Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

Published by jidayadum, 2019-08-25 22:38:49

Description: อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

Search

Read the Text Version

อารยธรรมสมยั จกั รวรรดอิ สั ซีเรยี สมัยพระเจา้ อัลซูร์บานปิ าล ศิลปวฒั นธรรมของอัส ซีเรียมคี วามรุ่งเรืองมาก มกี ารรวบรวมงานเขียนอกั ษรล่มิ ทจี่ ารึกลงบนแผ่นดินเหนียวตากแห้ง เชน่ เพลงสวด นิยาย ปรัมปรา เวทมนต์ วรรณกรรม ปวศ. การปกครอง การแพทย์ การทหาร จานวน 22,000 แผน่ ไวท้ ่หี ้องสมดุ ขนาดใหญ่ในพระราชวังเมืองเนเวห์ ความย่ิงใหญ่ของจักรวรรดิอัสซเี รยี เกดิ จากการรุกราน ชาตอิ ่นื ๆ ดังนั้น จึงทาให้มศี ตั รมู าก และถูกศตั รูทาลาย ในทสี่ ดุ

ภาพสลักในสมัยพระเจ้าอสั ซูร์บานิปาล เป็ นยุคท่อี สั ซีเรียเจริญสูงสุด

ห้องสมุด นิเนเวห์ มีผลงานถึง 22,000 แผ่น

อาณาจกั รคาลเดีย/บาบิโลเนยี ใหม่ : กาเนดิ ของอาณาจกั ร เมื่อ 612 B.C ราชวงศ์ใหม่แห่งบาบิโลนหรอื พวก คาลเดยี น เป็นชนเผา่ เซไมตท์ างทิศ ตอ./ต.ของลมุ่ ม. ไทกริส-ยูเฟรตสี ร่วมมอื กับศตั รูทาง ตอ. โจมตแี ละทาลาย เมืองนิเนเวห์ แล้วเขา้ มายึดครองกรงุ นเิ นเวห์ได้สาเรจ็

อาณาจักรคาลเดีย/บาบโิ ลเนยี ใหม่ : กาเนดิ ของอาณาจกั ร หลังจากนั้นไดค้ รอบครองดินแดนส่วนใหญ่ของ จักรวรรดิอัสซเี รยี และสถาปนากรงุ บาบิโลนขึ้นเป็นเมอื ง หลวงอกี ครงั้ จดั ตัง้ เปน็ อาณาจักรบาบโิ ลเนียใหม่ ที่รุ่งเรอื ง และมีอายยุ าวนานถงึ 539 B.C กษตั ริย์องค์สาคญั ไดแ้ ก่ พระเจ้าเนบคู ัดเนซซาร์ (ถูกขนานนามวา่ ผูป้ ลดแอกบาบิ โลนจากอัสซเี รีย)

อาณาจักรคาลเดีย/บาบโิ ลเนียใหม่ : สมัยพระเจา้ เนบคู ดั เนซซาร์ ในสมยั ของพระเจ้าเนบูคดั เนซซาร์ ทรงสามารถพิชติ กรงุ เยรซู าเล็ม และกวาดต้อนเชลยชาวยิวมายังบาบโิ ลนใหม่ มกี ารก่อสรา้ งและขยายเมอื งจนใหญ่โต มีกาแพงขนาด ใหญ่ลอ้ มรอบ พระราชวงั มีการสร้างหลายช้ัน แต่ละชัน้ มี ระเบียบทปี่ ลกู ตน้ เฟริ น์ และตน้ ไม้นานาพันธ์ุ เปน็ เสมือน สวนบนหลังคา เรยี กวา่ “สวนลอยแห่งบาบิโลน” ทาให้ ชาวกรกี ยกย่องว่าเป็น 1 ใน 7 ส่งิ มหัศจรรย์ของโลกยุค โบราณ



อาณาจกั รคาลเดยี /บาบิโลเนียใหม่ : สมยั พระเจา้ เนบคู ดั เนซซาร์ นอกจากนี้ยงั มีการสรา้ งซกิ กูแรตขนาดใหญ่ ซึง่ รูจ้ ักตอ่ มา ว่า “หอคอยแหง่ บาเบล” ดงั ปรากฏในคัมภรี ์ไบเบลิ พวกบาบโิ ลนใหม่สนใจด้านดาราศาสตร์ มีการแบง่ สปั ดาห์ออกเป็น 7 วัน วันละ 12 คาบ คาบละ 120 นาที สามารถพยากรณ์สรุ ยิ ปุ ราคา และเวลาการโคจรของ ดวงอาทติ ย์ในรอบปีไดถ้ ูกต้อง รวมทั้งให้ความสาคญั แก่ วชิ าโหราศาสตร์



