Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ตามรอยอาณาจักรสุโขทัย ม1

แผนการจัดการเรียนรู้ ตามรอยอาณาจักรสุโขทัย ม1

Published by สมาย สมาย สมาย, 2023-07-10 11:28:02

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ ตามรอยอาณาจักรสุโขทัย ม1

Search

Read the Text Version



ก คำนำ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินการ ทบทวนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อพัฒนาไปสู่หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยนำข้อมูลที่ได้จากการวิจัยดังกล่าว และข้อมูลจากแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 - 2554) มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตร ให้มีความเหมาะสม ชัดเจนยิ่งขึ้นทั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและกระบวน การนำหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติ ในระดับ เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา พร้อมทั้งได้จัดทำสาระการเรียนรู้แกนกลางของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ในแต่ละระดับชั้น เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานระดับท้องถิ่น และสถานศึกษา ที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำไปเป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรและ จัดการเรียนการสอน ดังนั้นผูจ้ ัดทำจึงจัดกิจกรรมวิเคราะห์หลกั สูตรและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคณุ ภาพ จากเจตนารมณ์ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน นางสาวโรสรนิ พร อนิ ช่นื ผ้จู ดั ทำ

ข สารบัญ หน้า ก คำนำ ข สารบญั 1-2 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 4-5 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 6 คำอธิบายรายวชิ า 7 โครงสรา้ งรายวชิ า 8 แผนการจดั การเรยี นรู้ 19 ภาคผนวก

๑ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทำไมตอ้ งเรียนวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดำรงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และ การอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด นอกจาก นี้ยงั ชว่ ยให้ผเู้ รียนเข้าใจถึงการพฒั นา เปลย่ี นแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจยั ต่างๆ ทำให้เกิดความ เข้าใจในตนเอง และผู้อื่นมีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรมสามารถนำความรู้ ไปปรบั ใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ เปน็ พลเมืองดขี องประเทศชาติ และสงั คมโลก เรยี นรอู้ ะไรในสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมวา่ ดว้ ยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเช่ือม สัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผดิ ชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสมโดยได้กำหนดสาระตา่ งๆ ดงั น้ี • ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบำเพ็ญ ประโยชน์ต่อสังคมและสว่ นรวม • หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสำคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยม ด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดำเนินชีวิตอย่างสันติสุข ในสังคมไทยและสงั คมโลก • เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจ พอเพยี งไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน • ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการ ของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจาก เหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมทีส่ ำคัญของโลก

๒ • ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศ ของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของ สิ่งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนำเสนอขอ้ มูลภมู ิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาที่ยง่ั ยืน

๓ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รแู้ ละเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มศี รทั ธาท่ีถกู ต้อง ยดึ มั่น และปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรม เพ่อื อยู่รว่ มกันอยา่ งสันติสขุ มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือ สาระท่ี ๒ หนา้ ที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชวี ิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรง รกั ษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยู่รว่ มกนั ในสังคมไทย และ สงั คมโลกอยา่ งสันติสขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยดึ มั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ ซึง่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวติ อย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจ และความ จำเป็นของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณต์ า่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ ท่เี กดิ ขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเปน็ ไทย สาระที่ ๕ ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน และกนั ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนท่แี ละเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูล ภมู ิสารสนเทศอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ท่ีก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพ่ือการพฒั นาท่ยี งั่ ยนื

๔ ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลางระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้วิธกี าร ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 1. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของเวลาใน  ตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลาและยุคสมัย การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ ท่ีปรากฏในเอกสารประวตั ศิ าสตร์ไทย  ความสำคัญของเวลา และช่วงเวลาสำหรับ การศึกษาประวตั ศิ าสตร์  ความสัมพันธ์และความสำคัญของอดีตที่มี ต่อปจั จุบนั และอนาคต 2. เทียบศักราชตามระบบต่างๆท่ีใชศ้ กึ ษา  ท ี ่ ม า ข อ ง ศ ั ก ร า ช ท ี ่ ป ร า ก ฏ ใ น เ อ ก ส า ร ม.1 ประวตั ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ไทย ได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.วิธีการเทียบศักราชต่างๆ และตวั อย่างการเทียบ  ตัวอย่างการใช้ศักราชต่าง ๆ ที่ปรากฏ ในเอกสารประวตั ิศาสตร์ไทย 3. นำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษา ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์ เหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์ และวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีความ สัมพันธ์ เชื่อมโยงกันตัวอย่างหลักฐานในการศึกษา ประวัติศาสตร์ไทยสมัยสโุ ขทัย ทง้ั หลักฐานช้ันต้น และหลักฐานชั้นรอง ( เชื่อมโยงกับ มฐ.ส 4.3) เชน่ ขอ้ ความ ในศลิ าจารึกสมัยสโุ ขทัย เป็นต้น  นำวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษา เรื่องราวของประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ในท้องถิน่ ตนเองในสมัยใดก็ได้ (สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์) และเหตุการณ์สำคัญ ในสมัยสโุ ขทยั

๕ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพฒั นาการของมนุษยชาตจิ ากอดตี จนถึงปัจจุบัน ในดา้ นความสัมพนั ธแ์ ละ การเปล่ยี นแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบทีเ่ กิดข้นึ ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 1. อธบิ ายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ  ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศต่างๆ และการเมอื งของประเทศตา่ ง ๆ ใน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีผลต่อ ภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ พฒั นาการทางดา้ นตา่ งๆ  พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของ ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ม.1 2. ระบุความสำคญั ของแหล่งอารยธรรม  ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมใน ในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่นแหล่งมรดกโลก ในประเทศต่าง ๆของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มี ตอ่ พัฒนาการของสงั คมไทยในปจั จุบัน มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาไทย มคี วามรัก ความภูมใิ จและธำรง ความเปน็ ไทย ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 1. อธบิ ายเรือ่ งราวทางประวัติศาสตร์  สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ในดินแดนไทย โดยสังเขป สมยั ก่อนสุโขทัยในดินแดนไทยโดยสงั เขป  รัฐโบราณในดินแดนไทย เช่น ศรีวิชัยตามพรลิงค์ 2. วเิ คราะหพ์ ัฒนาการของอาณาจักร ทวารวดี เป็นตน้ สุโขทัยในด้านต่าง ๆ  รัฐไทย ในดินแดนไทย เช่น ล้านนา 3. วิเคราะห์อทิ ธิพลของวฒั นธรรม และ นครศรธี รรมราช สุพรรณภูมิ เปน็ ต้น ม.1 ภมู ิปัญญาไทยสมัยสุโขทัยและสงั คมไทย  การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย และปัจจัยที่ ในปจั จบุ นั เกยี่ วขอ้ ง (ปจั จัยภายในและ ปจั จยั ภายนอก )  พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ในด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์ ระหวา่ งประเทศ  วัฒนธรรมสมัยสุโขทัย เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณีสำคัญ ศลิ ปกรรมไทย  ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัย เช่น การชลประทาน เครือ่ งสงั คมโลก  ความเสอ่ื มของอาณาจักรสโุ ขทัย

๖ คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ าประวัติศาสตร์ 1 รหัสวชิ า ส21103 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1 ΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩΩ ศึกษา ความสำคัญของเวลา และช่วงเวลาสำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์และ ความสำคัญของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต ตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลาและยุคสมัยที่ปรากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย ที่มาของศักราชที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ได้แก่ จ.ศ./ม.ศ./ร.ศ./พ.ศ./ค.ศ. และ ฮ.ศ. วิธีการเทียบศักราชต่างๆ และตัวอย่างการเทียบ ตัวอย่างการใช้ศักราชต่างๆ ที่ปรากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์ และวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ ท่ีมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ตัวอย่างหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย สมัยสุโขทัยทั้งหลักฐานชั้นตน้ และหลักฐานชั้นรอง(เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3 ) เช่น ข้อความในศิลาจารึกสมัยสุโขทัย นำวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษาเรื่องราวของประวัติศาสตร์ไทย ที่มีอยู่ในท้องถิ่นตนเองในสมัยใดก็ได้ ศึกษาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยโดยสังเขป รัฐโบราณในดินแดนไทย เช่น ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ ทวารวดี รัฐไทยในดินแดนไทย เช่น ล้านนา นครศรีธรรมราช สุพรรณภมู ิ การสถาปนาอาณาจักรสโุ ขทัย และ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง(ปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก) พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยในด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมและความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ โดย อธิบาย วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย เชื่อมโยงความรู้ จัดทำป้ายนิเทศ บูรณาการ เขียนแผนผงั ความคิด เปรียบเทียบ จำแนก และนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชีวติ เพื่อ ให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและ สง่ิ แวดล้อม สบื สานศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ชุมชนรว่ มพัฒนา ยดึ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง รหัสตวั ชีว้ ัด ส 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ส 4.2 ม.1/1, ม.1/2, ส 4.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, รวมท้งั หมด 8 ตวั ชีว้ ัด

๗ รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ 2 โครงสร้างรายวชิ าพื้นฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เวลา 20 ชวั่ โมง รหสั วชิ า ส21104 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 0.5 หน่วยกติ มาตรฐาน หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ การเรยี นร/ู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั คะแนน 3. ตัวชวี้ ัด(ผล (ช่ัวโมง) (100คะแนน) 1.ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ของประเทศต่างๆ การเรียนร)ู้ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีผลต่อ 8 31 พัฒนาการดา้ นตา่ งๆ พ ั ฒ น า ก า ร ข อ ง มฐ.ส4.3/2-3 6 23 -พัฒนาการทางด้านประวัติศาสตร์ สังคม อาณาจักรสุโขทัย เศรษฐกิจ การเมือง -ความร่วมมอื ผ่านการรวมกล่มุ เปน็ อาเซียน 2.ทตี่ งั้ และความสำคญั ของแหลง่ อารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(แหล่ง มรดกโลก) และอิทธิพลของอารยธรรมโบราณ ในดินแดนไทยที่มีต่อการพัฒนาการของสังคมไทย ในปัจจุบนั 1.สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดนไทยโดยสังเขป 2.รัฐโบราณในดินแดนไทย เช่น ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ ทวาราวดี 3.รัฐไทยในดินแดนไทย เช่น ล้านนา นครศรีธรรมราช สุพรรณภมู ิ 4. พ ั ฒ น า ก า ร ข อ ง 1.การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย และปัจจัย 6 23 ภ ู ม ิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ท่ีเก่ียวข้อง(ปัจจยั ภายใน และปัจจัยภายนอก) 4 16 ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มฐ.ส 4.2 / 18 70 2 30 5 แหล่งอารยธรรม 1 2.พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยในด้านการเมือง 20 100 ใ น ภ ู ม ิ ภ า ค เ อ เ ชี ย การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ระหวา่ งประเทศ รวมระหวา่ งภาค รวมปลายภาค รวมท้ังหมด

๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระท่ี 4 ประวตั ศิ าสตร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ ท่ี 2 เรื่อง อาณาจกั รสโุ ขทัย ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 แผนการเรียนรู้ ที่ 4 เรื่อง ตามรอยอาณาจักรสโุ ขทยั จำนวน 2 คาบ/ชม. ครผู ูส้ อน นางสาวโรสรนิ พร อนิ ชื่น วนั องั คาร ที่ 18 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2566 มาตรฐานการเรียนรู้ เข้าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถ มาตรฐาน ส 4.1 ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณต์ า่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก มาตรฐาน ส 4.3 ความภูมิใจ และธำรงความเปน็ ไทย ตัวชวี้ ัด นำวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาใชศ้ ึกษาเหตกุ ารณ์ทางประวตั ศิ าสตร์ วเิ คราะห์อิทธพิ ลของวัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทยสมัยสโุ ขทยั และสังคมไทย ส 4.1 ม.1/3 ในปจั จุบัน ส 4.3 ม.1/3 สาระสำคัญ ภูมิปัญญา คือ ความรู้ ทักษะต่างๆ และประสบการณ์ของมนุษย์ ที่สั่งสมมาตั้งแต่อดีต ผ่านกระบวนการศกึ ษา สงั เกต คิดวเิ คราะห์ จนตกผลกึ เปน็ องค์ความรทู้ ี่สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ สรีดภงส์ เป็นภูมิปัญญาของคนในอดีตที่พยายามปรับสภาพแวดล้อมและสร้างสรรค์ระบบจัดการน้ำ เพ่ือดำรงชีวติ อยูร่ อดและอยู่ร่วมกบั ธรรมชาตไิ ด้อยา่ งสมดุล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ 1.1. เพื่อให้นักเรียนมคี วามรใู้ นเรอื่ งภมู ิปญั ญาระบบการจัดการนำ้ ในสมยั สโุ ขทัย 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ 2.1. เพอื่ ให้นกั เรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์หลกั ฐานโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ 3. ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 3.1 เพ่ือใหน้ ักเรียนใฝ่เรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ 1. ภมู ปิ ัญญาระบบการจัดการน้ำในสมยั สุโขทัย

๙ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทักษะประวัติศาสตร์1S2C (Sourcing Corroboration Contextualization) ขน้ั นำเข้าสู่การเรียนรู้ (5 นาท)ี 1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์ให้นักเรียนทราบว่า เรื่องนี้จะศึกษาเกี่ยวกับ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ควรศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ ในการวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ 2. ครูผู้สอนกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนโดยการแนะนำ ประวัติศาสตร์ในรูปแบบ Active Learning ค ื อ ท ั ก ษ ะ 1S2C (Sourcing Corroboration Contextualization) ผ ่ า น ว ิ ธ ี ก า ร ทางประวัติศาสตร์ 5 ขน้ั ตอน ขน้ั สอน (ทักษะประวตั ิศาสตร1์ S2C ขน้ั ตอนที่ 1 ตั้งประเดน็ คำถาม) 3. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด : อาณาจักรสุโขทัยจะเหมาะแก่การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน หรือไม่ มหี ลกั ฐานอะไรบา้ งที่จะสนับสนุนการตัดสินใจ แนวการตอบ (เหมาะสม/ไม่เหมาะสม แก่การตั้งถิ่นฐานและบ้านเรือน จากการพบหลักฐานที่น่าเชื่อถือ ท่หี ักลา้ งจากขอ้ มูลเดิม ลกั ษณะภมู ิประเทศไม่เหมาะแก่การต้ังถน่ิ ฐานเน่อื งจากอย่ไู กลจากแมน่ ้ำยม) ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยเล่าเรื่องพ่อขุนรามคำแหงและมหาราชจักรพรรดิกุบไลข่านว่าอยู่ในยุคสมัย เดียวกัน ในยคุ นนั้ อาณาจักรใหญใ่ นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มี 2 อาณาจกั ร คอื อาณาจกั รพกุ ามของพม่าและ อาณาจักรญวน โดยครูนำภาพการขยายอาณาเขตมายังอาณาจักรพุกามและอาณาจักรญวนแล้ว โดยสมมุติ ให้ครูเป็นจักรพรรดิกุบไลข่าน และนักเรียนทุกคนเป็นทหารของจักรพรรดิกุบไลข่าน ที่ถูกมอบหมาย ใหไ้ ปสืบขา่ วท่อี าณาจกั รสุโขทัย (ทักษะประวตั ศิ าสตร์1S2C ขัน้ ตอนท่ี 2 เก็บรวมรวบขอ้ มูล (Sourcing) มากกวา่ 1 ชนิ้ ) 4. แบ่งทหาร (นักเรียน) ออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน มอบหมายให้ทหารแต่ละกลุ่มศึกษาหลักฐาน ชุดที่ 1 (เอกสารหมายเลข 1-10) โดยสมมุติให้ออกไปสำรวจข้อมูลสภาพอาณาจักรสุโขทัย จากการศึกษา ข้อมูลสภาพเมืองสุโขทัยจากหลักฐานที่บันทึกในศิลาจารึก (เอกสารหมายเลข 1-5) และจากการศึกษาข้อมูล เก่ียวกับสภาพภูมิศาสตร์สุโขทยั (เอกสารหมายเลข 6-10) เมื่อแต่ละกลุม่ ศึกษาเอกสารแลว้ ให้แต่ละกลุ่มบันทึก ขอ้ มูลในตารางตามรอยอาณาจักรสโุ ขทัย 5. ครูสุ่มถามนักเรียนแต่ละกลุ่มถึงข้อมูลที่ได้รับและผลการศึกษาข้อมูลบันทึกในตาราง วิเคราะห์ ถึงความน่าเชื่อถือหลักฐาน จากการศึกษาได้ข้อมูลอะไรบ้าง และข้อมูลที่ได้นั้นช่วยอธิบายสภาพ อาณาจกั รสุโขทยั อย่างไรบา้ ง คำถามกระตนุ้ ความคดิ : นักเรียนเหน็ ความแตกต่างของรายละเอียดข้อมลู ท่มี ีความแตกต่างและขัดแย้งกนั แนวการตอบ (ลักษณะภมู ิศาสตรส์ ุโขทยั และข้อมลู ท่ีขัดแย้งของหลักฐาน)

๑๐ (ทักษะประวัติศ าสตร์ 1S2C ขั้น ตอน ที่ 3 วิพากษ์หลักฐาน/ประเมินค ่า Corroboration) จากหลักฐาน 1 ช้ิน 6. นกั เรยี นศกึ ษาข้อมูลเพ่ิมเตมิ จากหลักฐานชุดท่ี 2 (เอกสารหมายเลข ก-จ) โดยใหน้ ักเรียนแต่ละคน ศึกษาเอกสาร แล้วสรุปให้เพื่อนฟังว่าหลักฐานที่ตนเองได้ศึกษามีข้อมูลอะไร แต่ละอย่าง ทำหน้าที่อย่างไร แล้วอภิปรายกันในกลุ่มถึงข้อมูลหลักฐานที่ได้ช่วยให้เข้าใจ บรรยากาศสภาพเมืองสุโขทัยอย่างไรบ้าง ในประเด็นสภาพภูมปิ ระเทศ การใช้ประโชน์จากแมน่ ำ้ การตอ่ ส้เู อาชนะอปุ สรรคสภาพภูมิประเทศ จนสามารถ เพาะปลกู ได้อย่างสมบรู ณ์ เตรยี มผ้แู ทนกลมุ่ เพอื่ ออกมานำเสนออภปิ ราย 7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสภาพปัญหาทางภูมิศาสตร์และผลกระทบที่เกิดขึ้น วิธีการแก้ปัญหา สภาพทางภูมิศาสตร์เพื่อใหส้ ามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุขของคนสุโขทัยโบราณ โดยนำข้อมูลที่นักเรียนได้ จากการศกึ ษาแผนทภ่ี าพถ่ายทางอากาศเมอื งสุโขทยั มาช่วยกันวเิ คราะห์ ดังน้ี - ทีต่ งั้ เมอื งอยู่หา่ งจากแม่นำ้ ยม - ความลาดเอียงของพื้นท่ี - คนั ดนิ ชักนำ้ (ทอ่ ปู่พระรว่ ง) - การสรา้ งกำแพงเมือง 3 ชน้ั - ระบบเหมืองฝาย - การทำตระพังบ่อน้ำกรุอฐิ 8. ครูใชค้ ำถามสะท้อนการเรียนรู้ เชน่ คำถามที่ 1 นักเรียนรู้สึกอย่างไรที่คนสุโขทัยโบราณใช้ปัญญา ความรู้ ความสามารถคิดค้น วิธกี ารในการแกป้ ญั หาอปุ สรรคทางธรรมชาติได้ คำถามที่ 2 จากการศึกษาเรื่องราวนักเรียนคิดว่ามีสิ่งก่อสร้างใดในปัจจุบันที่ใช้รูปแบบ การจดั การน้ำเช่นเดยี วกับสุโขทยั คำถามท่ี 3 นักเรยี นคดิ วา่ มีผงั เมืองโบราณอนื่ ที่มีระบบการจัดการน้ำเชน่ เดยี วกับสมัยสุโขทัย หรือไม่อยา่ งไร (ทักษะประวัตศิ าสตร1์ S2C ข้นั ตอนท่ี 4 วิเคราะห/์ ตคี วาม (Contextualization) เปรียบเทยี บเชอ่ื มโยง บรบิ ทของหลกั ฐาน มากกว่า 1 ชน้ิ ) 9. ครูและนักเรียนนำหลักฐานชุดที่ 1 (เอกสารหมายเลข 1-10) และหลักฐานชุดท่ี 2 (เอกสารหมายเลข ก-จ) นักเรียนได้ศึกษาเอกสารหลักฐานชั้นต้น มีการวิพากษ์หลักฐานในกลุ่มย่อย จากนั้น นำข้อมูลจากหลักฐานอื่นๆ ที่ได้อ่านมาเปรียบเทียบและสังเคราะห์ สรุปให้เห็นถึงภูมิปัญญาด้านการบริหาร จดั การน้ำของคนสโุ ขทัยโบราณ

๑๑ (ทักษะประวัตศิ าสตร์1S2C ขั้นตอนท่ี 5 สรปุ /นำเสนอ) 10. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย สรุปได้ว่า ระบบการจัดการ น้ำในอาณาจักรสุโขทัยเป็นภูมิปัญญาของคนสุโขทัยในอดีต ที่พยายามปรับตัวและสร้างสรรค์ระบบจัดการน้ำ เพื่อแก้ปัญหาและช่วยให้ดำรงชีวิตอยู่รอดและอยู่ร่วมกับธรรมชาติ ได้อย่างสมดุล นอกจากภูมิปัญญา ในเรื่องจัดการน้ำแล้ว ยังมีภูมิปัญญาอื่นๆ อีกมากมายท่ีแสดงให้เห็นถึงความชาญฉลาดของบรรพบุรุษไทย ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นซึ่งนักเรียนสามารถสืบค้นและใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ได้เพ่มิ เตมิ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี น ประวตั ิศาสตร์ ม.1 2. เอกสารประกอบการทำกจิ กรรม หลักฐานชุดท่ี 1 3. เอกสารประกอบการทำกจิ กรรม หลกั ฐานชุดที่ 2 4. ภาพหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์

๑๒ การวัดและประเมนิ ผล สิ่งทต่ี ้องการวดั และการ วธิ กี าร เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์การผ่าน ประเมิน ด้านความรู้ ตรวจชน้ิ งานหลักฐาน แบบประเมินการตรวจ ไดค้ ะแนนจากการ - เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ชุดที่ 1 (เอกสารหมายเลข ชนิ้ งาน ประเมินในระดับ ในเรื่องภูมิปัญญาระบบ 1-10) ของแต่ละกลมุ่ คุณภาพ 3 ขน้ึ ไป การจดั การนำ้ ในสมยั สุโขทัย ดา้ นทักษะและกระบวนการ - เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถ ตรวจชิ้นงานหลักฐาน แบบประเมินการตรวจ ได้คะแนนรวมจาก ในการวิเคราะห์หลักฐานโดยใช้ ชุดท่ี(เอกสารหมายเลข ชิ้นงาน วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก-จ) ของแตล่ ะกลมุ่ ในระดับคุณภาพ 3 ข้นึ ไป ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - เพอื่ ใหน้ ักเรยี นใฝ่เรยี นรู้ สงั เกตพฤติกรรมระหวา่ ง แบบประเมิน ไดค้ ะแนนจากการ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประเมนิ ในระดับ การจัดการเรยี นรู้ ประสงค์ คณุ ภาพ 3 ขึน้ ไป เกณฑก์ ารวัดและให้คะแนนด้านความรู้ ประเด็นการประเมนิ ตัวบ่งช้พี ฤติกรรม เกณฑก์ ารตรวจ การประเมนิ หลักฐาน - หลกั ฐานชดุ ท่ี 1 (เอกสาร - สามารถวเิ คราะหลกั ฐานและเปรียบเทียบ เอกสาร ข้อละ 1 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน หมายเลข 1-10) หมายเลข 1-10 ได้ ตอบผดิ ได้ 0 คะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน (คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 9-10 คะแนน อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ดีเยยี่ ม (4) 7-8 คะแนน อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี (3) 4-6 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพ พอใช้ (2) 0-3 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพ ปรับปรุง (1)

๑๓ เกณฑก์ ารวดั และให้คะแนนดา้ นทักษะและกระบวนการ ประเดน็ การประเมนิ ตวั บ่งช้ีพฤตกิ รรม เกณฑก์ ารตรวจ หลกั ฐานชุดที่ 2 - สามารถวเิ คราะหลกั ฐานและ ดีเยี่ยม (4) นักเรียนสามารถวิเคราะห์ (เอกสารหมายเลข เปรียบเทียบ เอกสารหมายเลข ก-จ ขอ้ มูลหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ได้อย่าง ก-จ) ได้ ครบถ้วน ดี (3) นักเรียนสามารถแสดงวิเคราะห์ ข ้ อ ม ู ล ห ล ั ก ฐ า น ท า ง ป ร ะ ว ั ต ิ ศ า ส ต ร์ เปน็ ส่วนใหญ่ พอใช้ (2) นักเรียนสามารถแสดง วิเคราะห์ข้อมูลหลักฐาน ทางประวัตศิ าสตร์เล็กน้อย ปรับปรงุ (1) นักเรยี นไมส่ ามารถวเิ คราะห์ ข้อมลู หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ได้ เกณฑก์ ารวดั ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (คะแนนเต็ม 4 คะแนน) 4 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดเี ยีย่ ม (4) 3 คะแนน อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดี (3) 2 คะแนน อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ พอใช้ (2) 1 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1)

๑๔ เกณฑก์ ารวัดและใหค้ ะแนนด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ประเด็นการประเมนิ ตวั บ่งชี้พฤติกรรม เกณฑก์ ารตรวจ เ พ ื ่ อ ใ ห ้ น ั ก เ ร ี ย น ต ั ว ช ี ้ ว ั ด ท ี ่ 4.2 แ ส ว ง ห า ค ว ามรู้ ดีเยี่ยม (4) ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากหลักฐาน ใฝ่การเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและ และสารสนเทศ เลือกใชส้ อื่ ทเ่ี หมาะสม มกี ารบันทึก ภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ส่ือ ความรู้ วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปเป็นองค์ความรู้ อย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลยี่ นการเรียนร้ดู ว้ ยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ดี (3) ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหลักฐานและ ได้ สารสนเทศ เลือกใช้สื่อที่เหมาะสม มีการบันทึก ความรู้ วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลย่ี นการเรียนรู้กบั ผ้อู ื่นได้ พอใช้ (2) ศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้จากหลกั ฐานและ สารสนเทศ เลือกใช้สื่อที่เหมาะสม มีการบันทึก ความรู้ ปรับปรงุ (1) ไมศ่ กึ ษาค้นคว้าหาความรู้ เกณฑก์ ารวัดและใหค้ ะแนนด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (คะแนนเต็ม 4 คะแนน) 4 คะแนน อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดีเยีย่ ม (4) 3 คะแนน อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ดี (3) 2 คะแนน อยู่ในระดบั คุณภาพ ปานกลาง (2) 1 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ปรับปรุง (1)

๑๕ บันทกึ หลังการจัดการเรียนรู้ ข้อสังเกต/คน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไขปัญหาเพ่ือปรบั ปรุง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการพฒั นา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………………………. (นางสาวโรสรนิ พร อินชน่ื ) ผสู้ อน ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ………………………………………………. (นางเยาวเรศน์ วงศข์ ัติย์) ความคิดเห็นของหวั หน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลมุ่ สาระสังคมศึกษาฯ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ………………………………………………. (นายบรรเลง สนิ ต๊ะ) หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ ความคดิ เหน็ ของผู้อำนวยการสถานศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อว่าท่รี ้อยตรี…………………………………… (อดุลย์ อะทะยศ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นสา

๑๖ แบบบันทกึ ผลการประเมนิ การเรียนรู้ ด้านความรู้ หลักฐานชดุ ท่ี 1 (เอกสารหมายเลข 1-10) แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 4 เรอ่ื ง ตามรอยอาณาจกั รสุโขทัย กลมุ่ ท่ี คะแนนที่ได้จากการวิเคราะห์หลักฐาน ผลการประเมนิ หมายเลข 1-10 คะแนนเต็ม 10 คะแนน ผ่าน ไม่ผา่ น เกณฑ์การใหค้ ะแนน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 9-10 คะแนน อย่ใู นระดับคุณภาพ ดีเยีย่ ม (4) 7-8 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี (3) 4-6 คะแนน อย่ใู นระดบั คุณภาพ พอใช้ (2) 1-3 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ (1) ผลการประเมนิ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...................... นกั เรยี นท้ังหมด......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ ...................... ผ่าน จำนวน ............. คน ไมผ่ ่าน จำนวน ............. คน ลงชอื่ ............................................ ครูผ้สู อน ( ....................................... )

๑๗ แบบบันทึกผลการประเมนิ การเรียนรู้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ หลักฐานชุดท่ี 2 (เอกสารหมายเลข ก-จ) แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 เรื่อง ตามรอยอาณาจกั รสุโขทัย ระดบั คณุ ภาพ ิวเคราะ ์หข้อมูลไ ้ด ครบถ้วน วิเคราะ ์หข้อมูลไ ้ด เป็น ่สวนใหญ่ ิวเคราะ ์หข้อมูลได้ เล็ก ้นอย ไม่สามารถ วิเคราะ ์หห ัลกฐาน ได้ กลุม่ ที่ ผลการประเมิน 43 2 1 ผ่าน ไมผ่ า่ น เกณฑก์ ารวัดด้านทักษะกระบวนการ (คะแนนเต็ม 4 คะแนน) 4 คะแนน อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ดีเยย่ี ม (4) 3 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี (3) 2 คะแนน อยใู่ นระดับคุณภาพ ปานกลาง (2) 1 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ปรับปรุง (1) ผลการประเมนิ นกั เรียนทัง้ หมด......................คน ได้ระดับดีเย่ียม (4) จำนวน ............. คน คิดเป็นร้อยละ .............. ไดร้ ะดับดี (3) จำนวน ............. คน คดิ เป็นร้อยละ .............. ได้ระดบั พอใช้ (2) จำนวน ............. คน คิดเป็นรอ้ ยละ ............. ไดร้ ะดับปรบั ปรุง (1) จำนวน ............. คน คดิ เปน็ ร้อยละ ............ ลงชื่อ ............................................ ครูผูส้ อน ( .......................................... )

๑๘ แบบบนั ทกึ ผลการประเมิน ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 4 เรือ่ ง ตามรอยอาณาจักรสุโขทัย ที่ ชื่อ – สกลุ ้คนค ้วา ิวเคราะ ์ห ผลการประเมิน ้ขอมูล ที่หลากหลาย ผ่าน ไมผ่ ่าน ้คนค ้วา ิวเคราะ ์ห ้ขอมูล ่ีทเหมาะสม ้คนค ้วา ิวเคราะ ์ห ้ขอมูลได้ ้บาง ไม่ ึศกษา ้คนค ้วา หาความ ู้ร ระ ัดบ ุคณภาพ 4 321 เกณฑก์ ารวัดและใหค้ ะแนนด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (คะแนนเต็ม 4 คะแนน) 4 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดเี ยย่ี ม (4) 3 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี (3) 2 คะแนน อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ปานกลาง (2) 1 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ (1) ผลการประเมิน นกั เรยี นทง้ั หมด......................คน ไดร้ ะดบั ดีเยีย่ ม (4) จำนวน ............. คน คิดเปน็ ร้อยละ .............. ได้ระดับดี (3) จำนวน ............. คน คิดเป็นร้อยละ .............. ได้ระดับพอใช้ (2) จำนวน ............. คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ............. ไดร้ ะดับปรบั ปรุง (1) จำนวน ............. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ............ ลงช่ือ ............................................ ครผู ู้สอน (……………………………………)

๑๙