❖ ❖
❖ ❖
นโยบายของ โจเซฟ สตาลิน (ผูน้ าสหภาพโซเวียต) - มีนโยบายสนับสนุนการจัดตัง้ รัฐบาลคอมมวิ นิสตใ์ นประเทศตา่ งๆ ของยุโรป ตะวันออก - ต้องการใหโ้ ซเวียตเป็นชาตผิ ูน้ าของยุโรปตะวันออก เพื่อป้องกันการฟืน้ ตัว และการคุกคามของเยอรมนี - ต้องการขยายอุดมการณ์ลัทธิคอมมวิ นสิ ต์ ไปทั่วโลก
1. ชาตมิ หาอานาจแบ่งแยกเป็นสองขั้วอานาจ ชาตมิ หาอานาจทัง้ 2 ฝา่ ยแขง่ ขันกันขยายอทิ ธิพลเข้า ไปในภูมิภาคต่างๆ ของโลกทาใหป้ ระเทศส่วนใหญ่ถูกผลักดัน ใหเ้ ข้าร่วมสังกัดฝา่ ยใดฝ่ายหน่งึ ดังนี้ * ค่ายเสรีประชาธิปไตยภายใต้การนาของ สหรัฐอเมริกา * ค่ายคอมมวิ นิสตโ์ ดยมีสหภาพโซเวียตเปน็ ผูน้ า
ปัญหาความขัดแย้งในยุโรปตะวันออก ** ปัญหาเยอรมนี หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เยอรมนีถูกยดึ ครองโดยชาติมหาอานาจฝ่าย พันธมติ รทีช่ นะสงคราม ไดแ้ ก่ สหรัฐอเมรกิ า สหภาพโซเวียต อังกฤษ ทาใหก้ รงุ เบอร์ลนิ เมืองหลวงของเยอรมนีออกเปน็ 4 ส่วน ภายใตก้ ารครอบครองของ 4 ชาติ มหาอานาจ
** ในปี ค.ศ. 1948 สหรัฐอเมรกิ า อังกฤษ และฝรั่งเศส ร่วมมือกันปฏริ ูป เงนิ ตราในเขตยดึ ครองของตนเพื่อแกป้ ัญหาเงนิ เฟอ้ ซงึ่ กระทบตอ่ ผลประโยชนข์ อง โซเวียตมาก กองทัพรถถังของโซเวียตจึงยกกาลังเข้าปดิ ลอ้ มกรุงเบอร์ลิน เพื่อบีบให้ ชาติมหาอานาจตะวันตกละทง้ิ กรุงเบอร์ลนิ ซีกตะวันตก แต่ไมไ่ ด้ผล และต้องยกเลิก การปิดล้อมในที่สุด
** ในปี ค.ศ. 1949 สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส ได้รวมเขตยดึ ครอง ของตนจัดตัง้ เป็นประเทศเยอรมนีตะวันตก สว่ นสหภาพโซเวียตจัดตั้งเขตยดึ ครอง ของตนเป็นเยอรมนีตะวันออก ** ตอ่ มาเยอรมนีตะวันตกไดพ้ ัฒนาเศรษฐกจิ จนกลายเปน็ ประเทศที่เจริญ มัง่ คั่ง ประชาชนมีความเป็นอยู่ดี ทาให้ผู้คนจากเยอรมนี ตะวันออกหลบหนีเขา้ มายังเยอรมนีตะวันตก ทาให้เกิด ความเสียหายทั้งดา้ นเศรษฐกิจและการเมืองตอ่ เยอรมนี ตะวันออกอย่างมาก
** ในปี ค.ศ. 1961 รัฐบาลเยอรมนีตะวันออก จงึ สร้างกาแพงเบอรล์ ิน เพือ่ สกัดกั้นมใิ หช้ าวเยอรมนีตะวันออกหลบหนีไปยังฝั่งตะวันตก กาแพงเบอร์ลินจงึ กลายเปน็ สัญลักษณ์ของความขัดแยง้ ทางการเมืองในสงครามเยน็ ** ในปี ค.ศ. 1989 รัฐบาลใหม่ของเยอรมนีตะวันออกมีนโยบายเสรีนิยม และ ผอ่ นคลายความแข็งกรา้ วของอุดมการณ์สังคมนิยม ใหน้ อ้ ยลง โดยเปดิ พรมแดนให้ประชาชนทัง้ สองประเทศ ไปมาหาส่กู ันได้ ในที่สุด จึงตัดสนิ ใจทาลายกาแพง เบอร์ลนิ ในปี ค.ศ. 1990 และดาเนนิ การรวมประเทศสาเรจ็ ในปี ค.ศ. 1991 มีผลใหส้ ถานการณ์คลีค่ ลายลง
การจัดตั้งองค์กรความรว่ มมือทางทหาร สถานการณ์ความขัดแย้งในยคุ สงครามเยน็ ทีเ่ กิดขนึ้ ในยุโรป ทาใหช้ าติมหาอานาจทั้งสองฝา่ ยได้จัดตัง้ องค์การทาง ทหารของตนขึ้น เปน็ ผลให้เกิดการเผชญิ หนา้ กันมากยง่ิ ข้ึน ดังนี้ * สหรัฐอเมริกาจัดตัง้ องค์การสนธสิ ัญญาแอตแลนติกเหนือ / นาโต ในปี ค.ศ. 1949 โดยสมาชิกส่วนใหญเ่ ปน็ ประเทศยุโรปตะวันตก * สหภาพโซเวียตจัดตัง้ องค์การสนธิสัญญาวอร์ซอ ในปี ค.ศ. 1955 โดยรว่ มมือกับ ประเทศยโุ รปตะวันออก
2. การใช้สงครามตัวแทน เมือ่ เกดิ ปัญหาความขัดแยง้ ถึงขัน้ ต้องทาสงคราม ประเทศเล็กๆ กจ็ ะได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนทางด้าน เศรษฐกิจและกาลังอาวุธจากชาตมิ หาอานาจ
❖
❖ ❖ สาเหตุเกดิ จากเกาหลีเหนือได้เคลือ่ นกาลังพลบุกข้ามพรมแดนเขา้ ไปยังเกาหลีใต้ ซึ่งฝา่ ยสหรัฐอเมรกิ าและชาติพันธมิตร รว่ มกันจัดสง่ กาลังทหารตอ่ ต้านและ ขับไลไ่ ดส้ าเรจ็ มีผูค้ นเสียชีวติ มากกว่า 3 ลา้ นคน
❖
* สาเหตุ เกิดจากเวียดนามเหนือตอ้ งการผนวกรวมเวียดนามใต้ และเปลย่ี นการปกครองเขา้ สู่ ระบอบสังคมนิยม จงึ สง่ ทหารขา้ มพรมแดนเข้ายึดกรุงไซ่ง่อน ซง่ึ ได้รับการสนับสนุนจากโซเวียตและ ขบวนการคอมมิวนิสต์ในเวียดนามใต้ ที่เรียกว่า “เวียดกง”
❖ ❖ ❖
❖
* ควิ บาเป็นประเทศสังคมนยิ มที่ตัง้ อยู่ใกล้สหรัฐอเมรกิ ามากที่สดุ ซง่ึ โซเวียตใหค้ วาม ชว่ ยเหลือสนับสนุนทัง้ ทางเศรษฐกิจและการทหาร จึงมีผลกระทบต่อความมัน่ คงของสหรัฐฯ รัฐบาลอเมริกาจงึ สนับสนุนฝ่ายต่อตา้ นให้โค่นล้มรัฐบาลคอมมิวนิสต์ แต่ถูกรัฐบาลคิวบา ปราบปรามลงได้ * วิกฤตการณ์คิวบา เกดิ ขึน้ ในปี ค.ศ. 1962 เมือ่ โซเวียตสร้างฐานขีปนาวุธนิวเคลียร์บน เกาะควิ บา ซ่งึ ประธานาธิบดี จอหน์ เอฟ. เคนเนดี ถือวา่ เป็นการคุกคามตอ่ ความมัน่ คงของ สหรัฐฯอยา่ งรา้ ยแรง จึงส่งกองกาลังเข้าปดิ ลอ้ มอา่ วคิวบา และย่นื คาขาดใหโ้ ซเวียตถอนฐาน ยิงขีปนาวุธนวิ เคลยี รอ์ อกจากควิ บา
* นกิ ติ า ครุซชอฟ นายกรัฐมนตรีของโซเวียต ยอมปฏิวัติตามขอ้ เรียกร้องของสหรัฐฯ โดยสหรัฐฯ ยืนยัน จะไม่ใช้กาลังบุกคิวบา
❖ ❖
❖
❖ ❖
❖ ❖ ❖
❖ ❖ ❖
❖ ❖ ❖
❖ ❖ ❖
Search