อาณาจักรคาลเดยี /บาบโิ ลเนียใหม่ : การสน้ิ สดุ อาณาจกั ร เมอ่ื 539 ปกี อ่ นครสิ ตศ์ กั ราช อาณาจกั รบาบิโลเนียใหม่ ถกู กองทพั เปอร์เซยี โดยการนาของพระเจ้าไซรสั มหาราช เข้ายึดครองและผนวกเขา้ เป็นสว่ นหนึ่งของจกั รวรรดิ เปอรเ์ ซยี ร์ทเี่ รืองอานาจอยูใ่ นบริเวณเอเชยี ตต. จงึ ทาให้ ประวตั ศิ าสตร์ของดินแดนแถบเมโสโปเตเมยี ในยุคโบราณ ไดส้ ้นิ สดุ ลงไปดว้ ย

ชนชาติเก่าแกใ่ นเอเชีย ไมเนอรไ์ และดินแดนใกล้เคยี ง

สมัยแหง่ อาณาจกั รขนาดเลก็ : จกั รวรรดิฟนิ เิ ชีย พวกฮบิ รูเปน็ ชนเผ่าเซเมตกิ มชี ่อื เรยี กดัง้ เดิมว่า “แคนาไนต์” อาศัยอย่ใู นดินแดนกันอาน บรเิ วณแถบซีเรีย ปาเลสไตน์ อารยธรรมของพวกแคนาไนตม์ รี ากฐานมาจาก อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอยี ิปต์ ในชว่ ง 1,3000 – 1,000 B.C ได้ถกู พวกอิสราเอลไลต์ และฟิลสิ ตินเขา้ รุกรานจนเสยี ดินแดนเกอื บทงั้ หมด

: จกั รวรรดิฟนิ ิเชยี ยกเวน้ บรเิ วณดนิ แดนแถบชายฝั่งทะเลแคบๆ ริมฝง่ั ทะเลเมดิเตอรเ์ รเนยี น ทเ่ี รยี กว่า “ฟนิ ิเซยี หลังจากน้นั เป็นตน้ มาพวกแคนาไนต์ก็มชี ือ่ เรียกใหม่ว่า “ฟินิเซียน ชาวฟินิเซยี นดารงชวี ติ ในสภาพแวดล้อมทอ่ี ยตู่ ิดกับ ทะเล จงึ ทาใหม้ ีความเช่ียวชาญในการเดนิ ทะเลและการค้า ในทะเลเมดิเตอร์เรเนยี น เป็นเวลาหลายรอ้ ยปี

: จกั รวรรดิฟนิ เิ ชยี ไดม้ ีการสรา้ งเมอื งทา่ ขนาดใหญห่ ลายแหง่ เชน่ เมอื งไทร์ เมอื งไซดอน เมืองบีบลอส นอกจากนช้ี าวฟินิเชยี นยงั รับสินค้าอนิ เดียและเมโสโปเต เมยี ไปขายยงั อียปิ ต์ เอเชียไมเนอร์ แอฟริกาเหนอื และ ชายฝัง่ ตต. ของทวีปยุโรป และยังเดนิ ทางผา่ นชอ่ งแคบยิบ รอลตาร์เขา้ สูม่ หาสมทุ รแอตแลนตกิ เปน็ พวกแรก







อารยธรรมของพวกฟนิ เิ ชยี น ชาวฟินิเชยี นจึงเปน็ นกั เดินเรอื ท่ีเกง่ ท่สี ุดชาติหนึ่งในสมยั โบราณ มีความเชยี่ วชาญในการค้าขายและแสวงหาอาณานคิ ม ทางทะเล พวกฟินิเชยี นเดินเรือไกลถึงเกาะอังกฤษเพือ่ ซอื้ ดีบกุ แร่ เงิน และทองแดงทส่ี เปน เปน็ นักประดิษฐส์ ินค้าทม่ี ีช่อื เสียงขณะนั้น เชน่

อารยธรรมของพวกฟนิ เิ ชยี น • เครื่องน่งุ หม่ ผ้าทีย่ อ้ มสีม่วง • เครอ่ื งแก้ว • เครื่องโลหะ • เคร่อื งงาชา้ ง สง่ ไปขายท่วั เมดเิ ตอรเ์ รเนียน แตส่ ่ิงท่ีชาวฟินิเชยี นให้ เป็นมรดกลา้ คา่ ทส่ี ดุ ของโลก คอื การเขียนหนังสือดว้ ย พยญั ชนะ

อารยธรรมของพวกฟนิ เิ ชยี น ชาวฟินิเชยี นได้ค้นพบตัวอักษรแทนเสียงได้ แต่ก็ยังใช้ อักษรภาพอีกจานวนมาก ชาวฟินิเชียนได้ค้นพบการใช้พยญั ชนะในการเขยี น หนงั สอื มี 22 ตัว ซึง่ ดดั แปลงมาจากอักษาไฮโรกลิฟิก และ อักษรคูนฟิ อรม์ มาเปน็ อกั ษรแอลฟาเบต ซงึ่ สะดวกในการ บันทกึ เรอ่ื งราว บญั ชีการคา้ ดังน้นั อักษรแอลฟาเบตจึง ได้รบั ความนยิ มแพรห่ ลาย

อารยธรรมของพวกฟนิ เิ ชยี น ชาติตา่ ง ๆ ไดน้ าไปดัดแปลงเป็นตัวอกั ษรของตน โดยเฉพาะ ภาษากรีกและภาษาละตนิ และชาวกรีกไดเ้ พมิ่ สระขึ้นในภายหลัง การสูญสิ้นอานาจของอาณาจกั รฟินิเซยี เมือ่ ประมาณ 750 B.C. เมืองท่าคา้ ขาย และดนิ แดนต่างๆ ของอาณาจักรฟินเิ ซียถกู ยึดครองโดยพวกอสั ซเี รียจนเกอื บหมด คงเหลือเมืองคาร์เทจทาง ตอนเหนือของทวปี แอฟริกายงั คงเจรญิ รุง่ เรือง จนกระท่ังเมอ่ื 146 B.C. จึงถูกทาลายโดยกองทัพเรอื ของจกั รวรรดโิ รมนั



สมยั แหง่ อาณาจกั รขนาดเลก็ : จกั รวรรดฮิ บิ รหู รอื ยวิ ฮิบรูหรือชนชาติยิว เปน็ ชนเผา่ เซเมติกเดมิ อยู่ตอนล่าง ของลุม่ แมน่ า้ ยเู ฟรทีส ได้เดนิ ทางเรร่ อ่ นเพอื่ หาหลักแหล่งมี ความเป็นมาปรากฏอยู่ในพระคมั ภีรเ์ ก่า หรอื พันธสัญญาเดมิ ซ่งึ เปน็ คมั ภรี ศ์ กั ดิส์ ทิ ธิ์ของศาสนายูดาห์ หรอื ศาสนายวิ ดังน้ี เมื่อ 1,400 B.C พวกฮิบรูเดนิ ทางเร่รอนในทะเลทราย ได้อพยพเข้าไปอยใู่ นอยี ปิ ตแ์ ละถูกกวาดตอ้ นไปเปน็ ทาส

สมยั แหง่ อาณาจักรขนาดเลก็ : จกั รวรรดฮิ ิบรหู รอื ยิว ต่อมามผี ูน้ าชือ่ โมเสส ไดป้ ลดแอกชาวฮิบรูใหเ้ ปน็ อิสระ และพากันอพยพมาถึงดนิ แดนท่ชี ่ือว่า “คานาน” ภายหลงั เรียกวา่ “ปาเลสไตน์” (ปจั จุบันคือ ป.อสิ ราเอล) ฮบิ รูตง้ั บา้ นเรอื นปะปนกับพวกคานาน ไดส้ ู้รบกับพวกคา นานและพวกฟิลิสไตน์ เพอ่ื ชิงความเปน็ ใหญใ่ นปาเลสไตน์ กษัตริยท์ ย่ี ่ิงใหญข่ องชาวฮบิ รู คือ เดวิด ไดป้ ราบพวก ฟิลิสไตน์ใต้ และสถาปนาอาณาจักรของชาวฮิบรูอยา่ งมั่นคง



สมยั แหง่ อาณาจักรขนาดเลก็ : จักรวรรดฮิ บิ รหู รอื ยวิ มเี มอื งหลวงอยทู่ ี่ เยรูซาเลม ปาเลสไตน์เจริญรงุ่ เรืองในสมัยของโซโลมอน ได้เปิด การค้ากว้างขวางกบั อยี ิปต์และฟินิเซยี ได้สร้างโบสถใ์ หญท่ ่ีงดงามเพ่ือใช้ประกอบพิธีทางศาสนา ทก่ี รุงเยรูซาเลม็ เมื่อส้ินสมัยโซโลมอน อาณาจักรถูกแบง่ เปน็ 2 ส่วน คือ

สมัยแหง่ อาณาจักรขนาดเลก็ : จกั รวรรดฮิ บิ รหู รอื ยวิ อสิ ราเอลอยู่ทางเหนือ มีเมือง หลวงท่ีสะมาเรยี และ ยูดาห์ อยู่ ทางใต้ มเี มอื งหลวงคอื เยรซู าเล็ม ตามลาดบั

สมัยแหง่ อาณาจักรขนาดเลก็ : จักรวรรดฮิ ิบรหู รอื ยิว หลงั จากนั้นชาวฮิบรูต้องตกอยู่ใต้อานาจการปกครอง ของชาตทิ ่มี อี านาจเข้มแขง็ กว่า ได้แก่ เปอร์เซยี กรกี และ โรมันตามลาดับ กระท่งั ในปี ค.ศ. 70 พวกฮบิ รไู ดก้ ่อกบฏจึงถกู กองทัพ จกั รวรรดโิ รมันปราบปรามอย่างราบคาบ พวกฮิบรูจึงอพยพหนเี ปน็ ชนเผ่าเร่รอน และไมม่ ีดนิ แดน เป็นของตนเองอีกคร้งั

สมยั แหง่ อาณาจักรขนาดเลก็ : จักรวรรดฮิ ิบรหู รอื ยวิ ภายหลังสงครามโลกคร้งั ที่ 2 ส้นิ สุดลง ในปี ค.ศ. 1945 ชาติมหาอานาจพันธมิตรสนบั สนุนใหจ้ ัดต้ังประเทศอิสราเอล เปน็ รัฐอิสระในดนิ แดนปาเลสไตน์ เพอื่ ชาวฮิบรูมปี ระเทศ เป็นของตนเอง ทาให้เกิดปัญหาขดั แยง้ กับชาวปาเลสไตน์ เจา้ ของถน่ิ เดิมซ่ึงนบั ถือศาสนาอิสลาม และได้รบั การ สนับสนนุ จากชาติอาหรัรบ กลายเป็นปัญหาทางการเมืองที่ สาคญั ของโลกมาถงึ ปจั จุบัน

มรดกทางวัฒนธรรมของพวกฮบิ รู คอื ศาสนา และวรรณคดี เดิมพวกฮิบรูนบั ถือเทพเจ้าหลายองค์ ต่อมานับถือ ยาเวห์ หรือ ยะโฮวาห์ เม่ือ 750 B.C. ผนู้ าทางศาสนา เรยี กว่า ศาสดา พยากรณ์ ไดส้ ง่ั สอนและชกั ชวนชาวฮบิ รใู ห้นบั ถือพระเจา้ องค์เดยี ว เป็นพระบิดาผู้ทรงมีความเมตตาและความรกั



มรดกทางวัฒนธรรมของพวกฮบิ รู คือ ศาสนา และวรรณคดี การนับถอื พระเจา้ องค์เดยี วของชาวฮิบรู มอี ทิ ธิพลต่อ ความเชือ่ ทางศาสนาทส่ี าคัญของโลกอกี 2 ศาสนา คอื ศาสนาคริสต์และศาสนาอสิ ลาม ซง่ึ ทั้งสองศาสนามอี ิทธิพล ตอ่ การสร้างสรรคศ์ ลิ ปวัฒนธรรมของโลก ตต. และโลก ตอ. อยา่ งมาก

มรดกทางวัฒนธรรมของพวกฮิบรู คอื ศาสนา และวรรณคดี วรรณกรรมชิ้นสาคญั คอื พระคมั ภรี เ์ ก่าหรอื พันธสญั ญา เดมิ ซ่งึ ชาวฮิบรรู วบรวมระเบยี บประเพณี ประวัติศาสตร์ สุภาษิต บทเพลงสวด และคาทานายไว้ ไดร้ ับการแปลเปน็ ภาษากรีก ละตนิ และภาษาของชนชาตยิ โุ รปอื่นๆ มากมาย พระคมั ภรี ์เก่านต้ี ่อมาไดร้ วมกบั พระคัมภีร์ใหม่ของชาว ครสิ ต์ เรยี กวา่ คมั ภีร์ไบเบลิ

สมยั แหง่ อาณาจักรขนาดเลก็ : จักรวรรดเิ ปอรเ์ ซีย ชาวเปอร์เซีย เป็นชนเชอื้ สายอนิ โด – ยูโรเปียน (บรรพ บรุ ษุ ของชนชาติอหิ รา่ นในปัจจบุ ัน) เดมิ อยู่บริเวณเหนือ ทะเลดา ไดอ้ พยพมายังที่ราบสูงอิหรา่ น ดารงชพี ดว้ ยการ เลี้ยงสตั ว์และเพาะปลูก ประมาณ 550 B.C. พระเจา้ ไซรัสมหาราช ไดส้ ถาปนา จักรวรรดิเปอร์เซีย และไดย้ ดึ ครองอาณาจกั รคารเดียและ อาณาจกั รลเิ ดียไว้ในอานาจ



สมยั แหง่ อาณาจกั รขนาดเลก็ : จกั รวรรดิเปอรเ์ ซยี โอรสของพระเจา้ ไซรสั มหาราช คือ พระเจ้าแคมบีชสี ไดข้ ยายอานาจออกไปปกครองฟินิเซยี เกาะไซปรสั และตีได้ อยี ิปต์ ในสมัยพระเจา้ ดารอิ สั มหาราช จกั รวรรดิเปอร์เซียได้ แบ่งเขตการปกครองเปน็ 20 มณฑล ผูปกครองมณฑลมี อานาจเหมอื นกษัตรยิ ์ และขน้ึ ต่อพระเจา้ ดาริอัสโดยตรง ซง่ึ ไดม้ ีการเฉลิมพระนามของพระองค์วา่ “ King of King”



สมัยแหง่ อาณาจกั รขนาดเลก็ : จกั รวรรดิเปอรเ์ ซีย ความเจริญในสมยั พระเจ้าดารอิ สั มหาราช สรปุ ไดด้ ังนี้ - มีการสรา้ งถนนเชือ่ มโยงไปยังเมืองต่างๆ ท่ัว จกั รวรรดิ เพอ่ื ประโยชนใ์ นดา้ นการปกครองและใช้ เป็นเส้นทางลาเลยี งขนสง่ สนิ ค้า - อารยธรรมเปอร์เซยี ส่วนใหญ่ไดร้ บั มาจากชนชาติ โบราณอื่นๆ เชน่ การเขียนตัวอกั ษร คูนิฟอร์มไดร้ บั แบบอย่างมาจากชาวบาบิโลเนยี

สมัยแหง่ อาณาจกั รขนาดเลก็ : จกั รวรรดเิ ปอรเ์ ซยี - การใชเ้ หรยี ญกษาปณ์ได้มาจากอนิ เดีย การใชป้ ฏทิ ิน แบบสุริยคติและงานสถาปตั ยกรรมได้จากอียิปต์ เป็นต้น - ดา้ นศาสนา เดมิ ชาวเปอร์เซยี นบั ถอื เทพเจ้าหลาย องค์ ต่อมาเปลีย่ นมานบั ถอื ศาสนาที่มีศาสดาผูก้ ่อตั้ง เปน็ ชาวเปอร์เซยี เรยี กวา่ “ศาสนาโซโรแอสเตอร์”

สมัยแหง่ อาณาจกั รขนาดเลก็ : จกั รวรรดเิ ปอรเ์ ซีย การเส่อื มอานาจของจักรวรรดิเปอร์เซีย เมือ่ สิ้นสุด สมัยพระเจ้าดารอิ สั มหาราช จนกระทั่งเมือ่ 331 B.C. จึงถกู กองทัพแห่งมาซโิ ดเนีย (กรกี ) โดยพระเจา้ อเลก็ ซานเดอร์ มหาราชเขา้ ยึดครองไดส้ าเรจ็


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook