานระบบซื้อมาขายไป เป็นตน้ 2) ฐานข้อมลู เพื่อการตดั สนิ ใจ (Decision Support Database) ระบบฐานขอ้ มูล ประเภทนี้มีไวเ้ พ่ือใช้ในการสนับสนุนการตัดสนิ ใจของผ้ใู ชร้ ะดบั ผบู้ รหิ าร ข้อมลู ท่นี าเข้ามาในระบบได้มาจากฐานข้อมูลดาเนินการ สว่ นใหญ่ฐานขอ้ มลู ประเภท นีน้ าไปใช้ในงานวางแผนกลยุทธ์ในองค์กร 2.5 ข้อดีและขอ้ ดอ้ ยระบบการจัดการฐานขอ้ มลู 2.5.1 ขอ้ ดีของระบบจัดการฐานข้อมลู 1)หลีกเล่ียงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูลจะมีการจัดเก็บ ข้อมูลไว้ที่เดียว ถ้าผู้ใช้งานมีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล ก็จะบันทกึ ลงในฐานข้อมลู ที่เดียว ทา ใหโ้ อกาสทข่ี ้อมลู ขดั แย้งกนั ไม่มี 2)สามารถใชข้ ้อมูลร่วมกันได้ การจัดเก็บข้อมลู แบบฐานข้อมูลจะมีการจัดเก็บข้อมูลไว้ ท่ีเดียว เมื่อผู้ใช้งานเรียกใช้ข้อมูลจากโปรแกรมประยุกต์ต่างๆจากหลายท่ี ก็ สามารถเรยี กใช้ข้อมูลนั้นได้ 3)การรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลบางครั้ง อาจมีข้อผิดพลาดข้ึนได้ เช่น การป้อนข้อมูลผิดพลาด จากตัวเลขหน่ึงเป็นอีกตัว หน่ึง (ป้อนข้อมูลอายุจาก 20 ปีเป็น 200ปี) ซึ่งในระบบจัดการข้อมูลสามารถ กาหนดและควบคุมความมีมาตรฐานของข้อมูลให้เปน็ ไปในลกั ษณะเดียวกนั ได้ 4) สามารถกาหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ ผู้บริหารระบบฐานข้อมูล สามารถกาหนดสิทธ์ในการเรียกใช้ข้อมูลของผใู้ ชแ้ ตล่ ะคนได้ โดยผู้ใชแ้ ต่ละคนจะมี สทิ ธ์ในการเขา้ ถงึ ข้อมลู ทีแ่ ตกตา่ งกันตามหน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ 5)ความเปน็ อิสระของข้อมลู และโปรแกรม เมื่อมกี ารเปลย่ี นแปลงโครงสร้างขอ้ งขอ้ มูล เช่น ฐานข้อมูลนักศึกษา ถ้ารหัสนักศึกษาถูกเปลี่ยนความกว้างจาก 11 ตาแหน่ง เป็น 12 ตาแหน่ง ผู้พัฒนาโปรแกรมไม่จาเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมท่ีเรียกใช้ข้อมูล นักศึกษาทั้งหมด แต่จะแก้ไขโปรแกรมเฉพาะส่วนที่เรียกใช้ข้อมูลรหัสนักศึกษา เท่าน้ัน ซึ่งต่างจากระบบแฟ้มข้อมูล เพราะการเก็บข้อมูลระบบแฟ้มข้อมูลน้ัน เม่ือ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่ืองานธุ รกิจ

บทท่ี 2 ระบบการจัดการฐานข้อมูล | 31 มีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างของข้อมูล ผู้พัฒนาโปรแกรมจะต้องทาการแก้ไข โปรแกรมทั้งหมด ถึงแม้ว่าโปรแกรมนั้นจะไม่ได้เรียกใช้ข้อมูลท่ีถูกเปลี่ยนแปลง โครงสร้างเลยก็ตาม 2.5.2 ข้อด้อยของระบบจดั การฐานขอ้ มูล 1) มีต้นทุนสูง ระบบฐานข้อมูลก่อให้เกิดต้นทุนสูงข้ึน เช่น ค่าใช้จ่ายซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน การจัดการระบบฐานข้อมูล ค่าใช้จ่ายบุคลากรในการปฏิบัติการ ค่าใช้จ่ายในการ บารงุ ดแู ลระบบฐานข้อมลู และค่าใช้จ่ายฮารด์ แวร์ เป็นต้น 2) เกิดความซับซ้อน ระบบจัดการฐานข้อมูลช่วยอานวยความสะดวกในการจัดการ ข้อมูล ได้ดี แต่กระบวนการนั้น ก่อให้เกิดความซับซ้อนได้ เช่น การจัดเก็บข้อมูล การออกแบบฐานขอ้ มูล การเขียนโปรแกรม เปน็ ต้น 3) การเสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ เน่ืองจากข้อมูลอาจถูกเก็บไว้ในลักษณะเป็น ศูนย์รวม หากระบบเกดิ ความล้มเหลวบางส่วน จะทาให้ในระบบฐานขอ้ มูลเกิดการ หยุดชะงัก ซ่ึงทาให้เกิดผลกระทบกบั การทางานทั้งระบบต้องหยุดชะงักตามไปด้วย 5)การกู้คืนทาได้ยาก ระบบจัดการฐานข้อมูลมีความสามารถในการสารองข้อมูลจริง แต่เม่ือเวลาท่ีต้องการกู้คืนข้อมูลนั้น ต้องใช้เครื่องมือต่างๆเข้ามาช่วยมากข้ึน อย่างไรก็ตามข้อดีของการใช้ระบบฐานข้อมูลมีมากมายเกินกว่าข้อเสียจึงมีการใช้ งานระบบฐานขอ้ มลู กันอยา่ งแพร่หลายในปจั จุบัน 2.6 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ระบบการจัดการฐานขอ้ มลู ในปจั จบุ นั นี้ ผ้พู ฒั นาโปรแกรมในนาเอาระบบฐานข้อมูลมาประยุกตใ์ ช้อยา่ งแพรห่ ลาย มีทง้ั การประยุกต์ใช้ เพ่ือการศกึ ษา การค้า เป็นต้น ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปนี้ 1) ระบบบริการนักศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี ภาพที่ 2.7 ระบบบริการนักศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกจิ

32 | บทท่ี 2 ระบบการจดั การฐานข้อมูล ท่มี า : http://portal1.udru.ac.th:7778/web/std_service2/index.php จากภาพที่ 2.7 คือระบบบริการนักศึกษาของมหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี ที่ได้นาเอาระบบ ฐานข้อมูลมาประยุกต์ใช้เก็บข้อมูลของนักศึกษา เช่น ช่ือ-สกุล แผนการเรียน รายวิชาที่ลงทะเบียน และผลการเรียน ระบบบริการนักศึกษาน้ี ยังสามารถให้นักศึกษา เข้าดูข้อมูลต่างๆของตัวเองได้ด้วย เช่น เม่ือนักศึกษาต้องการทราบผลการเรียนในรายวิชา ฐานข้อมูล นักศึกษาจะต้องใช้ Username และ Password เพื่อทาการ Login เข้าสู่ระบบ แล้วนักศึกษาจึงจะสามารถตรวจสอบผลการเรียนใน รายวิชาน้นั ได้ 2) ระบบขายสินค้าออนไลน์ ภาพที่ 2.8 ตัวอย่างระบบขายสนิ คา้ ออนไลน์ ทม่ี า : https://www.lazada.co.th จากภาพที่ 2.7 เป็นการนาระบบฐานข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์ โดยระบบนี้จะมี ฐานข้อมูลไวส้ าหรับเก็บข้อมลู ของสินค้า ขอ้ มลู ของลูกค้า และขอ้ มูลการส่ังซื้อ อีกทั้งระบบนี้ ผู้ใช้งาน จะต้องทาการสมัครเป็นสมาชิกแล้วผู้ใชง้ านต้องกาหนด ช่ือเข้าใช้งานและรหัสผ่านเอง และเมื่อลูกค้า มกี ารสง่ั ซื้อสินคา้ ขอ้ มลู การสั่งซ้อื ก็จะถูกจัดเก็บไวใ้ นฐานข้อมลู และถกู สง่ ไปให้กับผ้ขู ายสินค้าตอ่ ไป 3) ระบบจองตั๋วเครื่องบนิ ระบบที่ประยกุ ต์ใชฐ้ านขอ้ มูลเพื่อจดั เก็บขอ้ มลู ของลกู คา้ ท่ีเขา้ มาทาการจอง ต๋วั เครอื่ งบินโดยระบบน้จี ะต้องรวบรวมขอ้ มูล เท่ยี วบนิ สถาณท่ี และเวลาในการบนิ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกจิ

บทท่ี 2 ระบบการจัดการฐานขอ้ มูล | 33 จากสายการบนิ ตา่ งๆ แล้วนาขอ้ มลู มาเกบ็ ไว้ในฐานข้อมลู และเมื่อลกู ค้าเขา้ มา ค้นหาเทย่ี วบิน และจองตว๋ั เคร่ืองบิน ข้อมูลเหลา่ นนั้ กจ็ ะถูกจดั เก็บไวใ้ นฐานข้อมลู ดงั ภาพที่ 2.8 ภาพที่ 2.9 ตัวอย่างระบบจองตัว๋ เครือ่ งบิน ทีม่ า : https://www.traveloka.com 2.7 แนวโนม้ ของระบบการจดั การฐานข้อมลู ในปัจจุบันนม้ี ีการเก็บข้อมูลในปริมาณและมีความหลากหลายของขอ้ มลู ในระบบอินเทอร์เน็ต เช่ือมโยงกันอยู่เป็นข้อมูลขนาดใหญ่ ซ่ึงเทคโนโลยี Big Data เป็นเทคโนโลยีที่เก็บรวบรวมข้อมูล ขนาดใหญ่ไว้ในท่ีท่หี นึ่ง แล้วใช้อีกเทคโนโลยผี นวกเขา้ ไปเพื่อใช้ในการวเิ คราะหป์ ระมวลผลข้อมูล การ กลั่น และสกัด เอาคุณค่าออกมาจากข้อมูลขนาดใหญ่ เพ่ือนาข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากการวิเคราะห์ ประมวลผลไปใช้ประโยชน์ต่อไป อีกท้ังรูปแบบของการจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลก็เปล่ียนแปลงไปมีแนวโน้ม เปลี่ยนเป็นลักษณะระบบฐานข้อมูลเชิงวัตถุ Object-oriented Database คือแนวคิดในการจัดเก็บ ขอ้ มูลในรูปแบบของวตั ถุ (Object) โดยมกี ารแลกเปลีย่ นข้อมูลเพือ่ นาขอ้ มลู ท่ไี ด้มาประมวลผลและส่ง ข้อมูลเหล่าน้ีไปยัง object ตัวอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องเพื่อทางานต่อไป ระบบฐานข้อมูลเชิงวัตถุสามารถ รองรับการจัดเก็บข้อมูลที่มีความซับซ้อนและมีขนาดข้อมูลขนาดใหญ่ได้ อย่างเช่น Multimedia ข้อมูลในรูปแบบของภาพ เสียง ภาพยนตร์ เป็นต้น ซ่ึง Object-oriented Database นั้นจะมี คุณสมบัตสิ าคัญอยู่ 4 ประการคือ - การสืบทอดคลาส (Inheritances) เป็นคุณสมบัติในการพัฒนาที่เกิดจากการต่อ ยอดหรือนา Object เดิมมาใช้ จงึ ทาใหโ้ ครงสร้างฐานขอ้ มลู เป็นระเบียบ ปรบั เปลยี่ นง่าย ลดเวลาและ คา่ ใชจ้ า่ ยในการพัฒนาระบบ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกิจ

34 | บทที่ 2 ระบบการจดั การฐานข้อมูล - การป้องกันข้อมูล (Data encapsulation) เป็นการป้องกันไม่ให้ Object ท่ีอยู่ ภายนอกเขา้ ถึง Object ใดๆ ได้อย่างอสิ ระ - เป็นอิสระต่อกัน (Object identity) เป็นการอนุญาตให้ Object ในระบบ ฐานข้อมูลมีความเป็นอิสระต่อกัน ถึงแม้ว่าข้อมูลของตัวแปรหรือวิธีการจะเปลี่ยนไป แต่แนวคิดของ identity จะไมถ่ กู นาไปใช้กบั tuple ของฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ - Polymorphism และ Dynamic binding คือการอนุญาตให้มีการสร้างการ ดาเนนิ งานสาหรบั Object อนั หน่งึ แล้วแชร์คุณสมบัตไิ ปยัง Object อ่ืนได้ ภาพที่ 2.10 ตัวอยา่ งระบบฐานขอ้ มลู เชงิ วตั ถุ ทม่ี า : https://en.wikipedia.org/wiki/Object_database จากภาพท่ี 2.9 แสดงให้เห็นถึงการทางานของระบบฐานข้อมูลเชิงวัตถุ ซึ่งในภาพตัวอย่างจะ พบว่าส่วนท่ีใช้ในการจัดเก็บข้อมูลคือวัตถุ (Instance) เช่น Object1 Instance ถ้ามีข้อมูลใหม่ก็ให้ สร้าง Instance ใหมเ่ พือ่ ใชใ้ นการจดั เก็บข้อมูล สรุปได้ว่า ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ เป็นแนวคิดเดียวกันกับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ โดยแนวคิด น้ีจะใช้วิธีสร้างฐานข้อมูลขึ้นมาให้อยู่ในรูปแบบของวัตถุ โดยแต่ละฐานข้อมูลสามารถนาข้อมูลในอีก ฐานขอ้ มูลมาใช้รว่ มกันได้ 2.8 บทสรปุ ระบบการจัดการฐานข้อมูลคือ โปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการกาหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ ในฐานข้อมูล อานวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล กาหนดผู้ท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้ ฐานข้อมูลได้ พร้อมกับกาหนดด้วยว่าให้ใช้ได้แบบใด เช่น ให้อ่านข้อมูลได้อย่างเดียวหรือให้แก้ไข ข้อมูลได้ด้วย นอกจากนั้นยังอานวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูล และการแก้ไขปรับปรุงข้อมูล การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกจิ

บทท่ี 2 ระบบการจดั การฐานขอ้ มูล | 35 ทาให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวกและมีประสิทธิภาพเปรียบเสมือนเป็นตัวกลางระหว่าง ผใู้ ช้กับฐานข้อมูลให้สามารถตดิ ตอ่ กันได้ หน้าทขี่ องระบบจัดการฐานข้อมลู คือ 1. จดั เกบ็ และดูแลขอ้ มลู 2. ช่วยกาหนดและเกบ็ โครงสรา้ งฐานขอ้ มูล 3. ชว่ ยควบคมุ ความปลอดภัย 4. การสารองและการกขู้ ้อมลู 5. ทาหนา้ ทจ่ี ัดทาพจนานุกรมข้อมูล 6. ควบคมุ การใช้ข้อมูลพรอ้ มกนั ของผใู้ ช้ในระบบ ระบบการจัดการฐานข้อมูล มีแนวโน้มการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ทั้งในเรื่องการ เก็บขอ้ มูลทีม่ ีขนาดใหญ่ และความรวดเร็วในการประมวลผลข้อมูล เช่น เทคโนโลยี Big Data ทมี่ ีการ พฒั นาให้ฐานขอ้ มูลมีความรวดเร็วในการประมวลผล ระบบฐานข้อมลู เชิงวตั ถุ (Object & Oriented Database) ที่สามารถรองรับการจัดเก็บข้อมูลท่ีมีความซับซ้อนและมีขนาดข้อมูลขนาดใหญ่ได้ อย่างเช่น Multimedia ข้อมลู ในรูปแบบของภาพ เสียง ภาพยนตร์ เปน็ ตน้ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่ืองานธุ รกจิ

36 | บทท่ี 2 ระบบการจดั การฐานขอ้ มูล คาถามท้ายบท 1. ระบบการจัดการฐานข้อมูลหมายถึงอะไร 2. Data Independence หมายถงึ อะไร 3. องคป์ ระกอบของระบบจดั การฐานขอ้ มูลประกอบด้วยอะไรบา้ ง 4. ใหน้ กั ศึกษาวิเคราะห์และอธิบายระบบจดั การฐานขอ้ มลู ผู้ใช้หลายคน ทีใ่ ช้ในชวิ ิตจริง ไดแ้ ก่ อะไรบา้ ง 5. จากประเภทของระบบจดั การฐานขอ้ มลู แบบแบ่งตามสถานท่ีเก็บข้อมูลเปน็ หลัก ในการ จัดเกบ็ ข้อมลู ของธนาคารเปน็ แบบใด 6. ข้อดีของระบบการจดั การฐานขอ้ มูลไดแ้ ก่อะไรบ้าง 7. ข้อด้อยของระบบการจดั การฐานข้อมูลไดแ้ ก่อะไรบ้าง 8. ให้นักศึกษายกตัวอยา่ งการประยุกตใ์ ชร้ ะบบการจดั การฐานข้อมูลท่ีมา 1 ระบบ 9. ให้นักศึกษาวิเคราะห์และอธบิ ายแนวโน้มของระบบการจัดการฐานขอ้ มูลในความคดิ ของ นกั ศกึ ษา การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพือ่ งานธุรกจิ

บทที่ 2 ระบบการจัดการฐานข้อมูล | 37 เอกสารอา้ งองิ วิกพิ ีเดยี สารานุกรมเสรี. ระบบจัดการฐานข้อมลู . สืบคน้ เมื่อ 31 พฤษภาคม 2561, จากเวบ็ ไซต์: https://th.wikipedia.org/wiki/ระบบจดั การฐานข้อมลู วิเชยี ร เปี่ยมชยั สวัสด์ิ. (2547). ระบบฐานข้อมลู (พิมพค์ ร้งั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พ์ ส.ส.ท. โอภาส เอีย่ มสิริวงศ์. (2551). ระบบฐานขอ้ มลู (Database Systems). กรุงเทพฯ : ซเี อด็ ยเู คชน่ั . Peter Rob and Carlos Coronel. Database Systems: Design, Implementation, and Management. Massachusetts: Course Technology. Wikipedia. Object database. Retrieved December 12, 2017, Form: https://en.wikipedia.org/wiki/Object_database. การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกจิ

38 | บทท่ี 2 ระบบการจัดการฐานขอ้ มูล การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกจิ

บทที่ 3. สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล | 39 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล หัวขอ้ เนือ้ หา 3.1 สถาปตั ยกรรมระบบฐานข้อมูล 3.2 สถาปัตยกรรมในระดบั ภายนอก (External Level) 3.3 สถาปัตยกรรมในระดับความคดิ (Concept Level) 3.4 สถาปัตยกรรมในระดับภายใน (Internal Level) 3.5 แบบจาลองฐานข้อมลู (Data Model) 3.6 ฐานขอ้ มูลแบบลาดับชนั้ (Hierarchical Model) 3.7 ฐานข้อมูลแบบเครือขา่ ย (Network Model) 3.8 ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พันธ์ (Relational Model) 3.9 ฐานข้อมลู เชิงวัตถุ (Object-Oriented Model) 3.10 ฐานข้อมูลเชิงวตั ถุสัมพันธ์ (Object-relational Model) 3.11ภาษาท่ใี ชใ้ นระบบฐานข้อมลู 3.11.1 ภาษานิยามข้อมูล 3.11.2 ภาษาจดั การข้อมลู 3.11.3 ภาษาที่ใช้ในการควบคมุ ขอ้ มูล บทสรปุ คาถามท้ายบท เอกสารอา้ งองิ วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. อธิบายความหมายของสถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูลได้ถูกต้อง 2. อธบิ ายความหมายของสคีมา (Schema) และ อินสแตนซ์ (Instance) ได้ถูกต้อง 3. อธบิ ายความหมายของสถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล ระดับภายใน, ระดบั ความคิด, ระดบั ภายนอกได้ 4. แยกแยะความแตกตา่ งระหว่าง สถาปตั ยกรรมระบบฐานข้อมลู ระดบั ภายใน, ระดบั ความคิด, ระดบั ภายนอกได้ 5. อธบิ ายความหมายแบบจาลองฐานข้อมูลได้ 6. อธบิ ายขัน้ ตอนของฐานข้อมูลแบบลาดบั ช้นั ได้ การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกิจ

40 | บทที่ 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล 7. อธิบายข้นั ตอนของฐานข้อมลู แบบเครือขา่ ยได้ 8. อธบิ ายขัน้ ตอนของฐานข้อมลู แบบแบบสมั พันธ์ได้ 9. อธบิ ายความหมายของภาษาที่ใช้ในระบบฐานขอ้ มลู ได้ วิธสี อนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. วิธสี อน 1.1 นาเขา้ สบู่ ทเรียนโดยวดี ทิ ศั น์ 1.2 ใชว้ ธิ สี อนบรรยายแบบมีส่วนรว่ ม 1.3 ใช้วิธีสอนแบบกระบวนการกลมุ่ 2 กิจกรรมการเรียนการสอน 2.1 เปิดวดิ ที ศั นเ์ นอื้ หาสถาปตั ยกรรมระบบฐานข้อมลู เพื่อให้นักศกึ ษาเหน็ ภาพรวม ของสถาปตั ยกรรมระบบฐานขอ้ มลู 2.2 การบรรยายโดยใช้ PowerPoint 2.3 ใชก้ ระบวนการกลมุ่ โดยแตล่ ะกลมุ่ ให้คน้ ควา้ ข้อมูลและอภิปลายหน้าห้อง 2.4 นกั ศกึ ษาตอบคาถามท้ายบทเปน็ การบา้ น สอ่ื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนการบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธรุ กจิ บทท่ี 3. สถาปตั ยกรรมระบบฐานข้อมูล 2. PowerPoint 3. เว็บไซต์ YouTube 4. ใบงาน การวัดและประเมินผล 1. สงั เกตพฤติกรรมของนักศกึ ษาการมีสว่ นรว่ มในการถามตอบการบรรยาย 2. ตรวจผลการอภิปรายกล่มุ สงั เกตพฤติกรรมการนาเสนอผลการศกึ ษาหนา้ ชนั้ เรียน 3. ตรวจการตอบคาถามท้ายบท การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกิจ

บทที่ 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมลู และแบบจาลองข้อมลู (Database System Architecture And Data Model) ในบทน้ีจะกล่าวถึงสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบแนวความคิดในการ ออกแบบระบบฐานข้อมูลว่ามีขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลในอุปกรณ์และนาเสนอข้อมูล ว่ามีรูปแบบ ขั้นตอนการทางานของฐานข้อมูลอย่างไร ในยุคปัจจุบันมีการใช้งานข้อมูลท่ีหลากหลายและมีการใช้ งานฐานข้อมูลเป็นจานวนมาก ทาให้มีผู้พยายามคิดค้นและออกแบบจาลองโครงสร้างของข้อมูล รูปแบบในการจัดเก็บข้อมูล การคิดค้นแบบจาลองต่าง ๆ เพื่อให้สามารถจัดเก็บข้อมูลได้สะดวกและ สามารถเรียกใช้งานได้ง่าย ซึ่งผู้คิดค้นและออกแบบจาลองของฐานข้อมูลเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ของแบบจาลองเก่าๆ ที่สาคัญอีกท้ังเพื่อให้โครงสร้างข้อมูลสามารถใช้งานง่ายและมีความมั่นคง ซง่ึ โมเดลหลักๆของขอ้ มลู มวี ิวัฒนาการดังตอ่ ไปน้ี ตารางที่ 3.1 ยุคของจาลองของฐานข้อมูล ท่ีมา : Database Systems: Design, Implementation, and Management. (2009:35) จากตารางท่ี 3.1 จะพบว่าในการจัดเก็บข้อมูลได้มีการคิดค้นแบบจาลองต่าง ๆ ทาให้ สามารถ จัดเก็บขอ้ มูลหรอื เรียกใช้งานได้ง่ายและรวดเร็ว อีกท้ังเพื่อให้โครงสร้างข้อมูลสามารถใช้งาน ง่ายและมีความมั่นคง การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกจิ นริ นั ดร ผานจิ

42 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล ภาพที่ 3.1 ววิ ัฒนาการระบบฐานขอ้ มูล ท่ีมา : Beginning Database Design. (2006:7) จากภาพท่ี 3.1 จะพบวา่ แนวโน้มของระบบฐานข้อมูลจะมีโครงสรา้ ง และการทางานเปน็ แบบเชงิ วตั ถุ และในสว่ นของระบบฐานข้อมูลเชงิ สมั พนั ธ์ (Relational Database) ก็ได้รับความนยิ ม ในปัจจบุ ัน 3.1 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมลู กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. (2521:20) กล่าวไว้ว่า สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลเป็นการอธิบาย ถึงรูป แบ บ แล ะโครงสร้างของข้อมูล ภ าย ใน ระบ บ ฐ าน ข้อมูล โด ยทั่ วไป ใน แน วร ะดั บ ความคิด โด ย ไม่ข้ึนกับโครงสร้างของระบบฐานข้อมูลน้ัน ๆ ซึ่งถึงแม้ว่าจะไม่สามารถควบคุมทุกระบบฐานข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบฐานข้อมูลท่ีมีขนาดเล็ก ซ่ึงอาจจะมีโครงสร้างไม่ครบตามท่ีกาหนดไว้ ในสถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล แต่อย่างไรก็ตามสถาปัตยกรรมของฐานข้อมูลก็จัดเป็นรูปแบบ และโครงสร้าง ที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลโดยส่วนใหญ่สาหรับสถาปัตยกรรมของของระบบฐานข้อมูล ท่ีนิยมใช้ได้แก่ สถาปัตยกรรม ANSI/SPARC ซึ่งกาหนดขึ้นโดย Study Group on Data base Management System มณโี ชต สมานไทย. (2546:19) ไดอ้ ธบิ ายไว้วา่ สถาปัตยกรรมของระบบฐานขอ้ มูล ANSI/SPARC ถูกออกแบบมาใหม้ ีโครงสรา้ งแบง่ ออกเป็น 3 ระดับคือ 1. ระดบั ภายใน 2. ระดับแนวคิด 3. ระดบั ภายนอก เพือ่ ให้มคี วามอสิ ระต่อกนั โดยถ้าเกิดการเปลยี่ นแปลงในระดบั ใดระดับหนึ่งก็จะไม่สง่ ผลต่อ ระดบั อน่ื ๆ พนิดา พานชิ กลุ . (2552:8) ได้อธิบายไว้ว่า สถาปัตยกรรมของระบบฐานขอ้ มูล กาหนดข้ึนมา วัตถุประสงค์ เพื่อจาแนกมุมมองที่มีต่อข้อมูลแต่ละกลุ่มออกจากกันโดยสามารถแบ่งออกเป็นสาม ระดบั ไดแ้ ก่ การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่ืองานธุรกิจ

บทที่ 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล | 43 1. Internal 2. Conceptual 3. External วิเชยี ร เปี่ยมชัยสวัสดิ.์ (2547:14). ระบบฐานข้อมลู จะมีประโยชน์กต็ ่อเมอื่ ผใู้ ชส้ ามารถเขา้ ถึง ข้อมูล หรือจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นการท่ีผู้ใช้ฐานข้อมูลส่วนใหญ่ไม่ใช่ ผู้เช่ียวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ ในการออกแบบระบบฐานข้อมูลจึงได้มีการซ่อนรายละเอียดที่ ซับซ้อนต่าง ๆ ไว้ภายใน โดยท่ีผู้ใช้จะได้เห็นข้อมูลในรูปแบบของข้อมูลในเชิงนามธรรมเท่านั้น และ สามารถมองเห็นได้ในมุมมองท่ีแตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 1975 หน่วยงาน American National Standards Institute ได้นาเสนอสถาปตั ยกรรมฐานขอ้ มลู ทปี่ ระกอบดว้ ยสามระดับดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ระดับภายใน (Internal level) หรือ ระดับกายภาพ (Physical level) เป็น ขอ้ มูลนามธรรมระดบั ลา่ งสดุ ใชอ้ ธิบายว่าขอ้ มลู จดั เก็บอย่างไร 2. ระดบั แนวคิด (Conceptual level) บางทีเรียกว่า ระดับตรรกะ (Logical level) เป็นข้อมลู เชงิ นามธรรมชว่ ยอธบิ ายว่ามขี ้อมลู อะไรบา้ ง 3.ระดับภายนอก (External) หรือ ระดับวิว (View) เป็นระดับสูงสุดที่อธิบาย เก่ียวกับส่วนตา่ ง ๆ ของฐานขอ้ มลู และตดิ ตอ่ กบั ผู้ใช้งาน Peter Rob and Carlos Coronel. ( 2009: 48) ก ล่ า ว ไ ว้ ว่ า American National Standards Institute (ANSI) ได้กาหนดสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล และมาตรฐานโครงสร้างของ แบบจาลองฐานข้อมูล โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ โดยแต่ละระดับมีความเป็นอิสระจากกัน การ เปลี่ยนแปลงในระดับหน่งึ จะไมม่ ีผลกระทบกับอีกระดบั หนึ่ง ได้แก่ซง่ึ แสดงในภาพท่ี 3.2 ภาพที่ 3.2 Data abstraction levels ที่มา : Database Systems: Design, Implementation, and Management. (2009:49) การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกิจ

44 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล สรปุ ไดว้ า่ สถาปัตยกรรมฐานขอ้ มูลเปน็ การอธบิ ายถึงรปู แบบและโครงสร้างของข้อมูลภายใน ระบบฐานข้อมลู เปน็ หลกั การเพื่อให้ผผู้ ลติ โปรแกรมฐานข้อมลู นาไปประยุกตใ์ นการออกแบบ ฐานขอ้ มูลของตนเอง โดยแบ่งออกเปน็ 3 ระดับ ไดแ้ ก่ 1. ระดับภายนอก (External) 2. ระดับแนวคิด (Conceptual level) 3. ระดับภายใน (Internal) ภาพท่ี 3.3 สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล ANSI/SPARC ทีม่ า : Database Systems (Fourth Edition). (2005:38) 3.2 สคีมา (Schema) และ อนิ สแตนซ์ (Instance) ในเนื้อหาเกย่ี วระบบฐานข้อมูล 1. สคมี า (Schema) หมายถึง โครงสร้างข้อมูลหรอื นิยามข้อมลู 2. อนิ สแตนซ์ (Instance) หมายถงึ ขอ้ มูลท่ีเก็บอยใู่ นโครงสร้างขอ้ มลู ดงั ภาพที่ 3.4 การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่ืองานธุรกจิ

บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล | 45 ตวั อย่าง สคีมาและอินสแตนซ์ สคีมา (Schema) อินสแตนซ์ (Instance) ภาพที่ 3.4 ตาราง Poduct ทมี่ า : ผูเ้ ขยี น 3.3 สถาปัตยกรรมในระดบั ภายนอก (External Level) หรือเรียกอีกอย่างว่า ระดับวิว (View) เป็นส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้งาน ซึ่งใช้อธิบายมุมมอง โครงสรา้ งของฐานข้อมูล เป็นระดับที่มีการนาข้อมูลจากฐานข้อมูลไปใช้งานสาหรับผู้ใช้งานเข้าใจง่าย โดยผใู้ ช้แต่ละคนเฉพาะขอ้ มลู ที่ตนเองมสี ทิ ธเิ ท่าน้ัน ภาพที่ 3.5 มมุ มองของข้อมูล ผผู้ ลติ สินคา้ OTOP ท่ีมา : ผเู้ ขยี น การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่ืองานธุ รกิจ

46 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล ภาพที่ 3.6 มมุ มองของข้อมูลสินค้า OTOP ท่ีมา : ผู้เขยี น ผู้ใช้แต่ละคนเฉพาะข้อมูลทต่ี นเองมสี ทิ ธิ 6 ภาพท่ี 3.7 มุมมองการมองเห็นขอ้ มูลที่แตกต่างกัน ท่มี า : ผู้เขียน ภาพที่ 3.7 จะพบวา่ ผู้ใชง้ านแต่ละคนจะเหน็ ข้อมูลทแ่ี ตกต่างกนั หรือเหมือนกันก็ได้ท้งั ๆ ที่ข้อมูลเหล่านนั้ จัดเกบ็ อยใู่ นฐานข้อมลู แหลง่ เดยี วกัน การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่ืองานธุรกิจ

บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล | 47 3.4 สถาปตั ยกรรมในระดับความคดิ (Concept Level) เป็นระดับมุมมองของฐานข้อมูลท่ีอธิบายให้ทราบว่ามีข้อมูลใดบ้างที่ถูกจัดเก็บในฐานข้อมูล และข้อมูลเหล่าน้ันสัมพันธ์กันอย่างไรจัดว่าเป็นการกล่าวถึงโครงสร้างของข้อมูลในระดับแนวคิด ซึ่งเป็นภ าพของโครงสร้างข้อมูลท่ีใช้แทนโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูล ที่แท้จริงท่ีเก็บอยู่ใน ฐานข้อมูล เพื่อให้ง่ายต่อการอธิบายถึงโครงสร้างของของข้อมูลต่าง ๆ ในฐานข้อมูลน้ัน การอธิบาย โครงสร้างข้อมูลในระดับนี้จะต้องนาเสนอเฉพาะโครงสร้างข้อมูลท่ัวไปโดยไม่นาเสนอโครงสร้าง ทางกายภาพ (พนิดา พานิชกุล, 2552:9) เป็นระดบั ทีใ่ ช้การออกแบบมุมมองของฐานข้อมูล เชน่ การอธิบายโครงสรา้ งฐานข้อมูลด้วย ER-Diagram ซงึ่ ไม่ขนึ้ กบั ฮาร์ดแวร์ (Hardware independence) และไมข่ ้ึนกับซอฟต์แวร์ใด ๆ (Software independence) ภาพที่ 3.8 ER-Diagram โครงสร้างขอ้ มลู การเรยี นของนักศกึ ษา ท่ีมา : Database Systems: Design, Implementation, and Management. (2009:50) 3.5 สถาปตั ยกรรมในระดับภายใน (Internal Level) ระดบั ภายในจะมีโครงสรา้ งภายใน (Internal Schema) ท่อี ธบิ ายเก่ยี วกับโครงสรา้ งการ จดั เกบ็ ข้อมลู เชงิ กายภาพของฐานขอ้ มลู วา่ มีการกาหนดโครงสรา้ งข้อมูล เพอื่ การจัดเกบ็ ข้อมลู อยา่ งไร เชน่ รูปแบบโครงสรา้ งท่ใี ช้จัดเก็บเปน็ โครงสร้างข้อมลู แบบเรียงลาดบั ดชั นี หรือแบบบีทรี เปน็ ตน้ ท่สี าคญั โครงสร้างข้อมูลภายในระดบั นีจ้ ะส่งผลต่อประสิทธิภาพด้านความเร็วของการเข้าถงึ ข้อมูล ซึง่ ระดับภายในยงั เกยี่ วข้องกับสงิ่ ตอ่ ไปนี้ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่ืองานธุ รกจิ

48 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล 1. การจัดการพน้ื ท่เี พ่ือการจัดเกบ็ ข้อมูลและการเรียงลาดับดัชนขี ้อมูล 2. การจดั เก็บรายละเอียดของเรคคอร์ด 3. การจดั วางตาแหน่งของเรคคอร์ด 4. การบีบอดั ข้อมลู และเทคนิคการเข้ารหัสขอ้ มูล โครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน ในมุมมองของผู้ใช้งานฐานข้อมูลจะไม่สามารถเห็น รายละเอียดทางกายภาพในระดับนี้ได้เลย เพราะรายละเอียดของระดับน้ีจะถูกซ่อนไว้หมด นอกจาก ผู้บรหิ ารฐานข้อมูลที่สามารถเปล่ียนแปลงรูปแบบโครงสร้างข้อมูลเหล่านี้ได้ โดยจุดประสงค์หลักของ การจัดโครงสร้างข้อมูลในระดับนี้ เพ่ือให้การปฏิบัติการกับข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ันระดับภายในจึงเป็นส่วนท่ีพิจารณาถึงความเร็วในการปฏิบัติกับข้อมูล (โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์, 2551:63) ระดับภายใน (Internal) เปน็ ระดับที่อธบิ ายว่า ข้อมลู มีการจัดเกบ็ อย่างไร ภาพท่ี 3.9 สถาปตั ยกรรมใน 3 ระดับ ท่ีมา : Design, Implementation, and Management. (2009:51) ซงึ่ สรปุ สถาปัตยกรรมใน 3 ระดบั ได้ดังน้ี ระดับภายนอก (External) ระดับที่อยนู่ อกสดุ ทาหนา้ ทีต่ ิดต่อสอ่ื สารกับผใู้ ช้งาน ซง่ึ ไม่ ขึ้นกับฮารด์ แวร์ (Hardware independence) และไม่ขน้ึ กับซอฟตแ์ วร์ใด ๆ (Software independence) ระดับแนวคดิ (Conceptual level) ระดับที่อธบิ ายรูปแบบของโครงสรา้ งฐานขอ้ มลู ซึ่งไม่ขึ้นกับฮารด์ แวร์ (Hardware independence) และไม่ขนึ้ กับซอฟต์แวร์ใด ๆ (Software independence) การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุ รกจิ

บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล | 49 ระดับภายใน (Internal) ระดับที่อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ ของฐานข้อมูล ซึ่งขึ้นกับซอฟต์แวร์ DBMS (Software dependence) ซึ่งแล้วแต่รูปแบบจาลอง ข้อมูลของแต่ละชนิด เช่น ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น (Hierarchical Data Model), ฐานข้อมูลแบบ เครอื ข่าย (Network Data Model), ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พันธ์ (Relational Database) เปน็ ตน้ ภาพรวมสถาปตั ยกรรมฐานข้อมูลสามารถสรุปได้ ดงั นี้ ภาพที่ 3.10 ภาพรวมสถาปตั ยกรรมฐานข้อมลู ท่มี า : Design, Implementation, and Management. (2009:53) 3.6 แบบจาลองฐานขอ้ มูล (Data Model) กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. (2521:12) กล่าวไว้ว่า จากอดีตจนถึงปัจจุบันฐานข้อมูลที่ถูกคิดค้น พัฒนาขึ้นมีหลากหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบมีโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลท่ีแตกต่างกัน แต่การ การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกิจ

50 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล นาเสนอโครงสร้างข้อมูลแต่ละรูปแบบ ให้เข้าใจงา่ ยนั้นต้องอาศัยแบบจาลองฐานขอ้ มลู เปน็ เครื่องมือ ในการนาเสนอ แบบจาลองข้อมูลเป็นแบบจาลองท่ีใช้อธิบายถึงโครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ภายในฐานข้อมูล แบบจาลองข้อมูลน้ันแบ่งออกเป็นหลายชนิด ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการ นาไปใช้งาน กล่าวคือข้ึนอยู่กับแนวคิดหรือมุมมองที่ต้องการอธิบายโครงสร้างของข้อมูล เช่นหากนา แบบจาลองข้อมูลไปอธิบายให้ผู้ใชท้ ั่วไปได้ทราบว่าขอ้ มูลในระบบมอี ะไรบ้าง ตอ้ งใช้แบบจาลองข้อมูล ที่เรียกว่า Conceptual Model ท่ีสามารถเข้าใจได้ง่ายและไม่มีรายละเอียดทางด้านเทคนิคมาก เกินไป แต่ถ้าเกิดต้องการอธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ จะต้องใช้แบบจาลองข้อมูลที่ เรียกว่า Physical Data Model ซ่ึงเป็นแบบจาลองท่ีแสดงรายละเอียดทางเทคนิคเหมาะสาหรับผู้ใช้ ที่มีความชานาญหรอื ประสบการณ์ดา้ นฐานข้อมลู 3.6.1 คณุ สมบตั แิ บบจาลองฐานขอ้ มูลท่ีดี มคี ุณสมบตั ิดงั ตอ่ ไปนี้ (โอภาส เอ่ยี มสิรวิ งศ์, 2551:58) 1. แบบจาลองข้อมลู ทด่ี จี ะต้องง่ายต่อการเข้าใจ 2. แบบจาลองข้อมูลที่ดีตอ้ งมสี าระสาคัญและไมซ่ บั ซ้อน 3. แบบจาลองข้อมูลที่ดตี ้องมกี ารยืดหย่นุ และง่ายต่อการปรับปรุงในอนาคต 3.7 ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชั้น (Hierarchical Data Model) ฐานข้อมูลแบบลาดบั ช้นั คิดค้นข้ึนในปี ค.ศ. 1960 โดยบรษิ ทั ไอบีเอม็ ร่วมกับ North American Rockwell สาหรบั ใช้ในเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ จัดการจานวนขนาดข้อมลู ขนาดใหญ่ โดย ได้ออกจาหนา่ ยในช่วงปี ค.ศ. 1970-1980 เปน็ ฐานข้อมลู ที่นาเสนอข้อมูลและความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ข้อมูลในรูปแบบของ โครงสร้างต้นไม้ (Tree Structure) กลบั หวั ภาพท่ี 3.11 โครงสรา้ งต้นไม้กลบั หวั ทมี่ า : http://www.freepix.com การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอื่ งานธุรกิจ

บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล | 51 เป็นโครงสร้างลักษณะคล้ายต้นไม้เป็นลาดับช้ัน ซ่ึงแตกออกเป็นก่ิงก้านสาขา โดยแต่ละกิ่ง หลักจะมกี ่ิงยอ่ ยได้หลายกงิ่ ซง่ึ เปน็ ความสัมพันธ์แบบ One to Many เพื่อต้องการใหเ้ ปน็ ฐานขอ้ มูลที่ สามารถกาจัดความซ้าซ้อน (Data Redundancy) หรอื ความสัมพนั ธแ์ บบพ่อลูก คอื พ่อ (Parent) 1 คนมลี ูก (Child) ไดห้ ลายคน แตล่ กู มีพ่อได้ คนเดยี ว ภาพท่ี 3.12 โครงสร้างต้นไม้กลับหัว ทีม่ า : Database Systems: Design, Implementation, and Management. (2009:36) ตัวอย่าง ฐานข้อมลู ธนาคาร เป็นการเก็บข้อมลู บัญชลี ูกคา้ และข้อมลู ลูกค้า โดยลูกคา้ แต่ละคนมีได้ หลายบัญชี ลูกค้า ชอ่ื นามสกลุ จงั หวัด บัญชี หมายเลขบัญชี จานวนเงิน ภาพที่ 3.13 ตัวอยา่ งฐานข้อมลู แบบลาดับชั้น ทีม่ า : ผู้เขยี น การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกิจ

52 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล จากโครงสรา้ งฐานข้อมลู แบบลาดับชั้น ลูกคา้ นิรันดร มสี มดุ บญั ชี 1 เล่ม คือ Acc1 มีเงนิ 5000 บาท ลกู คา้ เขมิกา มสี มุดบญั ชี 2 เลม่ คอื Acc2 มเี งนิ 900 บาท Acc3 มีเงิน 1200 บาท ลูกค้า แอมมี่ มสี มุดบัญชี 2 เล่ม คือ Acc3 มเี งิน 1200 บาท Acc4 มีเงิน 3000 บาท 3.6.2 ข้อดีของฐานขอ้ มูลแบบลาดับช้นั (Hierarchical Data Model) 1. เป็นระบบฐานข้อมลู ท่ีมรี ะบบโครงสรา้ งซับซอ้ นน้อย 2. ลักษณะโครงสร้างเข้าใจง่าย 3. เหมาะสาหรบั งานท่ตี ้องการค้นหาขอ้ มูลแบบเรยี งลาดับต่อเนอื่ ง 4. ทุก ๆ ระเบยี น Parent สามารถมีระเบียนลูก ได้ 5. โครงสรา้ งเหมาะต่อข้อมลู แบบ One to Many 3.6.3 ข้อด้อยของฐานขอ้ มูลแบบลาดบั ชัน้ (Hierarchical Data Model) 1. โครงสร้างไมส่ นบั สนุ ความสมั พันธ์แบบ Many to Many 2. ระเบยี นลกู ไมส่ ามารถมี ระเบยี นพ่อหลายคนได้ เช่น นักศึกษาสามารถ ลงทะเบยี นไดม้ ากกวา่ 1 วชิ า 3. มคี วามยืดหยุ่นน้อย เพราะการปรับโครงสร้างค่อนขา้ งยุ่งยาก 4. มโี อกาสเกิดความซ้าซอ้ นมากทส่ี ดุ เม่อื เทียบกับระบบฐานข้อมูลแบบโครงสร้าง อ่ืน 5. การเข้าถึงข้อมลู จะใช้เวลานานในการค้นหา เน่ืองจากจะต้องเริ่มตน้ สบื คน้ ตั้งแต่ ตน้ กาเนดิ ของข้อมลู 6. การพัฒนาโปรแกรมเรยี กใชข้ ้อมูลยุ่งยาก 3.8 ฐานข้อมลู แบบเครือข่าย (Network Data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายถูกพัฒนามาจากฐานข้อมูลแบบลาดับช้ัน เพ่ือให้สามารถสร้าง ความสัมพันธ์ข้อมูลท่ีซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น โดยอนุญาตให้ เกิดความสัมพันธ์แบบ Many to Many ได้ หรือ 1 Child สามารถมี Parent ได้มากกว่า 1 Parent ซึ่งแกป้ ัญหาความซ้าซ้อนของข้อมลู (Data Redundancy) การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกจิ

บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล | 53 ภาพที่ 3.14 ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ข่าย (ระบบจาหนา่ ยสินค้า) ทีม่ า : Database Systems: Design, Implementation, and Management. (2009:38) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายถือวา่ มโี ครงสรา้ งท่ีซับซ้อนทาใหก้ ารปรับปรุงแกไ้ ขข้อมูลมีความ ยุ่งยากตามไปด้วย ด้วยโครงสร้างทม่ี คี วามซบั ซ้อนถ้าหากมีการปรบั แก้โครงสรา้ งข้อมลู จะต้องมีการ ปรับแกโ้ ปรแกรมท่เี ชอ่ื มตอ่ ฐานข้อมลู ดว้ ย 3.9 ฐานขอ้ มลู เชิงสมั พันธ์ (Relational Database) วิเชียร เป่ียมชัยสวัสดิ์ (2547:37) กล่าวว่า ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลที่ใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) ซึ่งผู้คิดค้นโมเดล เชิงสัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd ใน ค.ศ. 1970 โดยใช้หลักพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ ระบบฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง มีการเก็บข้อมูลในรูปแบบตาราง เรียกว่า รีเลชัน ทาให้ เข้าใจง่ายและการประยุกต์ใช้งานร่วมกับภาษาคอมพิวเตอร์ทาได้ง่าย จึงทาให้ระบบฐานข้อมูลเชิง สมั พนั ธ์เป็นระบบฐานขอ้ มลู ได้รบั ความนยิ มมากท่สี ุดในปัจจุบนั โครงสรา้ งของฐานขอ้ มูลเชิงสมั พันธ์ จะอยู่ในลักษณะของตาราง 2 มติ ิ เรียกวา่ รีเลชัน (Relation) ประกอบไปด้วย ทูเพิล (Tuple) และแอตทริบิวต์ (Attributes) Customer แอตทริบวิ ต์ ทเู พิล ภาพท่ี 3.15 โครงสรา้ งรเี ลชนั ทีม่ า : ผเู้ ขียน การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพือ่ งานธุรกจิ

54 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล ซงึ่ จะอธบิ ายรายละเอียดในบทท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) 3.10 ฐานข้อมลู เชิงวัตถุ (Object Oriented Database) ปัจจุบันเป็นยคุ โลกข้อมูลสาร การสือ่ สารข้อมูลข่าวสารมีความซบั ซ้อนและเพม่ิ ปริมาณการ สื่อสารมากข้ึน อีกทั้งรูปแบบของข้อมูลมีความซับซ้อนและมีขนาดใหญ่ข้ึน ตัวอย่างเช่น รูปภาพ (Image) หรือภาพกราฟิกส์ (Graphics) ข้อมูลการทดลองวิทยาศาสตร์ท่ีต้องเก็บตัวเลขทศนิยมเป็น จานวนมาก ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือส่ือมัลติมีเดีย เป็นต้น จึงมีผู้คิดค้นแบบจาลองข้อมูลข้ึนมาใหม่ โดยมองระบบการจัดเก็บข้อมูลเหล่าน้ันใหม่โดยมองว่าข้อมูลเหล่านั้นเป็น วัตถุ หรือ ออบเจ็กต์ โดยภายในวัตถุเก็บทั้งข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุรวมไว้ในวัตถุนั้นเอง โดยมีการกาหนด โครงสร้างข้อมูลต้นแบบของวัตถุเรียกว่า คลาส และเรียกฐานข้อมูลน้ีว่า ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object Oriented Database) และโปรแกรมท่ีทาหน้าท่ีบริหารจัดการจัดเก็บวัตถุต่าง เรียกว่า ระบ บ จัด การฐาน ข้อมู ล เชิงวัตถุ Object-Oriented Database Management System (OODBMS) 1) คลาส (Class) หมายถึง ต้นแบบ, แมแ่ บบ หรือพิมพเ์ ขยี ว (Blue Print) สาหรบั กาหนดส่วนประกอบต่าง ๆ ให้กับออบเจ็ค โดยภายในคลาสจะมีการกาหนด 2 ส่วนประกอบ หลักๆคือ คุณลักษณะ (Attributes) และพฤติกรรม (Operations หรือ Methods) ชื่อคลาส Attributes Methods ภาพท่ี 3.16 แสดงตัวอยา่ งแผนภาพคลาสไดอะแกรม ทีม่ า : ผู้เขยี น แผนภาพคลาสไดอะแกรม ประกอบด้วย 1. ชอ่ื คลาส 2. คุณลักษณะ (Attributes) 3. พฤติกรรม (Operations หรือ Methods) การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพือ่ งานธุรกจิ

บทที่ 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล | 55 vehicle - speed : int - color : string - brand : string - oil : string + run() + stop() + turnLeft() + turnRight() ภาพที่ 3.17 แผนภาพคลาสไดอะแกรม vehicle ทีม่ า : ผู้เขยี น 2) ออบเจค็ (Object) หรืออินสแตนซ์ (Instance) หมายถึง วตั ถทุ ี่สรา้ งขนึ้ จาก คลาส โดยออบเจ็คจะถูกสร้างขึน้ มาไดจ้ ะต้องแมค่ ลาสเป็นต้นแบบก่อนเสมอ car1 คลาส vehicle car2 car3 ภาพที่ 3.18 สรา้ งออบเจ็คจากคลาส vehicle ทม่ี า : ผเู้ ขยี น การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกจิ

56 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล จากภาพที่ 3.18 แสดงการสร้างออบเจค็ car1, ออบเจค็ car2, ออบเจค็ car3 ซง่ึ ออบเจ็ค ทั้ง 3 ออบเจค็ สร้างมาจากคลาส vehicle และคลาสต่างๆสามารถมีความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง Class ที่ทางานรว่ มกัน เสมือนวา่ เม่ือ สร้างเปน็ วตั ถุ ในแตล่ ะวัตถุสามารถประกอบด้วยวัตถอุ ่นื ๆ ได้ ดงั ภาพ 3.19 ภาพท่ี 3.19 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างวตั ถุ ท่มี า : http://people.cs.pitt.edu/~chang/156/images/fig197.gif. (Retrieved: December , 5, 2017) วัตถแุ อรร์ ถ วัตถุเครื่องเสยี ง วัตถเุ ครอื่ งยนต์ วตั ถรุ ถยนต์ ภาพที่ 3.20 ความสมั พันธ์ระหวา่ งวัตถุ ทีม่ า : ผเู้ ขียน การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล | 57 จากภาพที่ 3.20 จะพบว่าวัตถรุ ถยนต์ประกอบด้วย วตั ถุเครอ่ื งยนต์, วัตถแุ อร์รถ, วตั ถุเครื่อง เสียง เข้าด้วยกัน โดยคุณสมบัตแิ บบจาลองฐานขอ้ มลู เชิงวตั ถุดังน้ี 1. วัตถุ (Object) คือนามธรรมของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่บนโลกนี้ เช่น เก้าอ้ี, รถยนต์, การลง ทะบยี นเรียน เปน็ ต้น 2. แอตทรบิ ิวต์ (Attributes) อธิบายคณุ สมบัตขิ องวตั ถุ เช่น วัตถุ STUDENT ประกอบดว้ ย แอตทริบิวต์ รหสั นกั ศึกษา, ชื่อนกั ศึกษา, วันเกดิ , สาขา, วนั ทเี่ ข้าศกึ ษา เป็นตน้ 3. วัตถุ ถูกสร้างมาจากคลาส โดยวัตถุท่ีสร้างจะเป็นอิสระต่อกัน โดยแต่ละวัตถุจะมี แอตทรบิ ิวต์ และเมธอดเป็นของมนั เอง 4. คลาสสามารถถ่ายทอดคณุ สมบตั ไิ ด้ 5. คลาสสามารถมคี วามสมั พนั ธก์ ับคลาสอืน่ ๆได้ Class เปน็ แม่แบบนาไปใช้ ไมไ่ ดถ้ ้าจะใช้ตอ้ งนาไปสรา้ ง เปน็ วัตถุ (Object) กอ่ นครับ ภาพท่ี 3.21 การเปรยี บเทยี บระหวา่ ง OO, UML และ ER models ทมี่ า : Database Systems: Design, Implementation, and Management. (2009:44) จากภาพท่ี 3.21 เป็นตัวอย่างเปรียบเทียบใหเ้ หน็ ถึงโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลของ ฐานขอ้ มลู เชิงสมั พันธซ์ ึ่งอธิบายในรูปแบบ ER model และโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลของฐานขอ้ มูล เชิงวตั ถุ จะพบว่าการจัดเก็บข้อมูลของวตั ถจุ ะจัดเกบ็ ทั้งข้อมลู และความสมั พันธ์กับวัตถอุ น่ื ๆ ในวัตถุ ด้วย การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่ืองานธุรกจิ

58 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล 3.11 บทสรปุ ในยุคปัจจุบันมีการใช้งานข้อมูลที่หลากหลายและมีการใช้งานฐานข้อมูลเป็นจานวนมาก ทา ให้มีผู้พยายมคิดค้นและออกแบบจาลองโครงสร้างของข้อมูล รูปแบบในการจัดเก็บข้อมูล การคิดค้น แบบจาลองต่าง ๆ เพ่ือใหส้ ามารถจดั เก็บข้อมูลได้สะดวกและสามารถเรียกใช้งานได้งา่ ย ยคุ ที่ 1 แบบจาลองยุคแรก ๆ จะเป็นแบบไฟล์ซิสเต็ม ระบบจัดเก็บคล้ายคลึงกับการจัดเก็บ แฟ้มเอกสารต่าง ๆ ซ่ึงแต่ละหน่วยงานก็จะมีแฟ้มข้อมูลของตนเอง และมีการพัฒนาโปรแกรมในการ ใช้งานเฉพาะซ่ึงทาให้เกิดความซ้าซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล ระบบไฟล์ซิสเต็มใช้สาหรับเคร่ืองไอบีเอ็ม เมนเฟรม ยุคท่ี 2 แบบจาลองและซึ่งเป็นการปรับปรุงแบบจาลองจากแบบ File system เป็น ฐานข้อมูลแบบลาดับช้ัน (Hierarchical Model) โดยรูปแบบความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก ทาให้มี ความสัมพันธ์เป็นแบบ 1 to Many และฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Data Model) ได้ถูก พัฒนาในการแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในฐานข้อมูลแบบลาดับช้ัน Hierarchical Model โดยรองรับ ความสมั พนั ธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่มได้ โดยเปน็ ระบบฐานข้อมลู ท่ีมคี วามซับซ้อนมากกว่าแบบ ยุคท่ี 3 เป็นยุคที่มีการใช้ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Data Model) เป็นแบบจาลอง ทีอ่ อกแบบโครงสรา้ งตารางเป็น 2 มิติ คือ คอลัมน์และแถว ซ่ึงใชห้ ลักทางคณิตศาสตร์เข้ามาอธิบาย โครงสร้างการทางานของแบบจาลอง ปัจจุบันกเ็ ปน็ ที่นยิ มเน่ืองจากเข้าใจง่ายและมีการเขา้ ถึงสทิ ธ์ไิ ด้ที่ หลากหลาย ยุคที่ 4 เป็นยุคที่มีการปรับเปลี่ยนแบบจาลองฐานข้อมูลจากฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ไปเป็น ฐานข้อมูลเชิงวตั ถุ (Object-Oriented Model) เน่ืองจากพยายามสนับสนุนการเขียนโปรแกรมในยุค ใหม่ที่เป็นลักษณะการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) โดยการจัดเก็บ ข้อมลู จะจัดเกบ็ ในรูปแบบของวตั ถุ แทนการเกบ็ ในรูปแบบตาราง 2 มติ ิ ยคุ ที่ 5 เป็นยุคเปน็ แนวคดิ ในอนาคตโดยมีการจดั เกบ็ ในรูปแบบ XML การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่ืองานธุรกิจ

บทที่ 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล | 59 คาถามท้ายบท 1. สถาปัตยกรรมฐานขอ้ มลู หมายถงึ อะไร 2. สถาปัตยกรรมของระบบฐานขอ้ มูล ANSI/SPARC มโี ครงสรา้ งอยา่ งไรบา้ ง 3. สคมี า (Schema) และ อนิ สแตนซ์ (Instance) แตกต่างกนั อยา่ งไร 4. แบบจาลองฐานข้อมลู (Data Model) หมายถงึ อะไร 5. คุณสมบัตแิ บบจาลองฐานขอ้ มลู ทีด่ ี ควรมีลักษณะเชน่ ใด 6. ฐานขอ้ มูลแบบเครอื ข่าย ได้พัฒนาตอ่ จากฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชน้ั โดยแกป้ ัญหาฐานข้อมูล แบบลาดบั ชนั้ อย่างไร 7. ฐานขอ้ มูลแบบลาดับช้นั ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์ แตกต่างกันอย่างไร 8. คลาสและออบเจ็คตา่ งกันอยา่ งไร การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกจิ

60 | บทท่ี 3 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล เอกสารอ้างอิง กติ ติ ภกั ดีวฒั นะกุล. (2521). ระบบฐานข้อมูล (Database Systems). กรงุ เทพฯ:เคทีพีคอม แอนด์คอนซัลท.์ มณโี ชต สมานไทย. (2546). คู่มอื การออกแบบฐานขอ้ มลู และภาษา SQL ฉบับผู้เริม่ ต้น. กรุงเทพฯ: Inforpres Developer Book. พนดิ า พานชิ กุล. (2552). การออกแบบ พฒั นา และดแู ลระบบฐานข้อมูล. กรงุ เทพฯ:เคทพี ีคอม แอนด์คอนซลั ท.์ วิเชียร เป่ยี มชัยสวสั ด.์ิ (2547). ระบบฐานข้อมลู (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์ ส.ส.ท. โอภาส เอีย่ มสิรวิ งศ์. (2551). ระบบฐานข้อมลู (Database Systems). กรงุ เทพฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ . Peter Rob and Carlos Coronel. (2009). Database Systems: Design, Implementation, and Management. Massachusetts: Course Technology. Gavin Powell. (2006). Beginning Database Design. Indiana: Wiley Publishing. THOMAS M. CONNOLLY. (2005). Database Systems (Fourth Edition). Essex: Pearson Education Limited. การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกิจ

บทท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พันธ์ | 61 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ หัวข้อเน้อื หา 4.1 ฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพนั ธ์หมายถึง 4.2 โครงสรา้ งฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 4.3 รีเลชัน (Relation) 4.3.1คุณสมบัติของรีเลชัน 4.4 เอนทติ ี (Entity) 4.5 รเี ลชันชพี (Relationship) 4.6 แอตทรบี วิ ต์ (Attribute) 4.6.1 คุณสมบัตขิ องรเี ลชัน 4.7 โดเมน (Domain) 4.8 ทเู พลิ (Tuple) 4.9 ดกี รี (Degree) และคาร์ดนิ าลิตี (Cardinality) 4.10 คีย์ (Key) 4.11 อนิ ทกิ รตี ี (Integrity) บทสรุป คาถามท้ายบท เอกสารอ้างอิง วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. อธบิ ายความหมายของฐานข้อมูลเชงิ สัมพนั ธ์ได้ 2. อธิบายโครงสร้างฐานข้อมลู เชงิ สมั พันธ์ได้ 3. อธิบายความหมายรีเลชัน่ และคณุ สมบตั ิของรีเลช่นั ได้ 4. สามารถวิเคราะห์ได้วา่ ข้อมูลใดควรเป็น เอนทติ ี้, รเี ลชั่นชพี หรือแอตทรบี ิวต์ 5. อธบิ ายโดเมน และทูเพิลได้ 6. สามารถระบดุ ีกรี และคารด์ ินาลิตีได้ 7. อธบิ ายความหมายของคยี ์ (Key) และวิเคราะห์ได้วา่ ส่วนใดคือคยี ์ 8. อธิบายกฏอนิ ทิกรีตีได้ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่ืองานธุ รกิจ

62 | บทท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ วิธีสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 นาเข้าสู่บทเรียนโดยวดี ิทศั น์ 1.2 ใช้วธิ สี อนบรรยายแบบมสี ่วนร่วม 1.3 ใช้วธิ สี อนแบบกระบวนการกลุ่ม 2 กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1 เปิดวิดีทัศน์เนื้อหาฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์ พร้อมทัง้ ตัง้ โจทย์ประเด็นคาถามกอ่ น เรยี น 2.2 การบรรยายโดยใช้ PowerPoint 2.3 ใชก้ ระบวนการกลุ่ม โดยแตล่ ะกล่มุ ให้ค้นคว้าข้อมลู และอภิปลายหน้าห้อง 2.4 นกั ศกึ ษาตอบคาถามท้ายบทเป็นการบ้าน สอื่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน รายวชิ าการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธรุ กจิ บทที่ 4 ฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพันธ์ 2. PowerPoint 3. เว็บไซต์ YouTube 4. ใบงาน การวัดและประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรมของนักศึกษาการมีส่วนร่วมในการถามตอบการบรรยาย 2. ตรวจผลการอภปิ รายกลมุ่ สงั เกตพฤติกรรมการนาเสนอผลการศกึ ษาหนา้ ชั้นเรยี น 3. ตรวจการตอบคาถามท้ายบท การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกจิ

บทที่ 4 ฐานขอ้ มลู เชิงสมั พันธ์ (Relational Database) ฐานข้อมลู เชงิ สมั พนั ธ์ผู้คิดค้นโมเดลเชิงสมั พันธน์ ี้ คือ Dr. E.F. Codd ใน ค.ศ. 1970 โดยใช้ หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เป็นทีน่ ยิ มในปจั จุบนั ในบทน้ีได้กลา่ วถึงความหมายของฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพนั ธ์ โครงสร้างของฐานข้อมูลเชงิ สัมพันธ์ ความหมายของรีเลชัน และส่วนประกอบต่าง ๆ ท่อี ย่ใู น ฐานข้อมลู เชิงสมั พนั ธ์ คยี ์ รวมทัง้ กฎอนิ ทิกรีตี เพื่อใหน้ ักศึกษาไดท้ ราบถงึ องคป์ ระกอบของฐานข้อมลู เชงิ สมั พนั ธ์ เพ่อื ให้สามารถวเิ คราะหแ์ ละออกแบบฐานข้อมูล เพ่ือให้ไดโ้ ครงสร้างข้อมลู ท่ีมี ประสทิ ธิภาพได้ 4.1 ฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์ (Relational Database) วิเชียร เปี่ยมชัยสวัสด์ิ (2547:37) กล่าวว่า ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลท่ีใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) ซ่ึงผู้คิดค้นโมเดล เชิงสัมพันธ์น้ีคือ Dr. E.F. Codd ใน ค.ศ. 1970 โดยใช้หลักพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ ระบบฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง มีการเก็บข้อมูลในรูปแบบตาราง เรียกว่า รีเลชั่น ทาให้ เข้าใจง่ายและการประยุกต์ใช้งานร่วมกับภาษาคอมพิวเตอร์ทาได้ง่าย จึงทาให้ระบบฐานข้อมูลเชิง สัมพันธเ์ ปน็ ระบบฐานข้อมลู ได้รับความนิยมมากท่ีสุดในปัจจุบนั ภาพที่ 4.1 Dr. Edgar E Codd. (1990). ทม่ี า : The RELATIONAL MODEL for DATABASE MANAGEMENT: VERSION 2 (1990:1). การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่ืองานธุรกิจ นิรันดร ผานจิ

64 | บทท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ 4.2 โครงสรา้ งฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์ โครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธ์จะอย่ใู นลกั ษณะของตาราง 2 มติ ิ เรียกวา่ รเี ลชัน (Relation) ประกอบไปด้วย ทูเพลิ (Tuple) และแอตทรบิ ิวต์ (Attributes) Customer ภาพที่ 4.2 รเี ลชัน (Relation) ทม่ี า : ผเู้ ขยี น 4.3 รีเลชัน (Relation) กติ ติ ภักดีวัฒนะกุล. (2521:48) กล่าววา่ รีเลชันมกั ถูกเรยี กวา่ ตาราง เนอ่ื งจากรเี ลชันเป็น หนว่ ยทใ่ี ชจ้ ดั เกบ็ ข้อมูลที่อยใู่ นรูปแบบของตารางขนาด 2 มิตทิ ี่ประกอบไปดว้ ยแถวและสดมภ์ วเิ ชยี ร เปีย่ มชัยสวัสด.ิ์ (2547:42) นยิ ามของรเี ลชันรีเลชันคือคาร์ทีเซยี นโปรดักของโดเมน กาหนดให้เซต D1, D2, D3 ซ่งึ ไมจ่ าเปน็ ต้องเปน็ โดเมนทีต่ ่างกนั R คือรเี ลชันของเซตทั้งเซต รเี ลชันจะประกอบไปด้วยชุดของทูเพลิ โดยทแี่ ต่ละทูเพิลจะมอี งคป์ ระกอบแรกจาก D1 องค์ประกอบ ทส่ี องจาก D2 ตามลาดบั เซตของ D1 จะเรยี กว่าโดเมนของ R รีเลชัน (Relation) หมายถงึ ตารางลักษณะสองมิติที่ประกอบด้วยแอททรบิ ิวต์ (Attributes) และทเู พิล (Tuple) 4.3.1 คุณสมบัตขิ องรเี ลช่นั โอภาส เอีย่ มสริ วิ งศ์ (2551:100) กลา่ ววา่ รเี ลชนั ประกอบด้วยแถว เรียกว่าทเู พลิ (Tuple) และแอตทรบิ วิ ต์ (Attributes) โดยรเี ลชนั มคี ุณสมบัตติ า่ ง ๆ ดังนี้ 1. ไมม่ ีทูเพลิ คู่ใด ๆ เลยท่ซี ้ากัน 2. ลาดบั ท่ีของทเู พลิ ไม่มคี วามสาคัญ 3. ลาดับทขี่ องแอตทริบวิ ต์ไม่มคี วามสาคญั 4. ค่าของแอตทริบวิ ต์ จะเปน็ ค่าเดี่ยว (Atomic) 5. คา่ ของข้อมลู ในแตล่ ะแอตทริบิวต์ จะบรรจคุ า่ ของข้อมลู ประเภทเดียวกัน การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอื่ งานธุรกจิ

บทที่ 4 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ | 65 4.3.2 ประเภทของรีเลชนั 1. รเี ลชันหลกั (Base Relation) เปน็ ตารางที่ใช้ในการเก็บขอ้ มูลจรงิ เพ่อื นา ขอ้ มูลไปใช้ 2. วิว (View) เป็นตารางเสมือนทีถ่ กู สรา้ งข้นึ โดยอาศัยข้อมูลในรีเลชันหลัก ไมส่ ามารถเก็บขอ้ มูลได้เหมือนรีเลชันหลัก ชว่ ยในการรักษาความปลอดภยั ของฐานข้อมลู 4.4 แอตทรบิ วิ ต์ (Attribute) แอตทริบวิ ต์ (Attribute) หมายถึง คณุ สมบัติของรเี ลชัน เช่น รเี ลชนั Customer ประกอบด้วยแอตทริบวิ ต์ CustomerID, CusName, CusAddress, CusProvince, CusZipcode, CusMobile คณุ สมบัติของคา่ แอตทริบวิ ต์ 1. เปน็ คา่ ท่ีไมส่ ามารถแบง่ ย่อยต่อไปอกี และอยู่ในโดเมน (Domain) เดียวกนั 2. ช่อื ของแอตทริบวิ ต์ของแต่ละแอตทริบิวตห์ ้ามซา้ กนั 3. ลาดบั ของแอตทริบิวต์ไม่มคี วามสาคัญ 4.5 โดเมน (Domain) โดเมน (Domain) หมายถงึ ขอบเขตของข้อมลู ทีเ่ ป็นไปได้ของแต่ละแอททริบวิ ต์ ตวั อยา่ ง โดเมนของแอททริบิวตเ์ พศ ประกอบด้วย หญิง กับ ชาย โดเมนของแอททรบิ ิวต์เกรดเฉล่ียมีค่าอย่รู ะหว่าง 0-4 4.6 ทเู พิล (Tuple) ทูเพลิ (Tuple) หมายถงึ ข้อมลู ในแต่ละแถวของรีเลชนั 4.7 เอนทติ ี (Entity) เอนทิตี (Entity) หมายถึงส่ิงท่ตี อ้ งการเก็บขอ้ มูลอาจ คน สถานท่ี สง่ิ ของ หรือการกระทา ก็ได้ 4.8 รเี ลชันชพิ (Relationship) ในโครงสรา้ งของฐานข้อมลู เชงิ สัมพันธ์ รีเลชันแต่ละรีเลชนั สามารถเชื่อมโยงกันได้ซง่ึ ความสัมพันธ์ระหวา่ งรีเลชนั ได้เรียกวา่ รีเลชันชพิ (Relationship) การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกิจ

66 | บทท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พันธ์ ภาพที่ 4.3 แสดงรเี ลชนั ชพิ (Relationship) ที่มา : ผ้เู ขียน ภาพท่ี 4.3 แสดงรเี ลชันชิพระหวา่ งรเี ลชนั Category และรเี ลชนั Product จะเหน็ วา่ รีเลชนั Product ท่มี ี ProductID เท่ากบั 5 มี CategoryID เทา่ กับ 1 ซง่ึ มีรีเลชันชิพเชอื่ มโยงกับรเี ลชัน Category ซง่ึ 1 หมายถงึ อาหาร 4.8.1 ประเภทของรเี ลชัน่ ชพิ แบ่งออกได้ 3 รปู แบบดงั นี้ 1. แบบหนง่ึ ต่อหน่ึง (One to One) ตัวอยา่ งเชน่ คนและใบขับขี่ 2. แบบหน่ึงตอ่ กลุม่ (One to Many) ตัวอย่างเช่น สินคา้ และหมวดหมูส่ นิ คา้ 3. แบบหน่ึงต่อกลมุ่ (Many to Many) ตวั อยา่ งเช่น ใบสั่งซอ้ื และสนิ ค้า 4.9 ดีกรี (Degree) และคาร์ดนิ าลติ ี (Cardinality) Peter Rob and Carlos Coronel (2009:111) กลา่ วว่า ดีกรี (degree) หมายถงึ จานวน ของแอททรบิ ิวตใ์ นรเี ลชันน้ัน และคาร์ดินลั ลติ ี (Cardinality) หมายถึง จานวนของทเู พลิ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพือ่ งานธุรกิจ

บทท่ี 4 ฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธ์ | 67 ภาพท่ี 4.4 แสดงดกี รี และ คารด์ นิ ัลลติ ี ทีม่ า : ผเู้ ขยี น 4.10 คีย์ (Key) Peter Rob and Carlos Coronel (2009:111) กลา่ ววา่ กุญแจ หรอื คยี ์ (Key) คือ แอททรบิ ิวท์ท่สี ามารถใช้บง่ บอกความแตกตา่ งของข้อมลู ใน แตล่ ะทูเพลิ ได้ อาจประกอบด้วยแอททรบิ วิ ท์เดยี วหรือมากกว่า 1 แอททริบิวท์ รว่ มกนั ก็ได้ ซง่ึ แอททรบิ ิวท์เหลา่ นน้ั เรียกว่า คยี แ์ อททริบิวท์ โอภาส เอย่ี มสริ วิ งศ์ (2551:100) กลา่ วว่า ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พันธจ์ ะเก็บข้อมูลในรปู แบบ ของตารางสองมิติท่ปี ระกอบไปดว้ ยแถวและคอลัมน์ดว้ ยดว้ ยคุณสมบัติของรีเลชัน่ ที่ได้กล่าวไวแ้ ล้ว ข้างต้นคือข้อมลู ในแตล่ ะถ้าทัปเพลิ ตอ้ งมีความแตกต่างกนั ไม่สามารถมีทัปเพลิ ท่ซี ้ากันได้ ดังนัน้ จึง จาเป็นตอ้ งมีการกาหนดแอททริบิวท์หรือกล่มุ ของแอททริบวิ ท์ทเ่ี รียกว่า คยี ์ เพ่ือให้แต่ละทปั เปิ้ลมี ความแตกตา่ งกันสามารถระบุความเปน็ เอกลักษณ์ ในแต่ละทัปเปิ้ลได้ 4.10.1 ประเภทของคีย์ 1. คียอ์ ย่างง่าย (Simple key) คียท์ ปี่ ระกอบดว้ ยแอททริบวิ ต์เดียว ตัวอย่างเช่น รีเลชัน Province มี ProvinceID เป็น Simple key การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพือ่ งานธุรกิจ

68 | บทท่ี 4 ฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธ์ รเี ลชัน Province ProvinceID ProvinceName 1 หนองคาย 2 เพชรบรุ ณ์ 3 อดุ รธานี 4 อุดรธานี 5 สกลนคร 6 มุกดาหาร 2. คยี ป์ ระกอบ (Combine key หรือ Composite key) คีย์ท่ีประกอบดว้ ยมากกว่า 1 แอททรบิ ิวต์ รีเลชนั Orderdetails Total ProductID OrderID 2 11 2 32 3 33 3 43 1 61 2 65 2 71 2 75 1 85 3 92 2 93 1 13 2 จากรีเลชัน Orderdetails แสดงขอ้ มูลรายละเอยี ดการส่ังซ้ือสนิ ค้าประกอบดว้ ย แอททริบิวต์ ProductID สาหรบั เกบ็ รหัสสินคา้ แอททริบิวต์ OrderID สาหรบั เกบ็ รหสั ใบสงั่ ซ้ือและ แอททริ บิวต์Total สาหรบั เกบ็ จานวนที่ซอื้ จะพบวา่ ต้องกาหนดคีย์ 2 แอททรบิ ิวต์ เพ่ือใหส้ ามารถระบไุ ด้ว่า ใบสงั่ ซ้อื แต่ละใบสงั่ ซื้อสนิ คา้ ใดบา้ ง และสั่งซื้อจานวนเทา่ ใด การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกจิ

บทที่ 4 ฐานข้อมูลเชิงสัมพนั ธ์ | 69 รเี ลชนั Suplirer เกบ็ ข้อมูลผู้ผลิตสินค้า pName pCitizenID ProvinceID 1234567891234 1 sID sName นายสมาน รักถิ่นไทย 1234876556789 2 นายนติ กิ ร ตน้ ตาล 9876541234789 3 1 กลุ่มเกษตรกรเล้ียงผ้ึงบ้านเฝ้าไร่ นางนวพร ดวงประทมุ 7418529631472 4 2 กลมุ่ แปรรูปมะขามหวานน้ากอ้ นางรตั นาภรณ์ ข้าวหอม 5678963214587 5 3 ชมุ ชนแปรรูปอาหารบา้ นไผ่สที อง นางสาวบัณฑิตา ปทมุ วาปี 4 กลุม่ ผา้ ซ่ินตนี จกรัตนา 5 กลุ่มหัตถกรรมทอผา้ พนื้ เมืองสอ่ งดาว รีเลชัน Province เกบ็ ข้อมูลจงั หวดั ProvinceID Province 1 หนองคาย 2 เพชรบุรณ์ 3 อดุ รธานี 4 อุดรธานี 5 สกลนคร 6 มุกดาหาร ภาพท่ี 4.5 ความสัมพันธ์ระหว่างรีเลชัน Suplirer กบั รเี ลชนั Province ทม่ี า : ผ้เู ขียน 3. ซุปเปอรค์ ีย์ (Super key) แอททรบิ ิวตห์ รอื กลุ่มของแอทรบิ วิ ตท์ ่ีสามารถบง่ บอกความเปน็ เอกลักษณ์ของแต่ละ ทเู พิลในรีเลชนั ได้ คยี ์อยา่ งงา่ ย หรอื คีย์ประกอบท่ีสามารถบ่งบอกความเป็นเอกลกั ษณ์ของแตล่ ะทู เพลิ ในรเี ลชันได้ เช่น รเี ลชนั Suplirer มซี ุปเปอร์คีย์คอื 1. sID 2. pCitizenID 3. sID+sName 4. sID+sName +pName 5. pCitizenID+ProvinceID เป็นต้น 4. คยี ์คูแ่ ข่ง (Candidate Key) ซุปเปอร์คยี ท์ ีเ่ ล็กทสี่ ุดทีส่ ามารถบง่ บอกความเปน็ เอกลักษณ์ของแต่ละทูเพิลในรีเลชันได้ เช่น รีเรชนั Suplirer มคี ยี ์คู่แข่งคือ sID และ การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกจิ

70 | บทท่ี 4 ฐานข้อมูลเชิงสัมพนั ธ์ pCitizenID 5. คีย์หลกั (PK: Primary Key) คียค์ แู่ ขง่ ที่ถกู เลือกให้เป็นตวั แทนของแต่ละรีเลชนั เพอ่ื กาหนดความเปน็ เอกลกั ษณ์ใหก้ ับแตล่ ะทูเพลิ คุณสมบตั ิของคยี ์หลกั 1. ค่าข้อมูลหา้ มซา้ 2. ต้องไมเ่ ปน็ ค่าวา่ ง (Not Null) รเี รชนั Suplirer เลอื ก sID เป็นคีย์หลัก 6. คยี ์รอง (Alternate Key หรอื Secondary Key) คีย์คู่แขง่ ที่ไม่ถูกเลือกให้เปน็ คยี ์ หลัก รเี รชัน Suplirer มี pCitizenID เป็นคยี ์รอง 7. คีย์นอก (Foreign Key) แอททริบวิ ต์หรือกลุ่มของแอทรบิ ิวต์ทใ่ี ชใ้ นการเชื่อมโยง ข้อมูลระหว่างรีเลชนั เข้าด้วยกัน (Nonkey แอททริบวิ ต์ในรเี ลชนั หน่งึ ทเ่ี ป็นคยี ์หลัก ในอีกรเี ลชันหน่ึง) คณุ สมบัติของคยี ์นอก 1. สามารถมคี ่าข้อมูลซา้ ได้ 2. สามารถเป็นค่าว่าง (Null) ได้ 3. จะตอ้ งเปน็ ค่าขอ้ มลู ทมี่ ีอย่ใู นอกี รเี ลชันท่ีเชอ่ื มโยงอยู่ รเี รชัน Suplirer ProvinceID เป็นคีย์รอง 4.11 กฎอนิ ทกิ รีตี (Integrity Rule) กฎท่ีใชส้ าหรับรักษาความถูกต้องของข้อมลู แบง่ ออกเปน็ 2 กฎคือ 1. กฎความบรู ณภาพหรอื คงสภาพของเอนทิต้ี (Entity Integrity Rule) ใช้กาหนดเพ่ือให้ข้อมูลของเอนทติ ี มีความถูกตอ้ ง 1. คีย์หลกั ไมส่ ามารถมคี า่ เป็นคา่ ว่างได้ (Null Value) 2. คียห์ ลกั ตอ้ งมคี ุณสมบัติทีเ่ ป็นเอกลกั ษณ์ (identity) คือหา้ มซา้ 2. กฎความบูรณภาพหรือคงสภาพของการอ้างองิ (Referential Integrity Rule) ใชร้ ักษาความถกู ต้องของขอ้ มูลท่มี ีความสมั พันธ์กันของเอนทิตี เพื่อปอ้ งกนั การป้อน ขอ้ มูลท่ีผิดพลาด 1. ค่าของคียน์ อกสามารถเปน็ ค่าว่างได้ การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกจิ

บทท่ี 4 ฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์ | 71 2. ค่าของคียน์ อกจะต้องมีค่าทต่ี รงกบั คา่ ท่มี อี ยู่ในคียห์ ลกั ของอีกรีเลชนั ทเี่ ชอ่ื มโยง อยู่ 4.12 แบบฝกึ ปฏิบตั กิ ารในชน้ั เรยี น ใหน้ กั ศกึ ษาแบง่ กลุ่มทาการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์ที่ ตนเองสนใจ โดยใหร้ ะบุคยี ต์ า่ ง ๆ และใส่ข้อมูลสมมุติด้วย แลว้ ให้นาเสนอหน้าชนั้ เรียนกล่มุ ละ 15 นาที 4.13 บทสรุป ระบบฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานขอ้ มูลท่ใี ช้โมเดลเชิงสมั พนั ธ์ (Relational Database Model) ซึ่งผู้คิดค้นโมเดลเชิงสัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd ใน ค.ศ. 1970 โดยใช้หลักพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ โครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะอยู่ในลักษณะของตาราง 2 มิติ เรียกว่า รีเลชัน (Relation) ประกอบไปด้วย ทูเพิล (Tuple) ข้อมูลในแต่ละแถวของรีเลชัน และแอตทริบวิ ต์ (Attributes) คุณสมบัติของรีเลชัน โดยค่าข้อมูลจะต้องเป็นโดเมนเดียวกันในแต่ละ แอททรบิ ิวต์ รีเลชันแต่ละรีเลชันสามารถเชื่อมโยงกันได้ซ่ึงความสมั พันธ์ระหวา่ งรีเลชันได้เรยี กวา่ รีเล ชันชิพ (Relationship) มีดีกรี (degree) หมายถึง จานวนของแอททริบิวต์ในรีเลชันน้ัน ๆ และคาร์ ดนิ ลั ลติ ี (Cardinality) หมายถึง จานวนของทัปเปิ้ล คยี ์ (Key) คือ แอททริบิวท์ทส่ี ามารถใช้บง่ บอกความแตกตา่ งของขอ้ มลู ในแต่ละทูเพิลได้ อาจ ประกอบดว้ ยแอททริบิวท์เดียวหรือมากกว่า 1 แอททริบิวท์ร่วมกันกไ็ ด้ ซงึ่ แอททริบิวท์เหล่านั้น เรียกว่า คยี แ์ อททรบิ วิ ท์ การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกจิ

72 | บทท่ี 4 ฐานข้อมูลเชิงสัมพนั ธ์ คาถามทา้ ยบท 1. จงอธิบายโครงสร้างข้อมลู เชิงสัมพันธ์ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง 2. ประเภทของรเี ลชันไดแ้ ก่อะไรบา้ ง 3. คุณสมบตั ิของรีเลชน่ั มีอะไรบ้าง 4. ซปุ เปอรค์ ีย์ (Super key) หมายถึงอะไร 5. ใหอ้ ธบิ ายความหมายและคุณสมบตั ิของคีย์หลัก 6. ใหอ้ ธบิ ายความหมายและคยี ์นอก (Foreign Key) 7. รเี ลชนั ประกอบดว้ ยคยี ์ประเภทต่าง ๆ อะไรบ้าง โดยใหน้ ักศึกษายกตัวอยา่ งโครงสรา้ ง ของรเี ลชนั ประกอบ 8. ความสมั พันธ์ระหวา่ งรีเลชนั มีกปี่ ระเภท มีอะไรบ้าง การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกจิ

บทท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ | 73 เอกสารอ้างองิ กติ ติ ภักดีวฒั นะกลุ . (2521). ระบบฐานข้อมูล (Database Systems). กรงุ เทพฯ : เคทีพี คอมแอนด์คอนซัลท์. วเิ ชยี ร เป่ยี มชยั สวสั ด.์ิ (2547). ระบบฐานขอ้ มลู (พิมพค์ รั้งที่ 2). กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์ ส.ส.ท. โอภาส เอี่ยมสริ วิ งศ.์ (2551). ระบบฐานข้อมลู (Database Systems). กรงุ เทพฯ : ซีเอ็ดยเู คช่ัน. Dr. Edgar E Codd. (1990). The RELATIONAL MODEL for DATABASE MANAGEMENT: VERSION 2. Massachusetts: ADDISON-WESLEY PUBLISHING COMPANY. Peter Rob and Carlos Coronel. (2009). Database Systems: Design, Implementation, and Management. Massachusetts: Course Technology. การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุ รกิจ

74 | บทท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกจิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook