1. สปาร์ตา (Sparta) ลกั ษณะสาคญั ของนครรัฐสปาร์ตา มีดงั น้ี - ชาวสปาร์ตาสืบเช้ือสายมาจากพวกดอเรียน ซ่ึงเป็นพวกอินโด – ยโู รเปี ยน พวกสุดทา้ ยท่ีอพยพเขา้ มาอยใู่ นคาบสมุทรกรีก - มีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่ไม่เอ้ือต่อการประกอบอาชีพ กล่าวคือ เป็น ดินแดนที่ต้งั อยใู่ นหุบเขา และไม่ติดชายฝ่ังทะเล ทาใหไ้ ม่มีกาแพง ธรรมชาติป้องกนั เหมือนนครรัฐอื่น และทาใหเ้ กิดปัญหาทางดา้ น เศรษฐกิจ
- ชาวสปาร์ตาแกป้ ัญหาทาง ศก. ดว้ ยการทาสงครามปราบปราม นครรัฐอื่นๆ ทาใหม้ ีจานวนทาสและเชลยศึกมากกวา่ ชาวสปาร์ตา แทๆ้ จึงตอ้ งมีการควบคุมพวกทาสดว้ ยการปกครองแบบ เผดจ็ การทหาร หรือแบบเผด็จการเบด็ เสร็จ ระบบเศรษฐกจิ ระบบ ศก. ของสปาร์ตาเป็นแบบฟาสซิสมม์ ากกวา่ คอมมิวนิสต์ เพราะเป็นระบบ ศก. เพือ่ กองทพั ที่ดินท่ีดีท่ีสุดเป็นของรัฐ ส่วนที่ดินที่ไม่ดีสามารถนาไปขายได้
การปกครอง - มีการปกครองแบบเผดจ็ การเบด็ เสร็จ/ระบอบคณาธิปไตย ประกอบดว้ ย กษตั ริย์ 2 องค์ และมีสภา 2 สภา คือ สภามนตรีและ สภาประชาชน ซ่ึงทาหนา้ ท่ีออกกฎหมาย และตดั สินคดีร่วมกนั แต่ ปรากฏวา่ กลุ่มผมู้ ีอานาจมากที่สุด คือ คณะเอเฟอร์ ซ่ึงเป็นกลุ่มบุคคล 5 คน ท่ีเลือกมาจากราษฎรอาวโุ ส ซ่ึงอยใู่ นตาแหน่ง 5 ปี และมี หนา้ ท่ีที่สาคญั ดงั น้ี
1. กาหนดโชคชะตาของเดก็ เกิดใหม่ทุกคน นน่ั คือ เมื่อมีเดก็ เกิดใหม่ ตอ้ งนาไปใหค้ ณะเอเฟอร์ตรวจสอบความแขง็ แรงสมบูรณ์ของ ร่างกาย ถา้ เดก็ พิการหรืออ่อนแอกจ็ ะถูกนาไปทิ้งที่หนา้ ผาเพอื่ ไม่ใหเ้ ป็นภาระต่อสงั คม 2. สามารถถอดถอนหรือสง่ั ประหารกษตั ริยไ์ ด้ 3. ควบคุมระบบการศึกษา 4. มีอานาจเหนือกฎหมายและสภา
การแบ่งชนช้ันภายในรัฐสปาร์ ตา ประชาชนท้งั หมดในสปาร์ตามีประมาณ 400,000 คน ประกอบดว้ ย 1. สปาร์ติเอท (Spartiates) คือ ชาวสปาร์ตาแทๆ้ มี 1/20 ของจานวน ประชากรท้งั หมด หรือมีจานวนไม่เกิน 40,000 คน ซ่ึงถือวา่ เป็นพวก เดียวกนั ท่ีมีสิทธิทางการเมือง 2. เพริออไค (Perioci) คือ พวก เสรีชนท่ีประกอบอาชีพคา้ ขาย และยอมอยใู่ ต้ สวามิภกั ด์ิของสปาร์ตา ไดร้ ับอนุญาตใหท้ าการคา้ อยา่ งเสรี แต่ไม่มีสิทธ์ิทางการเมือง และหา้ ม แต่งงานกบั ชาวสปาร์ตาแท้
3. เฮลอทหรือเซิร์ฟ (Helots or Serfs) คือ พวกไมซีเนียนเดิม และทาสเชลยสงคราม โดยทาสเหล่าน้ีจะผกู ติดกบั ที่ดิน ข้ึนอยกู่ บั เจา้ นาย และถูกนาไปขายโอน ปล่อยเป็นเสรีหรือคา้ ไม่ได้ ท้งั น้ีพวกทาสจะไม่มี สิทธ์ิทางการเมือง และไม่มีสิทธิประกอบอาชีพไดต้ ามใจชอบ ภาระของชาวสปาร์ตา - ชาวสปาร์ตามีหนา้ ท่ีตอ้ งรับภาระ ในกองทพั ต้งั แต่อายุ 20 ปี สภาพชีวติ ของชาวสปาร์ตาแทจ้ ึงเท่ากบั เกิดมา เพอื่ เป็นทาสของรัฐ เพราะตอ้ งอยใู่ น กฎขอ้ บงั คบั อยา่ งเคร่งครัด และไม่มี สิทธิส่วนตนเลย
- การศึกษาถูกจากดั ใหอ้ ยแู่ ต่การฝึกทหาร มีหนา้ ที่ทาสงคราม เม่ืออายุ 20 – 60 ปี ตอ้ งเป็นทหาร และตอ้ งอุทิศชีวติ ในการรับใชร้ ัฐ - สามารถแต่งงานได้ แต่หา้ มอยดู่ ว้ ยกนั และหากมีลูกจะถือวา่ เดก็ เป็นสมบตั ิของรัฐ ไม่ใช่ของพอ่ แม่ ดงั น้นั จึงนบั วา่ ชาว สปาร์ตาเป็น ผแู้ บกภาระของรัฐไวห้ นกั สุด เพอื่ ควบคุมพวกทาสซ่ึงมีจานวนมากกวา่
2. เอเธนส์ (Athens) บรรพบุรุษของชาวเอเธนส์ คือ พวกไอโอเนียน ซ่ึงคอ่ ยๆ รุกรานแบบ แทรกซึมเขา้ มาในคาบสมุทรกรีก ไม่ใช่ลกั ษณะจู่โจมเหมือนพวกส ปาร์ตา ดงั น้นั จึงไมมีปัญหาเร่ืองความแตกต่างของพลเมือง ประกอบ กบั เอเธนส์มีท่าเรือที่ดีจึงมีการทาการคา้ มากกวา่ ทาเกษตรกรรม การปกครอง - ช่วงกลางศตวรรษท่ี 8 B.C. เอเธนส์เริ่ม การปกครองดว้ ยระบอบกษตั ริย/์ ระบอบ เทวาธิปไตย
- ต่อมาเปลี่ยนมาเป็นระบอบอภิชนาธิปไตย เม่ือเกิดปัญหาทาง ศก. พวกขนุ นางจึงส่งเสริมใหช้ าวเอเธนส์ออกไปแสวงหา ค.มง่ั คง่ั จาก ภายนอก จึงทาใหพ้ วกทรราชที่ร่ารวยจากการคา้ เขา้ ยดึ อานาจ - เมื่อพวกทรราชปกครองแบบกดขี่จึงถูกขบั ไล่ ประกอบกบั พวก สามญั ชนไดเ้ รียกร้องใหม้ ีการสร้างกฎหมายเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรข้ึน เพอ่ื ใหท้ ุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกนั จากน้นั เอเธนส์จึงคอ่ ยๆ เปล่ียนแปลง การปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตย
บุคคลผ้มู บี ทบาทผลกั ดนั ให้เอเธนส์ปกครองแบบประชาธิปไตย 1. ดราโค (Draco) เป็นเจา้ ของประมวลกฎหมายท่ีเขม้ งวด จนทาใหเ้ กิด คาวา่ “Draconic” ซ่ึงมีความหมายวา่ รุนแรงหรือเขม้ งวด กฎหมายของด ราโคใหค้ วามยตุ ิธรรมดีข้ึน แต่ไม่สามารถแกไ้ ขปัญหาทาง ศก. กฎหมาย ฉบบั น้ีประกาศใชเ้ ม่ือ 620 B.C. ซ่ึงนบั วา่ เป็นกฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร ฉบบั แรกของกรีก 2. โซลอน (Solon) ไดท้ าการปฏิรูปท้งั ทาง การเมืองและเศรษฐกิจ ดงั ต่อไปน้ี 1) อนุญาตใหป้ ระชาชนที่มีอายตุ ้งั แต่ 18 ปี ข้ึน ไปมีสิทธิออกเสียงเลือกต้งั ได้ 2) ต้งั สภา 400 โดยแบ่งเอเธนส์ออกเป็น 4 เขต แต่ละเขตจะมีตวั แทนเขตละ 100 คน และยอมรับชนช้นั กลางเขา้ เป็นสมาชิก
3) แกไ้ ขปัญหาทาง ศก. โดยหา้ มขายตวั เพื่อ ชดใชห้ น้ีสิน หา้ มการจานองท่ีดิน จากดั จานวน ที่ดินท่ีคนร่ารวยถือสิทธิครอบครอง รวมท้งั ประชาชนทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกนั ท้งั ในสภา และตามกฎหมาย 4) กาหนดใหม้ ีการใชเ้ งินเหรียญ เพื่อ สะดวกต่อการคา้ ขายแลกเปลี่ยนกบั ต่างประเทศ
3. คลสิ เธนิส (Cleisthenes) เป็นผวู้ างรากฐานการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยในเอเธนส์เป็นคนแรก จนไดร้ ับสมญาวา่ “บิดาของ ประชาธิปไตยแห่งกรุงเอเธนส์” และทาใหป้ ระชาธิปไตยมีความหมายวา่ “การ บริหารอยใู่ นมือของคนส่วนใหญ่” ซ่ึงการปฏิรูปท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ การกาจดั อิทธิพลของครอบครัวที่มีอานาจทางการเมือง, จดั ต้งั สภา 500 แทนสภา 400 ของโซลอน โดยแบ่งเอเธนส์ออกเป็น 10 เขต แต่ละเขตมีสมาชิกเขตละ 50 คน และนาเอาระบบออสตราซิสม์ ซ่ึงเป็นการเนรเทศบุคคลท่ีไม่พงึ ปรารถนาออก นอกประเทศมาใช้
แต่สภา 500 มิไดม้ ีอานาจสูงสุด คลิสเธนีสกาหนดอานาจใหก้ บั สภา ประชาชน ซ่ึงประกอบดว้ ยพลเมืองชายช้นั สูงที่มีสิทธิทางการเมือง โดยจะมี อานาจในการพิจารณากฎหมายหรือนโยบายต่างๆ ที่ผา่ นสภา 500 แลว้ มีสิทธิ เลือกผแู้ ทนไปปกครอง และคดั เลือกอาร์คอนเป็นประมุข นอกจากน้ีอานาจท่ีแทจ้ ริงในการปกครองยงั ตกอยทู่ ี่ทหารช้นั สูง คือ คณะ 10 นายพล ส่วนประชาชนที่เป็นหญิง ทาส และชนต่างดา้ ว ต่างนคร จะไม่มีสิทธิทางการเมืองทุกคน
4. เพริคลสิ (Pericles) ไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็นผทู้ ี่เปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเขา้ ร่วมในกิจกรรมทางการเมืองมากที่สุด ทาใหเ้ ป็นสมยั ท่ีระบอบ ประชาธิปไตยพฒั นาไปไดถ้ ึงจุดสูงสุด สมยั น้ีจึงไดช้ ื่อวา่ เป็น “ยคุ ทองของ เอเธนส์” และทาใหเ้ อเธนส์กลายเป็น “บรมครูของนครรรัฐกรีกหรือชาว เฮลลสั ท้งั มวล” ดงั น้นั เอเธนส์ จึงถือวา่ เป็นตน้ กาเนิดและแม่แบบของ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย และอารยธรรมตะวนั ตก จากความภาคภูมิใจในผลงานท่ีเพริคลิส การกระทาน้นั ทูซีดิดิส นกั ปวศ.ชาวกรีก จึงไดส้ รรเสริญเพริคลิสไวใ้ น หนงั สือเร่ือง History of the Peloponnesian War
ประชาธิปไตยในเอเธนส์ยงั ไม่สมบูรณ์แบบ เพราะ 1) ประชาชนท่ีไม่ไดเ้ ป็นพลเมืองเอเธนส์ไม่มีสิทธิในทางการเมือง ยกเวน้ พลเมืองชายช้นั สูงเท่าน้นั ท่ีมีอานาจในการปกครอง 2) ความมน่ั คงและอานาจของเอเธนส์ข้ึนอยกู่ บั ทาส 3) ผหู้ ญิงไม่มีสิทธิออกเสียง ไม่มีสิทธิเป็นเจา้ ของทรัพยส์ ิน หรือ ทางานในหน่วยงานของรัฐ 4) วธิ ีออสตราซิสมจ์ ะเปิ ดโอกาสใหน้ กั พดู สามารถพดู ชกั จูงใหค้ นอื่นเลื่อมใสมากกวา่ การปลูกฝัง แนวความคิดท่ีดีงามใหแ้ ก่ประชาชน 5) อานาจที่แทจ้ ริงในการปกครองจะอยทู่ ี่ ทหารช้นั สูง คือ คณะ 10 นายพล
3. อารยธรรมกรีกในฐานะแม่บทของอารยธรรม ตต. ในสมยั ของเพริคลิส ถือวา่ ระบอบประชาธิปไตยไดพ้ ฒั นาไปอยา่ งสูงสุด จนสมยั น้ีไดช้ ื่อวา่ เป็นสมยั ทองของเอเธนส์ ซ่ึงมีความเจริญหลายดา้ น ไดแ้ ก่ ศิลปะกรีกแสดงอุดมการณ์แห่งอารยธรรม - เอกลกั ษณ์ทางสงั คมของชาวกรีก คือ วิถีชีวิตในตวั เมือง/นครรัฐ ซ่ึงในนครรัฐน้ีจะมีสถานที่นดั พบปะประชุมกนั รวมท้งั ตลาดดว้ ย ทาให้ ชีวติ ประจาวนั ของพลเมืองกรีก โดยเฉพาะท่ีนครรัฐเอเธนส์น้นั จะแสดงถึงความผกู พนั กบั กิจกรรมสาธารณะและ การพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ เช่น การประกอบพิธีกรรม กิจกรรมทางการเมืองการปกครอง การกีฬา การละคร และความบนั เทิง เป็นตน้
- ชาวกรีกเป็นนกั วตั ถุนิยมที่มองโลกในแง่กายภาพ และสร้างสรรค์ งานศิลป์ โดยมุ่งหมายทางโลกเป็นสาคญั ดงั น้นั งานศิลปะของกรีกจึงเนน้ เร่ืงอสุนทรียภาพหรือความงาม ตลอดจนความมีเอกภาพและดุลยภาพของ งานศิลปะ นอกจากน้ีชาวกรีกยงั ส่งเสริมเสรีภาพ การมองโลกในแง่ดี ความ มีเหตุผล การส่งเสริมท้งั ทางร่างกายและจิตใจ
- สิ่งก่อสร้างท่ีสวยงามของกรีกมีมากมาย เช่น วหิ าร ยมิ เนเซียม สถานที่ราชการ เป็นตน้ ผลงานท่ีมีช่ือเสียง คือ มหาวิหารพาร์เธนอน บน ยอดอะโครโพลีสในเอเธนส์ ซ่ึงเป็นที่ประดิษฐานรูปป้ันของเทวีอเธนา (เทพปี ระจาเอเธนส์) ท่ีไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็นสถาปัตยกรรมกรีกที่งดงาม ที่สุด โดยสร้างตามอุดมคติของชาวกรีก
- รูปแบบของวหิ ารกรีก คือ สร้างดว้ ยหินอ่อน หลงั คาหนา้ จวั่ และมีเสาเรียงราย จานวนมาก ลกั ษณะของหวั เสามี 3 แบบ คือ แบบดอริก เป็นแบบเสาท่ีแพร่หลาย ท่ีสุด มีลกั ษณะเรียบง่าย ตอนบนจะมีแผน่ หิน เรียบวางทบั อยู่ และส่วนล่างของเสาจะใหญ่ และเรียวข้ึนเลก็ นอ้ ย ตามลาเสาจะแกะเป็นทาง ยาว
แบบไอโอนิก เป็นเสาท่ีมีการตกแต่ง หวั เสา โดยมีลกั ษณะยอ้ ยมว้ นลงมาขา้ งเสาท้งั 2 ขา้ ง จึงทาใหม้ ีลกั ษณะงดงามแช่มชอ้ ย
แบบโครินเธียน เป็นเสาที่มีการตก แต่ประดบั ประดาท่ีหวั เสาอยา่ งงดงาม หรูหราดว้ ยการแกะสลกั เป็นรูปใบไม้ ประดิษฐ์
การละคร เป็นเรื่องราวเกี่ยวกบั ศาสนา ประวตั ิศาสตร์ และความเช่ือของกรีก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ละครโศกนาฏกรรม เป็นเรื่องอิทธิพลของเทพเจา้ ท่ีมีอานาจเหนือ มนุษย์ 2. ละครสุขนาฏกรรม เป็นละครที่เล่นเพื่องานฉลองฤดูใบไมผ้ ลิและ เล่นถวายเทพเจา้ ไอโอนีซุส ซ่ึงเป็นเทพเจา้ แห่ง พชื พนั ธธ์ ญั ญาหาร
เวทีท่ีใชแ้ สดงเป็นละครกลางแจง้ มีอฒั จนั ทร์ท่ีบรรจุผชู้ มไดน้ บั พนั คน
คณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ นกั คณิตศาสตร์ที่สาคญั คือ พทิ ากอรัส เป็นผวู้ างหลกั สาคญั ในวิชาเรขาคณิต อริสโตเติล เป็นผวู้ างรากฐานวชิ าพฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ และกายภาพวทิ ยา
ยูคลกิ ยคู ลิกแห่งอะเลก็ ซานเดรีย ผวู้ างรากฐาน ความรู้เรขาคณิตใหแ้ ก่โลกปัจจุบนั เป็นผเู้ ขียน หนงั สือชุด Elements ซ่ึงมีจานวน 13 เล่ม เน้ือหา ส่วนใหญ่กล่าวถึงเรขาคณิตระนาบและเรื่อง สดั ส่วน
เฮโลฟี ดัส เป็นผทู้ าการผา่ ตดั ร่างกาย รวมท้งั คน้ พบระบบการไหลเวียนของ โลหิต ระบบประสาท และกลา้ มเน้ือ และเป็นคนแรกท่ีตดั ชิ้นส่วนมนุษย์ เพอ่ื ศึกษา และพบวา่ สมองเป็นศูนยก์ ลางของระบบประสาท ไดร้ ับการยก ยอ่ งเป็น “บิดาแห่งกายวภิ าคศาสตร์”
ดมี อคริตุส เป็นผทู้ ี่เช่ือวา่ สสารทุกชนิด ประกอบดว้ ยอะตอมท่ีเคล่ือนท่ีได้ ฮิปโปเครตีส ผไู้ ดร้ ับสมญาวา่ “บิดาของวิชาแพทยศ์ าสตร์” ผมู้ ีอุดม คติสูงส่ง ซ่ึงปรากฏเป็นหลกั ปฏิญาณ ของแพทยใ์ นปัจจุบนั
วชิ าฟิ สิกส์ : อาร์คิมิดีส - เป็นผคู้ น้ พบวิธีหาปริมาตรของวตั ถุ โดยการแทนที่น้า - เป็นผตู้ ้งั กฎคานดีดคานงดั - เป็นผคู้ ิดระหดั วดิ น้าแบบเกลียวลูกรอก เป็นตน้
ประวตั ิศาสตร์ นกั ปวศ.กรีกท่ีมีช่ือเสียง คอื เฮโรโดตสั ซ่ึงไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็น “บิดาของวิชา ประวตั ิศาสตร์” โดยเขาไดเ้ ขียน ปวศ.สงคราม เปอร์เซียลงในหนงั สือช่ือ Historia” ซ่ึงไดใ้ ช้ วธิ ีการสืบสวน/สอบถามจากคนที่อยใู่ น เหตุการณ์โดยตรง และนาหลกั ฐานท่ีไดม้ าเรียบ เรียงเป็นเรื่องราวทาง ปวศ.
วชิ าภูมิศาสตร์ : เอราทอสทีนิส - เป็นนกั ดาราศาสตร์และนกั ภูมิศาสตร์ สามารถคานวณเสน้ รอบโลกได้
ปรัชญา ปรัชญากรีกเป็นปรัชญาเก่ียวกบั มนุษย์ ดงั ที่โปรตากอรัส นกั ปรัชญากลุ่มโซฟิ สต์ ไดก้ ล่าววา่ “มนุษยค์ ือเคร่ืองวดั ทุกส่ิง” ในตน้ ศตวรรษที่ 4 B.C. ไดม้ ีนกั ปราชญเ์ ฮลเลนิกท่ีใชว้ กี ารทาง ตรรกศาสตร์กาหนดแนวคิดท่ีสาคญั คือ 1. โสฟิ สท์ / คณะผู้รู้ เป็นคณะครู ที่ทาการสอนโดยท่องเที่ยวไปตามท่ี ต่างๆ ซ่ึงมีความเช่ือวา่ “ความมี ประโยชน์เป็นเครื่องวดั ทุกส่ิง ไม่มีสจั ธรรมสมบูรณ์ในโลก”
2. โซเครตีส ไดช้ ื่อวา่ เป็น “บุคคลที่ ฉลาดที่สุดในกรีก” และรับการยกยอ่ งจาก ชิเชโรวา่ “เป็นคนแรกที่ดึงเอาวิชาปรัชญา ลงมาจากสวรรค์ และวางลงในโลก มนุษย”์ ซ่ึงโซเครตีนเช่ือวา่ มนุษยถ์ ูกบด บงั ดว้ ยความเคยชิน ค.เห็นแก่ตวั และ ค. หลงใหลในวตั ถุ ดงั น้นั มนุษยค์ วรรู้จกั ตนเองเสียก่อน”
3. เพลโต เป็นลูกศิษยผ์ รู้ วบรวมคาสอนของ โสเครตีสไวใ้ นหนงั สือช่ือ Dialogue หรือบท สนทนา และเขียนหนงั สือ ชื่อ The Republic หรือสาธารณรัฐ ซ่ึงกล่าวถึงการปกครองที่ดี คือ การปกครองท่ีไม่มีแห่งหนใดเลย เป็นสงั คมใน อุดมคติ และไดเ้ สนอวา่ ผปู้ กครองในอุดมคติ จะตอ้ งใหผ้ ทู้ ่ีมีการศึกษาและมีสติปัญญาเป็น ผปู้ กครอง
4. อริสโตเติล เป็นผทู้ ่ีไม่เห็นดว้ ยกบั การแบ่ง ชนช้นั ของเพลโต เพราะจะทาใหเ้ กิดความขดั แยง้ โดยสงั คมที่ดีทุกคนควรมีความรู้สึกเป็นมิตรต่อกนั และทุกคนมีฐานะเท่าเทียมกนั ส่วนในดา้ นการ ปกครอง อริสโตเติลถือวา่ รัฐในอุดมคติจะตอ้ งมี การปกครองโดยใชก้ ฎหมายเป็นหลกั มิใช่ตวั บุคคล
4. สงครามกรีกกบั เปอร์เซีย หรือ สงครามมาราธอน เป็นสงครามระหวา่ งกรีกเอเธนส์กบั เปอร์เซีย โดยมีสาเหตุมาจากการท่ีพระเจา้ ดาริอุสที่ 1 แห่งเปอร์เซียไดเ้ ขา้ ยดึ ครองลิเดียและไอโอเนีย แต่นครรัฐเอเธนส์ ไดช้ ่วยเหลือพวกไอโอเนียนก่อการกบฏ เพ่ือต่อตา้ นอานาจของเปอร์เซีย ดงั น้นั พระเจา้ ดาริอุสจึงยกทพั มาปราบเอเธนส์ แต่ตอ้ งมาพา่ ยแพท้ ่ีสมรภูมิ มาราธอนในปี 490 B.C. ซ่ึงสงครามคร้ังน้ีทาใหเ้ กิดวรี บุรุษชาวเอเธนส์ ชื่อ “เฟดิปปิ ดิส” ซ่ึงใชเ้ วลาว่ิงไปกลบั ระหวา่ งเอเธนส์กบั สปาร์ตา รวม 2 วนั 2 คืน เพื่อขอกาลงั ทหารมาช่วยเอเธนส์ และวิ่งกลบั มาที่เอเธนส์ เพอ่ื แจง้ ข่าวถึงชยั ชนะของเอเธนส์จนลม้ ขาดใจตาย ซ่ึงเหตุการณ์น้ีไดก้ ลายมาเป็นตานานใหเ้ กิด การแข่งขนั วิง่ มาราธอน เป็นระยะทาง 26 ไมล์ เมื่อมีการฟ้ื นฟูกีฬาโอลิมปิ กข้ึน ใหม่ในปี ค.ศ. 1896
สงครามเปอร์เซียทาใหน้ ครรัฐกรีกร่วมมือกนั ต่อตา้ นการรุกราน จากภายนอกจนไดร้ ับชยั ชนะหลงั จากน้นั นครรัฐกรีกกไ็ ดก้ ่อต้งั “สมาพนั ธรัฐแห่งหมู่เกาะเดลอส” ข้ึน เพือ่ ความร่วมมือกนั ใน กลุ่มนครรัฐกรีก เมื่อเพริคลิสเป็นผปู้ กครองเอเธนส์ สมาพนั ธรัฐ แห่งน้ีกถ็ ูกยดึ อนาจโดยเอเธนส์ ทาใหน้ ครรัฐสปาร์ตาไม่พอใจจน ก่อใหเ้ กิดสงครามภายในของกรีกในเวลาต่อมา
5. สงครามเพโลพอนนีเซียน ประมาณ 431 – 404 B.C. เป็นสงครามระหวา่ งนครรัฐเอเธนส์กบั สปาร์ตา ซ่ึงมีสาเหตุมาจากทน่ี ครรัฐ ต่างๆ ของกรีกไดร้ ่วมกนั จดั ต้งั สมาพนั ธรัฐแห่งหมู่เกาะเดลอส เพื่อป้องกนั การรุกรานจากเปอร์เซีย และใชเ้ ป็นศูนยก์ ลางในการเกบ็ สมบตั ิของสมาชิก แต่ในความเป็นจริงการจดั ต้งั สมาพนั ธ์น้ีกลบั เอ้ือใหเ้ อเธนสเ์ ป็นผนู้ าที่มี อิทธิพลสูงสุด กระทงั่ สมยั เพริคลิส สมาพนั ธ์น้ีกเ็ ปลี่ยนสภาพมาเป็น จกั รวรรดิของเอเธนส์ ส่วนนครรัฐ อื่นๆ กถ็ ูกลดฐานะใหเ้ ป็นเพยี งรัฐ บริวาร ทาใหร้ ัฐสปาร์ตาเกิดความ สงสยั และกลวั วา่ เอเธนส์จะเป็น ผนู้ ากรีกท้งั หมด
ดว้ ยเหตุน้ีจึงเป็นชนวนทาใหก้ ิดสงครามระหวา่ งชาวกรีกดว้ ยกนั เอง ซ่ึงผล ของสงครามท่ีนานยดื เย้อื ถึง 27 ปี ทาใหส้ ปาร์ตาเป็นฝ่ายชนะ และนครรัฐ กรีกท้งั หมดอ่อนแอ และเส่ือมอานาจลง จนในที่สุดกรีกกต็ กอยภู่ ายใต้ อิทธิพลของมาซิโดเนีย
6. การขยายอานาจของรัฐมาซิโดเนีย เมื่อนครรัฐกรีกอ่อนแอ มาซิโดเนีย ซ่ึงเป็นอาณาจกั รอิสระทางตอน เหนือไดข้ ยายอานาจเขา้ ยดึ ครองนครรัฐกรีกไดท้ ้งั หมด โดยพระเจา้ อเลก็ ซานเดอร์มหาราช สมยั พระเจา้ อะเลก็ ซานเดอร์มหาราช เรียกวา่ “ยคุ เฮลเลนิสติก” เป็นยคุ ท่ี จกั รวรรดิกรีกขยายดินแดนออกไปกวา้ งใหญ่ไพศาล ครอบคลุมถึงเอเชีย ตต./ต. (เอเชียไมเนอร์) อียปิ ต์ เปอร์เซีย ไปจนถึงอินเดีย และมีความ เจริญรุ่งเรืองทางดา้ นศิลปวฒั นธรรมอยา่ งมาก อารยธรรมกรีกแพร่หลาย ไปทวั่ จกั รวรรดิ มีการจดั ต้งั เมืองอะเลก็ ซานเดรีย ชายฝ่ังทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางตอน เหนือของอียปิ ต์ เป็นเมืองศูนยก์ ลางการคา้ และศิลปวฒั นธรรม
5.7 การเส่ือมอานาจของกรีก เมื่อสิ้นยคุ สมยั ของพระเจา้ อเลก็ ซานเดอร์มหาราช จกั รวรรดิกรีกกแ็ ตกแยก และเส่ือมอานาจ และถูกผนวกเขา้ เป็นส่วนหน่ึงของจกั รวรรดิโรมนั ที่ เขม้ แขง็ กวา่ เมื่อประมาณ 200 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช
* เป็นช่วงท่ีนครรัฐต่างๆ ของกรีกเสื่อมลง ในขณะท่ีแควน้ มาซิโดเนีย เจริญข้ึน โดยแควน้ น้ีเป็นรัฐเลก็ ๆ ที่ต้งั อยทู่ างเหนือของกรีก พลเมือง ประกอบดว้ ยชนหลายเช้ือชาติ ส่วนใหญ่สืบเช้ือมาจากกรีก แต่มี วฒั นธรรมดอ้ ยกวา่ กรีก ท้งั น้ีกษตั ริยท์ ่ีสาคญั ของมาซิโดเนีย คือ พระเจา้ อเลก็ ซานเดอร์ หลงั จากที่ข้ึนครองราชยเ์ ป็นกษตั ริยข์ องกรีก ในปี 336 B.C. กไ็ ดท้ รงดาเนินการขยายอาณาเขตต่อจากพระราชบิดา โดยทาการรบเพื่อปลดปล่อยหวั เมืองต่างๆ ของกรีกบนเอเชียไมเนอร์ ใหพ้ น้ จากการปกครองของเปอร์เซีย จากน้นั ยกทพั ผา่ นซีเรีย ปาเลสไตน์ อียปิ ต์ เมโสโปเตเมีย และยดึ ครองจกั รวรรดิเปอร์เซีย แลว้ ไดข้ ยายอานาจมาถึงชายแดนของอินเดียบริเวณลุ่ม ม.สินธุไดส้ าเร็จ ในปี 323 B.C.
ลกั ษณะของอารยธรรมเฮเลนิสติกในด้านต่างๆ การปกครองและสังคม รูปแบบการปกครองของกรีกไม่ไดแ้ พร่หลายไปยงั ดินแดน เฮลเลนิสติกท้งั หมด โดยมีชาวกรีกอพยพไปอยใู่ นโลกเฮลเลนิสติกแต่ยงั คงพดู ภาษากรีกอยเู่ ช่นเดิม เศรษฐกจิ รัฐบาลในโลกเฮลเลนิสติกเป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิตเป็นส่วนใหญ่ การคา้ เป็นกิจกรรมหลกั ที่ สาคญั โดยในสมยั ของพระเจา้ อเลก็ ซานเดอร์ มหาราช ศูนยก์ ลางของอารยธรรมและการคา้ จะอยทู่ ี่ เมืองอเลก็ ซานเดรีย
ปรัชญา ในยคุ น้ีจะใหค้ วามสนใจเกี่ยวกบั ความเป็นมาของชีวิต วญิ ญาณ และ ชีวติ ในโลกหนา้ แทนความเชื่อในศาสนาด้งั เดิม โดยลทั ธิต่างๆ ที่นิยม นบั ถือกนั คือ 1. เอพคิ วิ เรียน ผกู้ ่อต้งั คือ เอพิคิวรุส ซ่ึงเช่ือวา่ ความสุขเป็นส่ิงท่ีมนุษยต์ อ้ งแสวงหาในโลกน้ี โดยการ ดารงชีวติ ท่ีดีงาม อาศยั ความรู้ และคุณธรรมเป็ นหลกั และ การเลือกวิถีชีวิตของตนเอง ดงั น้นั ลทั ธิน้ีจึงถูกขนาน นามวา่ เป็นพวกสาราญนิยม (Pleasurism)
2. สโตอคิ ผกู้ ่อต้งั คือ ซีโนซ่ึงเช่ือวา่ จุดมุ่งหมายใน ชีวติ มนุษย์ คือ การหลุดพน้ จากกิเลสท้งั ปวง รวมท้งั เนน้ ในเร่ืองคุณธรรมและการดารงชีวิตที่ถูกตอ้ งมีเหตุผล 3. สเคปติก เชื่อวา่ ทุกขก์ บั สุขเป็นของเฉพาะ บุคคล คนฉลาดจึงไม่ควรจะยดึ มน่ั กบั ความเห็น ของตนเกินไป ตอ้ งคลอ้ ยตามวิธีการปฏิบตั ิ และ ขนบธรรมเนียมประเพณีของตน
ประติมากรรม ยคุ เฮลเลนิสติก รูปป้ันหรืองานแกะสลกั เนน้ แสดงออกตามธรรมชาติ ท่ีเป็นจริงของมนุษย์ มกั จะแสดงอากปั กิริยาที่เจบ็ ปวด ทุกทรมาน และ ความชรา ไม่สมบูรณ์สวยงามตามแบบอุดมคติอีกต่อไป
จิตรกรรม ยคุ เฮลเลนิสติก มีการวดภาพจิตรกรรมฝาผนงั ขนาดใหญ่โดยนาหิน หรือกระเบ้ืองสีฉูดฉาดมาประดบั เรียกวา่ โมเสก ซ่ึงเป็นมรดกทาง ศิลปวฒั นธรรมที่สืบทอดมาจนถึงปัจจุบนั
Search