ก รายงาน เรื่อง ชนดิ ของไฟล์ภาพ ความรูเ้ กี่ยวกบั ภาพ จดั ทาโดย นางสาวสาวณิ ี นามไว เลขท่ี 23 แผนกคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ เสนอ คุณครบู วั ทิพย์ ชติ รตั น์รายงานน้ีเปน็ ส่วนหนง่ึ ของวชิ าการผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์ (2204-2104) วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเพชรบรุ ี ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561
ก คานา รายงานฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา 2204-2104การผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ รายงานจะนาเสนอวิธีดู จัดรูปแบบ ทาให้คนอ่านเข้าใจง่ายด้วยภาพ เพราะมีวิธีการนาเสนอข้อมูลเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งเรา สามารถหยิบยกเรื่องราวท่ีมีปริมาณข้อมูลมากๆ มานาเสนอในมุมมอง ท่ีแปลกตาเพ่ือให้ผู้รับ สารเข้าใจง่าย การจดั ทารายงานได้ทาการค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากหนังสือ บทความต่างๆ และค้นหาเพมิ่ เตมิ จากเวบ็ ไซต์ ผู้เขยี นรายงานหวงั ว่าจะเป็ นประโยชน์แก่ผู้ทส่ี นใจบ้างตามสมควร ผู้จดั ทา สาวณิ ี นามไว
สารบัญ ขชนิดของไฟลภ์ าพ 1ความสมมาตรและความเป็ นแบบแผน 2-3สีในงานคอมพวิ เตอร์กราฟิ ก 4-11
1ชนิดของไฟล์ภาพ การสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพกราฟิกประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกเป็นอีกปัจจัยหนึ่งท่ีมี ความสาคัญ เพราะความละเอยี ดของไฟล์ภาพจะส่งผลกับขนาดของภาพ เช่น ภาพที่นามาใช้งาน บนเว็บเพจควรจะต้องมีขนาดเล็ก เพื่อนาไปเรียกใช้งานบนเว็บเพจได้อย่างรวดเร็วประเภทของไฟลภ์ าพกราฟิกที่นยิ มใชโ้ ดยทวั่ ไป ความสมดลุ ของภาพ (Balancing Elements) ในการจัดวางจุดสนใจเอยี งไปด้านใดด้านหนึ่งของภาพตามกฏสามส่วนน้ัน ทาให้น้าหนักของภาพหนักไปทางด้านน้ัน ส่วนอีกด้านหน่ึงจะดูโล่ง จึงควรหาจุดสนใจรอง ๆ ไว้อีกด้านหนึ่งเป็นการถ่วงน้าหนักให้ภาพดูสมดุลขึ้น ท้ังน้ีก็อย่าให้จดุ สนใจรองนนั้ มาลดความเด่นของจุดสนใจหลักจนเกนิ ไป เส้นนาสายตา (leading Line) โดยธรรมชาติน้ัน เม่ือเรามองไปยังภาพ ตาของคนเราจะเคลอ่ื นไปตามเส้นสายต่าง ๆ ที่ปรากฏในภาพ ดงั น้ัน เราสามารถท่ีจะจัดองค์ประกอบของภาพให้มีเส้นสาย และให้ผู้ชมเคลื่อนสายตาไปตามเสน้ สายนน้ั (เสน้ สายเหล่านี้อาจจะเป็นถนน ธารน้า ทวิเขา เส้นแบ่งของสีสัน เส้นแบ่งความเข้มของแสง ขอบเงาของวัตถุ ฯลฯ) ผ่านจุดสนใจจนเลยไกลออกไป เส้นสายเหล่านอี้ าจจะมรี ปู ทรงเป็นเสน้ ตรง เสน้ เฉียง เส้นโคง้ เสน้ ซิกแซก ฯลฯ
2ความสมมาตรและความเป็นแบบแผน (Symmetry and Patterns) เราสามารถสร้างสรรค์ภาพท่ีมีความสมมาตรและเป็นแบบแผนดูน่าเบื่อหน่าย ให้ดูน่าสนใจได้หากสามารถนาเสนอในมุมมองที่ผู้ชมไม่ได้คาดคิดมาก่อน ในขณะที่เรากาลังเดินหามุมภาพ ให้ลองฉุกคิดดูว่าช่วงบริเวณนนั้ มีโครงสร้างอะไรที่เป็นแบบแผน มคี วามสมมาตร อาจเปน็ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง หรอื ป่าเขา ลองส่องช่องมองกล้องดู ก็อาจไดภ้ าพที่มีคุณค่าได้ และหากเรามีการคิดต่างออกไปโดยวางจุดสนใจลงไปท่ีตาแหน่งใดตาแหนง่ หนงึ่ ของภาพประเภทน้ี ก็อาจได้ภาพที่ดูดีดว้ ยก็ได้มุมมอง (Viewpoint) ก่อนที่จะลงมือถ่ายภาพให้ลองใช้เวลาสักนิดคิดหามุมท่ีจะตั้งกล้องสาหรับบันทึกภาพ แทนที่จะเป็นมุมมองในระดับสายตาซึ่งดูจาแจ หากลองก้มลงในมุมต่าใกล้ระดับพ้ืนหรือตะแคงกล้องทามุมเอียง ๆ กับพ้ืน หรือปีนไปถ่ายในมุมสูง ฯลฯ อาจได้มุมมองที่ต่างออกไปและสามารถสรา้ งความเร้าใจใหผ้ ู้ชมภาพน้นั ๆ ได้
3ฉากหลัง (Background) บ่อยคร้ังท่ีภาพบางภาพท่ีน่าจะดูดีแต่พบว่าจุดสนใจกลับดูไม่เด่นพอทั้งนี้อาจเปน็ เพราะฉากหลงั ดวู ุน่ วายแย่งความสนใจจากจดุ สนใจหลกั ดังน้ัน ในการถ่ายภาพใหห้ ามุมกล้องท่ีฉากหลังดูค่อนข้างเรียบ ไม่มีอะไรรกสายตา ไม่มีแสงสีท่ีจะมาแย่งตายตาไปจากจุดสนใจ อีกทางหนึ่งคือ เปิดขนาดของอะเพอร์เจอร์ให้ใหญ่ขึ้นเพื่อให้ระยะชัดลึกน้อยลงทาให้ฉากหลงั พร่ามัว การถา่ ยของช้ินเล็ก ๆ เช่นการถ่ายภาพดอกไม้ เราสามารถใชร้ ะดาษทีม่ ีสีโทนมืดไปไว้ดา้ นหลงั ของดอกไม้ท่จี ะถา่ ยเพ่อื ทาเป็นฉากหลงั ก็จะทาใหภ้ าพของดอกไมด้ ูโดดเด่นข้นึความลกึ (Depth) แม้ว่าภาพถา่ ยจะเป็นภาพสองมิติ เราสามารถถา่ ยทอดให้ภาพดูมีความลึกเพมิ่อีกมิติหน่ึงได้ โดยการจัดภาพให้มีทั้งฉากหน้า วัตถุ และฉากหลัง ทาให้แต่ละช่วงดูต่างจากกันอาจจะตา่ งกนั ทโี่ ทนสนี า้ หนักของแสง ความคมชัด ด้วยการจัดวางทดี่ ีทาให้ภาพดมู คี วามลึกขึ้น
3กรอบภาพ (Framing) ภาพบางภาพอาจดูโล่ง ๆ แต่หากเราแต่งภาพโดยให้มีฉากหน้า เช่นให้มีกิ่งไม้ใบไม้มาแซม ๆ ที่ขอบภาพ สามารถทาให้ภาพดูดข้ึนไม่โลง่ เหมือนเดิม การประกอบภาพดว้ ยขอบประตู หรือขอบหน้าตา่ งไว้ในบริเวณขอบของภาพสักสองถึงสี่ดา้ นก็ช่วยให้ภาพน้ัน ๆ ดูไม่โล่งจนเกินไปได้เช่นกัน การจัดให้มีกรอบภาพแบบธรรมชาตนิ ้ียังเป็นเทคนิคที่ช่วยใหจ้ ดุ สนใจดเู ด่นข้ึนและยงั เพม่ิ มิติให้กบั ภาพได้การตัดส่วนเกิน (Cropping) บางครั้งการถ่ายภาพมีข้อจากัดทาให้ไม่สามารถถ่ายภาพวัตถุหลักให้มีขนาดใหญ่เท่าท่ีต้องการอาจจะเนื่องจากถ่ายในระยะไกลเกินไป หรือบางคร้ังภาพท่ีถ่ายน้ันพบว่าจุดสนใจหลักถูกแย่งความสนใจจากส่ิงที่อยู่รอบ ๆ การตัดขอบภาพในส่วนท่ีไม่จาเป็นออกไปจึงช่วยแก้ปัญหาน้ีได้ ช่วยทาให้สัดส่วนของจุดสนใจให้ใหญ่ข้ึนเทียบกับพื้นที่ท่ีเหลืออยู่ในขณะท่ีกาลังเลือกส่วนเกินที่จะตัดออกนั้น ให้พิจารณาดูว่าตาแหน่งของจุดสนใจจะถูกเล่ือนไปอยู่ในตาแหน่งใดของภาพ ให้ใช้กฏสามส่วนมาปรับปรุงให้ภาพสมบูรณ์ข้นึ การตัดส่วนเกินออกก็มีข้อเสียคือทาให้รายละเอียดของภาพด้อยลง จึงไม่ควรทาการตัดส่วนเกินออกมากจนเกินไป และหากเปน็ ไปได้ ในช่วงทาการบนั ทึกภาพให้เดนิ เขา้ ไปใกล้วัตถุมากข้ึน หรือใช้เลนส์ซูมดึงภาพให้เขา้มาใกลข้ ้นึ
4สใี นงานคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิสที ี่ใช้ในงานด้านกราฟกิ ท่วั ไปมี 4 ระบบ คอื1. RGB 2.CMYK3. HSB 4. LAB1.RGB colorเปน็ ระบบสีที่ประกอบด้วยแม่สี 3 สีคือ แดง (Red), เขยี ว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) เม่ือนามาผสมกันทาให้เกิดสีต่างๆ บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซึ่งใกล้เคียงกับสีท่ีตาเรามองเห็นปกติ สีท่ีได้จากการผสมสีข้ึนอยู่กับความเข้มของสี โดยถ้าสีมีความเข้มข้นมาก เม่ือนามาผสมกันจะทาให้เกดิ เปน็ สขี าว จงึ เรยี กระบบสีนวี้ ่า แบบ Additive หรือการผสมสแี บบบวก
52.CMYK colorเป็นระบบสีท่ีใช้กับเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ออกทางกระดาษหรือวัสดุผิว เรียกอื่นๆ ซ่ึงประกอบด้วยสีหลัก 4 สคี อื สฟี า้ (Cyan), สีมว่ งแดง (Magenta), สีเหลือง (Yellow), และสดี า (Black) เมื่อนามาผสมกันจะเกิดสีเป็นสีดาแต่จะไม่ดาสนิทเนื่องจากหมึกพิมพ์มีความไม่ บริสุทธ์ิ จึงเป็นการผสมสีแบบลบ (Subtractive) หลักการเกิดสีของระบบน้ีคือ หมึกสีหนึ่งจะดูดกลืนแสงจากสีหนึ่งแล้วสะท้อนกลบั ออกมาเป็นสีต่างๆ เช่น สีฟ้าดูดกลนื แสงของสีม่วงแลว้ สะท้อนออกมาเปน็ สนี ้าเงนิ ซึ่งจะสังเกตได้ว่าสที ี่สะท้อนออกมาจะเป็นสหี ลักของระบบ RGB การเกิดสีน้ีในระบบนี้จึงตรงข้ามกบัการเกดิ สใี นระบบ RGBปัจจุบนั คอมพิวเตอร์กราฟิ กเขา้ มามีบทบาทกบั งานดา้ นต่าง ๆ เป็นอยา่ งมากมีการนาคอมพวิ เตอร์กราฟิ ก มาสร้างสรรคเ์ ป็นผลงาน ไม่วา่ จะเป็นการออกแบบภาพ และการปรับแต่งสีภาพ มีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิ ก ไปใชก้ บั งานดา้ นต่าง ๆ อาทิเช่น งานสิ่งพิมพ์ งานโฆษณา งานออกแบบ งานนาเสนอขอ้ มูล งานสร้างภาพการ์ตูน งานสร้างสื่อการเรียนการสอน เป็นตน้ โดยภาพกราฟิ กจะทาใหง้ านท่ีไดม้ ีความสวยงามและน่าสนใจยง่ิ ข้ึน การศึกษา และ ทาความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั ความรู้เบ้ืองตน้ ของคอมพวิ เตอร์กราฟิ ก จดั วา่ เป็นพ้นื ฐานสาคญั เพอ่ื ช่วยใหก้ ารออกแบบ หรือการตกแต่งภาพกราฟิ กมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ข้ึน1.1 กราฟิ กและคอมพวิ เตอร์กราฟิ ก ความหมายของกราฟฟิ กและคอมพวิ เตอร์กราฟฟิ ก กราฟิ ก มาจากภาษากรีก ซ่ึงหมายถึง การวาดเขียน (Graphikos) และการเขียน(Graphein) กราฟิ ก จึงหมายถึงศิลปะหรือศาสตร์แขนงหน่ึง ที่ส่ือความหมายโดยใช้
6เส้น ภาพเขียน สญั ลกั ษณ์ ภาพถ่าย ซ่ึงมีลกั ษณะเห็นไดช้ ดั เจน เขา้ ใจความหมายไดท้ นั ที และถกู ตอ้ งตรงตามท่ีผใู้ ชต้ อ้ งการ คอมพิวเตอร์กราฟิ ก หมายถึง การสร้างและการจดั การภาพกราฟิ กโดยใช้คอมพิวเตอร์ การใชค้ อมพวิ เตอร์สร้างภาพ การตกแต่งแกไ้ ขภาพ หรือการจดั การเก่ียวกบัภาพ เช่น ภาพยนตร์ วดิ ีทศั น์ การตกแต่งภาพถ่าย การสร้างภาพตามจินตนาการ และการใช้ภาพกราฟิ กในการนาเสนอขอ้ มูลต่าง ๆ เพ่อื ใหส้ ามารถสื่อความหมายใหช้ ดั เจนและทาความเขา้ ใจไดง้ ่ายกวา่ เดิม เช่น การนาเสนอขอ้ มูลดว้ ยแผนภาพหรือกราฟ แทนที่จะเป็นตารางของตวั เลข ซ่ึงในปัจจุบนั มีการใชค้ อมพวิ เตอร์กราฟิ กกบั งานหลากหลายดา้ น ไม่วา่ จะเป็นงานดา้ นการศึกษา งานดา้ นธุรกิจ งานดา้ นการออกแบบ งานดา้ นบนั เทิง หรืองานดา้ นการแพทย์ เป็นตน้\1.2 หลกั การทางานของภาพกราฟิ ก หลกั การทางานของภาพกราฟิ ก แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1.2.1 ภาพกราฟิ กแบบราสเตอร์ (Raster) หรือบิตแมพ (Bitmap) ภาพกราฟิ กแบบราสเตอร์ หรือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ บิตแมพ (Bitmap) เป็นภาพกราฟิ กที่เกิดจากการเรียงตวั ของจุดส่ีเหล่ียมเลก็ ๆ ที่เรียกวา่ พกิ เซล (Pixel) มีการเกบ็ คา่ สีที่เจาะจงในแต่ละตาแหน่งจนเกิดเป็นภาพในลกั ษณะต่าง ๆ เช่นภาพถ่าย ดงั น้นั ภาพแบบราสเตอร์มีขอ้ ดีและขอ้ เสีย ดงั น้ี ขอ้ ดี คือ เหมาะสาหรับภาพที่ตอ้ งการสร้างสีหรือกาหนดสีที่ตอ้ งการความละเอียดและสวยงามน ขอ้ เสีย คือ หากมีการขยายขนาดภาพซ่ึงจะเป็นการเพ่มิ จานวนจุดสีใหก้ บั ภาพ ส่งผลให้คุณภาพของภาพน้นั สูญเสียไปความละเอียดของภาพจะลดลงมองเห็นภาพเป็นแบบ จุดสีชดั เจนข้ึนไฟลภ์ าพจะมีขนาดใหญ่และใชเ้ น้ือที่ในการจดั เกบ็ มากตามไปดว้ ย โปรแกรมท่ีนิยมใชใ้ น
7การสร้างภาพแบบราสเตอร์ ไดแ้ ก่ โปรแกรม Paintbrush โปรแกรม Adobe Photoshop เป็นตน้ ดงั แสดงในภาพที่ 1.1 ภาพที่ 1.1 ภาพแบบราสเตอร์ 1.2.2 ภาพกราฟิ กแบบเวคเตอร์ (Vector) ภาพกราฟิ กแบบเวคเตอร์ เป็นภาพกราฟิ กที่เกิดจากการประมวลผลโดยอาศยั หลกั การคานวณทางคณิตศาสตร์ มีสีและตาแหน่งท่ีแน่นอน ภาพจะมีความเป็นอิสระต่อกนั โดยแยกชิ้นส่วนของภาพท้งั หมดออกเป็นเส้นตรง เส้นโคง้ หรือรูปทรงเม่ือมีการขยายภาพความละเอียดของภาพ จะไม่ลดลง เช่น ภาพการ์ตูนเมื่อถูกขยายภาพออกมา ภาพท่ีไดก้ จ็ ะยงั คงรายละเอียดและความชดั เจนไวเ้ หมือนเดิม และขนาดของไฟลภ์ าพจะมีขนาดเลก็ กวา่ ภาพแบบราสเตอร์โปรแกรมที่นิยมใชส้ ร้างภาพแบบเวคเตอร์ ไดแ้ ก่ โปรแกรม Illustrator โปรแกรม CorelDraw เป็นตน้ ดงั แสดงในภาพที่ 1.2
9 ภาพที่ 1.2 ภาพแบบเวคเตอร์1.3 ประเภทของภาพกราฟิ ก ประเภทของภาพกราฟิ ก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.3.1 ภาพกราฟิ กประเภท 2 มิติ เป็นภาพกราฟิ กท่ีมีแต่ความกวา้ งและความยาว แต่จะไม่มีความหนาหรือความลึก ไดแ้ ก่ ภาพสามเหล่ียม ภาพสี่เหล่ียม ภาพถ่าย ภาพลายเส้น ภาพวาด เป็นตน้ โดยทว่ั ไปเรียกภาพกราฟิ กประเภท 2 มิติวา่ ภาพร่าง ดงั แสดงในภาพที่1.3
10 ภาพท่ี 1.3 ภาพกราฟฟิ กประเภท 2 มิติ 1.3.2 ภาพกราฟิ กประเภท 3 มิติ เป็นภาพท่ีเกิดจากการใชโ้ ปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ ภาพที่ไดจ้ ะมีลกั ษณะเหมือนภาพท่ีมองจากตาคน โดยภาพกราฟิ กประเภท 3 มิติจะมีส่วนโคง้ เวา้ มุม แสง ความลึกและรายละเอียดท่ีสูงข้ึนจากภาพกราฟิ กประเภท 2 มิติ มีลกั ษณะการมองภาพท่ีเหมือนจริง ดงัแสดงในภาพที่ 1.4 ภาพที่ 1.4 ภาพกราฟิ กประเภท 3 มิติ
11 1.3.3 ความแตกต่างของภาพกราฟิ ก 2 มิติแบบราสเตอร์และแบบเวคเตอร์ความแตกต่างของภาพกราฟิ ก 2 มิติ แบบราสเตอร์และเวคเตอร์ ดงั แสดงในตารางท่ี 1.1ภาพกราฟิ ก 2 มิติแบบราสเตอร์ ภาพกราฟิ ก 2 มิติแบบเวคเตอร์1. เกิดจากการเรียงตวั ของจุดสี่เหลี่ยมเลก็ ๆ ที่เรียกวา่ 1. เป็นการประมวลผลโดยอาศยั การคานวณทางพิกเซล (Pixel) โดยจะเกบ็ คา่ สีที่เจาะจงในแต่ละ คณิตศาสตร์ มีสีและตาแหน่งของสีท่ีแน่นอนภาพตาแหน่ง จนเกิดเป็นภาพในลกั ษณะ ต่าง ๆ จะมีความเป็ นอิสระต่อกนั2. การขยายภาพจะมีการเพ่มิ จานวนจุดของภาพ ทาให้ 2. เม่ือมีการขยายภาพความละเอียดของภาพจะไม่ความละเอียดลดลง มองเห็นภาพเป็นแบบจุด คุณภาพ ลดลง ยงั คงรายละเอียดและความชดั เจนของภาพของภาพน้นั สูญเสียไป ไวเ้ หมือนเดิม3.การตกแต่งและแกไ้ ขภาพสามารถทาไดง้ ่ายและ 3. นิยมใชก้ บั งานดา้ นสถาปัตยกรรมตกแต่งภายในสวยงาม มีความเหมือนจริง เช่น การลบรอยตาหนิบน และงานดา้ นการออกแบบต่าง ๆ เช่น การออกแบบภาพเพ่อื ให้ ภาพดูสวยงามข้ึน อาคาร การออกแบบการ์ตูน4. การประมวลผลภาพสามารถทาไดร้ วดเร็ว 4. การประมวลผลภาพใชเ้ วลานานเนื่องจากใช้ คาสง่ั ในการทางาน
11
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: