ร ย น รพฒน ณภ พ ร ป ร 2560 ร รยนน รน ล ภ ม บลร ธ น ด บลร ธ น ทย ต 2 น น ตพ้นท่ ร มธยม ต 29 น น ณ รรม ร ร ้นพน้ ฐ น ร ทร ธ ร
-ก- น เอกสาร “รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจาปี 2560” ฉบับนี้ จัดทาข้ึนเพื่อรายงาน ผล การจดั การศึกษาของโรงเรียนนารนี กุ ลู ในปกี ารศึกษา 2560 ซึง่ เป็นไปตามความม่งุ หมายของการจัดการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ที่ได้กาหนดหลักการสาคัญข้อหน่ึง คอื ให้จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา และกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 2 ข้อ 14 (4) ท่ีใหส้ ถานศกึ ษาจัดทารายงานประจาปที ่ีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน เน้อื หาสาระของเอกสาร ประกอบด้วย ข้อมูลตาม มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันท่ี 11 ตุลาคม พ.ศ. 2560 โดยท่านรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ (พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ) มีจานวน 4 มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของ ผเู้ รยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และมาตรฐานท่ี 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มี ประสทิ ธผิ ล โรงเรียนนารีนุกูล ขอขอบคุณคณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้เก่ียวข้องทุกฝุายที่มี ส่วนร่วมในการพฒั นาการศึกษาของโรงเรียนให้มคี ณุ ภาพสูงข้ึนอย่างตอ่ เน่อื ง หวงั เปน็ อย่างย่ิงว่า เอกสารฉบับ นจ้ี ะเป็นประโยชน์ในการนาไปเปน็ ฐานขอ้ มลู สารสนเทศเพื่อการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน และ การส่งเสริมสนบั สนนุ ของหน่วยงาน องคก์ รตา่ งๆ รวมท้ังหน่วยงานต้นสังกัดในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ต่อไป นายธรรมนูญ ใจเกือ้ รองผอู้ านวยการโรงเรยี น รกั ษาการในตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรยี นนารีนกุ ูล
-ข- รบญ ร่ น้ น ...................................................................................................................... 1 รบญ ................................................................................................................... ่ นท่ 1 ้ มลพ้นฐ น........................................................................................................... 1 1 1.1 ขอ้ มูลท่ัวไป........................................................................................................... 1 3 1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศกึ ษา............................................................................. 4 5 1.3 ข้อมูลนกั เรยี น ...................................................................................................... 6 1.4 ข้อมูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นระดบั สถานศึกษา................................................... 7 9 1.5 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผ้เู รียนระดบั ชาติ 13 13 (National Test : NT) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3............................................... 25 34 1.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขัน้ พืน้ ฐาน (National O : NET)…………….... 38 47 1.7 ข้อมลู การใช้แหลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรยี น…………………………………... 47 54 1.8 สรุปผลการประเมินจากหนว่ ยงานภายนอกและขอ้ เสนอแนะ……………………… 54 55 ่ นท่ 2 ผล รปร มนตน ถ น .............................................................. มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน............................................................................... มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา………….. มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั ม ตรฐ นท่ 4 ร บบ รปร น ณภ พภ ยในท่มปร ทธผล ่ นท่ 3 รปผล แน ท รพฒน แล มต้ ร ร ่ ย ล สรุปผลการดาเนินงานในภาพรวมการประกันคุณภาพการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2559 แนวทางการพฒั นาในอนาคต มต้ รแล ร ่ ย ล ภ ผน
-1- ่ นท่ 1 ้ มลพน้ ฐ น 1. ้ มลท่ ไป โรงเรยี น นารีนุกลู ต้ังอยเู่ ลขท่ี 102 ถนนแจ้งสนทิ อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี รหัสไปรษณยี ์ 34000 สงั กดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 29 สานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร โทรศพั ท์ 045-245800 โทรสาร 045-245801 E-mail : [email protected] Website : http://www.narinukun.ac.th เปดิ สอนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 2. ้ มลบ ล ร ถ น 1.) จานวนบุคลากร บล ร ผ้บร ร รผ้ น พน นร ร ร ตร ้ ้ น้ ท่ น่ ๆ 197 3 28 19 ปกี ารศกึ ษา 2560 5 น นบ ล รป ร 2560 250 197 200 28 19 3 150 ครผู สู้ อน พนักงานราชการ ครูอัตราจา้ ง เจ้าหนา้ ท่ีอ่ืนๆ 100 50 5 0 ผู้บริหาร ผ้บู ริหาร ครูผ้สู อน พนกั งานราชการ ครอู ัตราจ้าง เจา้ หน้าทอ่ี นื่ ๆ ที่มา: งานบรหิ ารบุคล โรงเรยี นนารนี ุกูล , 2560 2.) วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ ของบคุ ลากร น น ( น) ร ดบ ร 134 67 ปรญิ ญาตรี 1 ปรญิ ญาโท 202 ปริญญาเอก รวม
-2- ฒร ด บล ร 1 คน : 0.49 % 67 คน : 33.17 % 134 คน : 66.34 % ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก 3.) สาขาวิชาท่ีจบการศกึ ษทาีม่ แาล: ะงาภนาบรระิหงาารนบสคุ อลนโรงเรยี นนารนี กุ ูล , 2560 น น ( น) ภ ร น น ฉล่ย ร 1 น ในแตล่ ( ม./ ปด )์ 1. บริหารสถานศกึ ษา 5 - 2. คณิตศาสตร์ 30 16.77 3. วิทยาศาสตร์ 40 16.61 4. ภาษาไทย 17 18.94 5. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 23 16.83 6. สขุ ศกึ ษา 11 18.64 7. ศลิ ปะ 12 14.00 8. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 26 13.97 9. ภาษาตา่ งประเทศ 33 19.00 10. แนะแนว 5 15.00 รวม 202 16.53 1.3 ้ มลน รยน จานวนนักเรยี นปกี ารศกึ ษา 2560 รวมท้งั สิน้ 3,842 คน (ข้อมูล ณ วนั ที่ 29 มกราคม 2561) ร ดบ ม.1 ม.2 ม.3 รม ม.4 ม.5 ม.6 รม รม น้ รยน ท้ มด น น ้ 15 15 15 45 17 17 17 51 96 พ ย 243 239 252 734 173 174 175 522 1,256 ญ 344 376 396 1,116 462 482 526 1,470 2,586 ร ม 587 615 648 1,850 635 656 701 1,992 3842 ฉลย่ ต่ ้ 39 41 46 - 35.27 36.44 38.94 - -
-3- น นน รยน ้นมธยม ปท่ 1-3 ป ร 2558-2560 ป 2560 ร ดบ น้ ป 2558 ป 2559 587 มธยม ปท่ 1 630 615 มธยม ปท่ 2 681 676 648 มธยม ปท่ 3 674 649 1,850 670 1,955 รม 2,025 ปรยบ ทยบ น นน รยน ้นมธยม ปท่ 1-3 ป ร 2558-2560 มธยม ปท่ 3 648 670 มธยม ปท่ 2 649 มธยม ปท่ 1 676 615 674 587 681 630 ปี 2560 ปี 2559 ปี 2558 ทมี่ า: งานทะเบยี นนกั เรียนและเทยี บโอนผลการเรยี น โรงเรยี นนารนี ุกลู , 2560 น นน รยน ้นมธยม ปท่ 4-6 ป ร 2558-2560 ป 2560 ร ดบ ้น ป 2558 ป 2559 635 มธยม ปท่ 4 671 656 มธยม ปท่ 5 740 715 701 มธยม ปท่ 6 817 741 1,992 744 2,127 รม 2,301
-4- ปรยบ ทยบ น นน รยน น้ มธยม ปท่ 4-6 ป ร 2558-2560 มัธยมศึกษาปที ี่ 6 701 มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 741 มธั ยมศึกษาปีที่ 4 744 656 817 715 635 671 740 ปี 2560 ปี 2559 ปี 2558 ทีม่ า: งานทะเบียนนกั เรยี นและเทยี บโอนผลการเรยี น โรงเรยี นนารนี กุ ูล , 2560 1.4 ้ มลผล มฤทธ์ท ร รยนร ดบ ถ น รอ้ ยละของนักเรียนที่มเี กรดเฉลยี่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึน้ ไป ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 ปกี ารศกึ ษา 2560 กล่มุ IS 54.91 77.42 ภาษาตา่ งประเทศ การงานอาชีพเทคโนโลยี 44.67 82.78 57.45 86.45 ศิลปะ 56.99 สขุ ศึกษาพลศกึ ษา 82.17 73.69 สังคมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย ร้อยละ - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 100.00 ทม่ี า: งานวัดผลและประเมนิ ผลโรงเรยี นนารนี ุกูล , 2560 1.5 ผล รปร มน รทด บ ม ม รถพ้นฐ น ผ้ รยนร ดบ ต (National Test : NT) ร ดบ น้ มธยม ปท่ 3 ไมไ่ ด้สอบเน่อื งจากเปิดสอนในระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 1.6 ผล รทด บท ร ร ดบ ต น้ พ้นฐ น (Ordinary National Education Test :O-NET) 1. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศกึ ษา 2560
-5- 5123460000000 ผล รทด บท ร ร ดบ ต ้นพน้ ฐ น (O-NET) ป ร 2560 53.17 48.3 48.77 48.29 ้นมธยม ปท่ 3 โรงเรยี น สพม.29 28.4225.68 26.55 26.3 33.39 32.0332.47 32.28 32.38 29.22 30.14 30.45 สพฐ ประเทศ ไทย คณิต วิทย์ องั กฤษ 53.17 28.42 33.39 32.38 48.3 25.68 32.03 29.22 48.77 26.55 32.47 30.14 48.29 26.3 32.28 30.45 โรงเรียน สพม.29 สพฐ ประเทศ หมายเหตุ: แนน ฉลย่ ท ทรีม่ าย: งานวขัดผอลงแนลกั ะเปรรยี ะนเมรินะผดลับโชรง้ันเรมยี ัธนยนมาศรีนกึ ุกษูลาป, 2ีท5่ี 630โรงเรียนนารนี กุ ูล สงู กว่า คะแนนเฉล่ยี ระดับ สพม. 29 , คะแนนเฉลี่ย ระดบั สพฐ. และ คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2560 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 1325460000000 55.4747.88 50.07 49.25 31.3 27.8129.48 29.37 37.1433.48 34.96 34.7 29.9824.65 27.91 28.31 25.02 21.3824.64 24.53 โรงเรียน องั กฤษ สพม.29 ไทย คณิต วทิ ย์ สังคม 29.98 สพฐ 55.47 25.02 31.3 37.14 24.65 ประเทศ 47.88 21.38 27.81 33.48 27.91 50.07 24.64 29.48 34.96 28.31 49.25 24.53 29.37 34.7 โรงเรียน สพม.29 สพฐ ประเทศ หมายเหตุ: แนน ฉล่ยท ทรี่มาย: งานวขดั ผอลงแนลกั ะเปรรียะนเมรินะผดลบั โชรงัน้ เรมยี ธั นยนมาศรีนึกกุษูลาป, 2ีท5่ี 660โรงเรียนนารีนกุ ลู สงู กวา่ คะแนนเฉลี่ยระดับ สพม. 29 , คะแนนเฉลี่ย ระดับ สพฐ. และ คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ 2. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ประจาปีการศกึ ษา 2560
-6- ผล รทด บท ร ร ดบ ต น้ พ้นฐ น (O-NET) ป ร 2559-2560 ้นมธยม ปท่ 3 60 ปี 2560 50 ปี 2559 53.17 40 50.43 28.42 30 32.29 33.39 20 36.2 32.38 10 35.89 0 ไทย คณติ วทิ ย์ องั กฤษ ไทย คณิต วทิ ย์ อังกฤษ ท่มี า: งานวดั ผลและประเมนิ ผลโรงเรยี นนารนี กุ ูล , 2560 ผล รทด บท ร ร ดบ ต ้นพน้ ฐ น(O-NET) ป ร 2559-2560 ้นมธยม ปท่ 6 60 50 40 30 20 10 0 ปี 2560 ปี 2559 ไทย 57.06 55.47 คณิต 24.64 25.02 วทิ ย์ 31.34 31.30 สังคม 36.29 37.14 องั กฤษ 28.68 29.98 ไทย คณติ วทิ ย์ สงั คม องั กฤษ ทม่ี า: งานวดั ผลและประเมนิ ผลโรงเรยี นนารีนุกลู , 2560
-7- 1.7 ้ มล รใ ้แ ล่ รยนร้ภ ยในแล ภ ยน ร รยน ป ร 2560 ตารางแสดงจานวนนกั เรียนทใ่ี ชแ้ หลง่ เรยี นรูใ้ นโรงเรียน ปกี ารศึกษา 2560 ร ดบ ้น ้ มด ้ ้ร ้ นย์ ้ ้ ้ ดนตร ทย ตร์ มพ ต ร์ ่ ยน้ ล่ม ร แน แน ซยน -น ฎ ลป์ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 532 587 587 587 587 587 543 551 615 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 587 615 615 413 615 541 576 532 596 มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 547 648 648 379 648 648 432 490 701 มัธยมศึกษาปีที่ 4 654 635 635 368 635 613 571 3,485 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 587 656 656 276 656 567 437 มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 601 701 701 189 701 701 457 ร ม 3,508 3,842 3,842 2,212 3,842 3,657 3,016 จานวนนักเรยี นที่ใช้แหล่งเรยี นรูใ้ นโรงเรียน ปกี ารศึกษา 2560 4500 4000 3500 701 701 701 701 3000 601 701 656 656 656 567 457 490 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 2500 587 มัธยมศึกษาปีท่ี 5 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 189 437 มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 2000 635 635 635 613 596 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 654 276 571 1500 368 547 648 648 379 648 648 432 532 1000 587 615 615 413 615 541 576 615 500 532 587 587 587 587 587 543 551 0 หอ้ งสมุด ห้องวทิ ยาศาสตร์ ห้องคอมพวิ เตอร์ สระวา่ ยน้า ห้องศูนยก์ ลุ่มสาระ ห้องแนะแนว ห้อง อาเซยี น หอ้ งดนตรี - นาฎศลิ ป์ ท่มี า: งานอาคารสถานท่ีโรงเรียนนารนี ุกูล , 2560
-8- ตารางแสดงจานวนนกั เรียนทีใ่ ช้แหล่งเรยี นรนู้ อกโรงเรียน ปกี ารศึกษา 2560 ร ดบ ้น ม.ร ภฏ ม. บลฯ ด ้ มด ผ แตม้ ด ดด ด ต่ ๆ มธยม ปท่ 1 บลฯ ม ด ร ต่ ๆ ร้ ย ด็ ฬ นธ์ บรรมย์ มธยม ปท่ 2 587 มธยม ปท่ 3 587 345 212 587 242 360 360 270 615 มธยม ปท่ 4 648 มธยม ปท่ 5 615 545 242 615 356 90 90 360 635 มธยม ปท่ 6 656 648 576 255 648 262 225 225 225 701 รม 3,842 635 587 248 635 267 270 270 180 656 556 264 656 345 225 225 315 701 701 218 701 240 180 180 315 3,842 3,310 1,439 3,842 1,612 1,350 1,350 1,665 จานวนนักเรียนทีใ่ ชแ้ หล่งเรยี นรู้นอกโรงเรียน ปีการศกึ ษา 2560 4500 701 701 4000 701 656 656 มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 มัธยมศึกษาปที ี่ 5 3500 701 556 635 มัธยมศึกษาปีท่ี 4 635 มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 3000 มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 656 587 648 240 มัธยมศึกษาปที ่ี 1 2500 218 345 315 648 635 264 267 576 615 262 180 180 315 615 2000 545 248 587 356 225 225 180 587 345 255 242 225 1500 648 242 270 270 360 212 1000 615 225 225 270 500 90 90 360 360 587 0 ทมี่ า: งานกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นโรงเรยี นนารนี กุ ูล , 2560
-9- 1.8 รปผล รปร มน น่ ย นภ ยน แล ้ น แน ผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง ( พ.ศ. 2549 - 2553 ) ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ม ตรฐ น ร น้ พน้ ฐ น พ่ รปร มนภ ยน ร ดบ ณภ พ ปรบปร พ ใ ้ ด ดม ด้ นผ้ รยน มาตรฐานที่ 1 ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงค์ มาตรฐานที่ 2 ผเู้ รยี นมสี ุขนิสยั สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมสี ุนทรยี ภาพและลักษณะนิสัยดา้ นศิลปะ ดนตรี กฬี า มาตรฐานที่ 4 ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ สังเคราะหม์ ี วจิ ารณญาณ มีความคิดสรา้ งสรรค์ คดิ ไตร่ตรอง และมวี สิ ยั ทัศน์ มาตรฐานที่ 5 ผเู้ รียนมีความรู้และทักษะท่ีจาเปน็ ตามหลักสตู ร มาตรฐานที่ 6 ผ้เู รียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รักการเรียนรู้ และพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง มาตรฐานท่ี 7 ผู้เรยี นมที ักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ ทางาน รว่ มกับผู้อืน่ ได้ และมเี จตคติที่ดีต่ออาชีพสุจรติ ด้ น ร มาตรฐานท่ี 8 ครมู ีวุฒิ/ความรคู้ วามสามารถตรงกับงานท่รี บั ผดิ ชอบและมีครู เพียงพอ มาตรฐานท่ี 9 ครมู คี วามสามารถในการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพและเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ด้านผู้บรหิ าร มาตรฐานท่ี 10 ผู้บรหิ ารมีภาวะผ้นู าและมคี วามสามารถในการบริหารจัดการ มาตรฐานที่ 11 สถานศกึ ษามีการจัดองคก์ รโครงสร้างและการบริหารงาน อย่างเป็นระบบและครบวงจร ใหบ้ รรลเุ ปูาหมายการศกึ ษา มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามหี ลกั สูตรท่ีเหมาะสมกบั ผเู้ รียนและท้องถนิ่ มสี ื่อ การเรียนการสอนทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษาส่งเสรมิ ความสัมพันธ์และความรว่ มมอื กบั ชุมชน ในการพฒั นาการศกึ ษา โรงเรยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก โดยมีคา่ เฉล่ีย 3.83 ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ รบั รอง ไม่รับรอง
-10- ผล รปร มน ณภ พภ ยน ร บ ม ( พ. . 2554 - 2558 ) ร ดบ ร น้ พ้นฐ น : มธยม ต บ่ ้ร ดบ ร ดบ ณภ พ ร ้นพ้นฐ น พ่ รปร มน ณภ พภ ยน ต้ ต้ พใ้ ด ดม ลม่ ต บ่ พ้ น้ ฐ น ปรบปร ปรบปร ตวั บ่งชท้ี ี่ 1 ผเู้ รยี นมีสขุ นิสยั สุขภาพกาย และสุขภาพจิตทีด่ ี ร่ ด่ น ตัวบ่งชี้ท่ี 2 ผ้เู รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมทีพ่ ึง ประสงค์ ตัวบ่งชท้ี ี่ 3 ผเู้ รยี นมคี วามใฝุรู้ และใฝุเรียนอย่างสม่าเสมอ ตวั บง่ ชี้ท่ี 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทาเปน็ ตัวบง่ ชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผ้เู รยี น ตัวบ่งชท้ี ่ี 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ตัวบ่งชท้ี ี่ 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการและพฒั นา สถานศกึ ษา ตวั บ่งชี้ท่ี 8 พัฒนาการของการประกันคณุ ภาพภายในโดย สถานศึกษาและต้นสงั กัด ล่มต บ่ ้ ตล ณ์ ตัวบง่ ชีท้ ี่ 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน/ วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ และวัตถปุ ระสงค์ของการจัดต้งั สถานศึกษา ล่มต บ่ พ้ น้ ฐ น ตวั บง่ ชี้ที่ 1 ผเู้ รียนมสี ุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตทดี่ ี ตัวบ่งชีท้ ่ี 2 ผู้เรียนมคี ุณธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มท่พี ึง ประสงค์ ตวั บ่งชท้ี ี่ 3 ผเู้ รียนมคี วามใฝุรู้ และใฝเุ รียนอยา่ งสมา่ เสมอ ตัวบ่งชท้ี ี่ 4 ผเู้ รยี นคิดเป็น ทาเปน็ ตัวบ่งชท้ี ี่ 5 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผู้เรยี น ตวั บ่งช้ีที่ 6 ประสิทธผิ ลของการจดั การเรียนการสอนที่เน้น ผเู้ รียนเป็นสาคญั
-11- ต บ่ ้ร ดบ ร น้ พน้ ฐ น พ่ รปร มน ร ดบ ณภ พ ณภ พภ ยน ต้ ต้ พใ้ ด ดม ตวั บ่งชี้ที่ 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจดั การและพัฒนา ปรบปร ปรบปร สถานศกึ ษา ร่ ด่ น ตัวบ่งชีท้ ี่ 8 พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายในโดย สถานศึกษาและตน้ สังกดั ลม่ ต บ่ ้ ตล ณ์ ตวั บ่งชท้ี ่ี 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน/ วิสยั ทศั น์ พันธกิจ และวัตถปุ ระสงค์ของการจดั ตัง้ สถานศกึ ษา ้ น แน พ่ รพฒน ต ม ฎ ร ทร ่ ด้ ยร บบ ล ณฑ์ แล ธ รปร น ณภ พ ร พ. . 2550 1. ด้ นผล ร ด ร 1) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ควรเน้นการเรียนรู้ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การเรียนรู้แบบโครงงาน ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การงานอาชีพและเทคโนโลยี และ ภาษาต่างประเทศ โดยการปรับการเรียนการเรียนการสอนให้สมดุลระหว่างภาคความรู้(ทฤษฎี) และภาค ปฎบิ ัติ สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นไดท้ บทวน ฝึกทักษะทดสอบย่อยเป็นระยะ ใช้ผลการทดสอบย่อยมาพัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เช่น การสอนซ่อมเสริม การมอบหมายงาน ทาแบบทดสอบเพิ่มเติม การจูงใจและการเสริมแรง ในการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ครูศึกษาเพ่ิมเติม ทั้งด้านความรู้ตามเน้ือหาสาระ เทคนิค การสอนที่หลากหลาย จัดทาโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้จัดหาสื่อ และนวัตกรรมท่ีเหมาะสม ทนั สมัยนอกจากนส้ี ถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ ใหค้ ณะครูปรบั รปู แบบการทดสอบพัฒนา เคร่ืองมือวัดผลให้ตรง หรือมีคุณภาพและนิเทศกากับติดตามการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้น ผเู้ รียนเปน็ สาคญั 2) สถานศึกษาควรกาหนดทิศทางการพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด อย่างท่วั ถงึ และต่อเนือ่ งต่อไป โดยการจดั กิจกรรม โครงงาน กจิ กรรมการเรยี นรู้ทส่ี ง่ เสริมให้ผู้เรียนได้คิด ลงมือ ปฏบิ ตั ิ การนาเสนอผลงานครอบคลมุ ทกุ กล่มุ สาระการเรียนรู้
-12- 2. ด้ นบร ร ด ร ร สถานศกึ ษาสามารถกาหนดทศิ ทางการบรหิ ารจัดการที่มีประสิทธภิ าพอยแู่ ลว้ ใหม้ ีประสิทธภิ าพ ยิง่ ข้นึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในแนวทางการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน (SBM) บูรณาการหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงในทกุ ๆ กิจกรรมและการพฒั นาสู่ความเป็นสากลโดยใช้ภาษาสากล(ภาษาองั กฤษ) 3.ด้ น ร ด ร รยน ร นท่ น้นผ้ รยน ปน็ ญ สถานศึกษาควรนาผลการประเมนิ ประสิทธิภาพการจดั การเรยี นการสอน โดยเฉพาะด้านการกาหนด เปูาหมายทตี่ ้องการใหเ้ กิดกับผเู้ รียน การศึกษาค้นควา้ วจิ ัยเพอื่ พฒั นากระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั นาผลจากการนเิ ทศภายในพัฒนาศักยภาพของครู หรือนามาปรับใช้ในการพัฒนาครอู ย่างเป็นและมี ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ น ต รรม ร ต ย่ รปฏบตทด่ (Good Practice) ถน ท่ ป็นปร ย น์ต่ ม 1. คา่ ยผู้นากิจกรรมชุมนมุ 2. การเขียนโปรแกรมควบคมุ หนุ่ ยนตข์ องนักเรยี น 3. การจดั ห้องเรยี นพเิ ศษ EIS 4. วงจรคณุ ภาพ PDCA พัฒนาผูเ้ รียน
-13- ่ นท่ 2 ผล รปร มนตน ถ น ม ตรฐ นท่ 1 ณภ พ ผ้ รยน ร ดบ ณภ พ : ด ยย่ ม 1. ร บ น รพฒน โรงเรียนนารีนกุ ลู จดั การศกึ ษามุง่ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นทกุ คนมีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีการจัดการประเมินผลผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ด้านความ ประพฤติ ด้านการเรียน ด้านการร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตาม ความเหมาะสม ซ่ึงได้จัดหลักการประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียนอิงมาตรฐานการเรียนรู้ ใช้การวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริง เพ่ือให้เกิดการพัฒนาการของผู้เรียนในทุกด้าน ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น เป็นไปตามเกณฑ์ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ ท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้จัดกิจกรรมการเรียน การสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั มีการประเมนิ ผลทางการเรียนทส่ี อดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา ท่ีกาหนดในหลักสูตร มีวิธีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลายมีคุณภาพ ถูกต้องตามศักยภาพความรู้ ความสามารถ ที่แท้จริงของผู้เรียนและนาผลการประเมิน มาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ ผเู้ รียนมีผลการเรยี นรู้ ท้งั 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ในระดบั ดขี ้นึ ไป ตลอดจนสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอน ท่ีตอบสนองสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5 ด้าน คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี อีกทั้ง ได้จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนท้ังในและนอกหอ้ งเรียนเพอื่ ประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร ส่งเสริมให้ ผู้เรียนทุกคนได้รับการฝึกฝนให้มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน โดยจัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นการอ่านสร้างความรู้ความคิดไปใช้ในการตัดสินใจ วางแผนดาเนินการหรือการแก้ปัญหา และ สร้างสรรค์ผลงาน เช่น การฝึกปฏิบัติการอ่าน การสร้างช้ินงาน การทาโครงงาน นอกจากน้ีได้จัดโครงการ กจิ กรรมสง่ เสรมิ รักการอ่าน ส่งเสริมงานเขยี น ฉลาดอ่านฉลาดคดิ งานประเมนิ การอา่ นคดิ วิเคราะห์ และเขยี น นอกจากนี้โรงเรยี นได้พฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รยี นให้มีทักษะในการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง รกั การเรียนรู้ และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง มีนสิ ัยรกั การอ่าน รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่าง ๆ และตั้งคาถามเพ่ือค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงร่วมกับผู้อื่นทั้งในและนอกสถานศึกษา จากการศึกษาการลงมอื ปฏิบตั ิ การทศั นศึกษา ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และการนาเสนอผลงาน และมีการ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามหลักสูตร โดยการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ เสริมหลักสูตร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนได้เข้าร่วม กิจกรรม นาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน จนกระทั่งผู้เรียนเกิดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ อันเหมาะสม มีความเอื้ออาทรผู้อ่ืนและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ผู้เรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรม ที่แตกตา่ ง ตลอดจนเกิดความตระหนกั รู้คณุ ค่าและรว่ มกันอนุรกั ษ์และพฒั นาสิง่ แวดลอ้ ม
-14- 2. ผล รด นน น จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทง้ั 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ดังที่กล่าวมาทาให้ผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 6 มีความรู้ และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนและผลการทดสอบระดับชาติ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ อย่ใู นระดับดีเยี่ยม จากการจัดกิจกรรมและโครงการตา่ ง ๆ ที่กล่าวมา เป็นกระบวนการพฒั นาผู้เรยี นให้เกิดความรู้ ความเข้าใจได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของการประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นนักเรียนดี เป็นสมาชิกของสังคมท่ีดี รวมไปถึงการมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามหลักสูตร รู้จักแบ่งปัน เอ้ือเฟื้อ เผ่ือแผ่ เอื้ออาทรผู้อ่ืน เห็นแก่ ประโยชน์ส่วนรวม มีจิตสาธารณะ มีความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ และเป็นลูกท่ีดีของพ่อ - แม่ ครู อาจารย์ เคารพในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ยอมรับในวัฒนธรรมที่แตกต่าง สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างเป็นระบบ ตามกระบวนการของประชาธิปไตย รักและสามัคคีในหมู่คณะ โดยไม่คานึงถึงความแตกต่าง ของภาษาและวัฒนธรรม สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เกิดความตระหนัก เห็นคุณค่า ความสาคัญของสิ่งแวดล้อม มีจิตสานึก ท่ีดีในการอนุรักษ์ และพัฒนาส่ิงแวดล้อม ขยายออกไปสู่ท้องถ่ิน และประเทศชาติ ให้สมดลุ และย่ังยืนตลอดไป จากการดาเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาข้างต้นส่งผล ใหน้ กั เรยี นได้รับรางวัล ในระดบั ชาติ ระดบั ภาค และระดับสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 เช่น ได้รับ “ร ล น ล ใน รแ ่ นต บปัญ ร ย ร ย น ย ร้ ปร ป 2560 ร ดบ ้น มธยม ต นปล ย ได้รบร ลถ้ ยพร ร ท น ม ด็ พร ทพรตนร ด ย มบรมร ม ร” ได้รับรางวัลจากการเข้าร่วมการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียนประจาปีการศึกษา 2560 ดังน้ี เกียรติบัตรเหรียญทองระดับชาติ การแข่งขันต่อคาศัพท์ภาษาไทย เกียรติบัตรเหรียญทองระดับชาติ การ ปร ะ ก ว ด เ ล่า นิท า น คุ ณธ ร ร ม ม .1 -ม .3 เ กี ย ร ติบั ตร เ หรี ยญ ทอ ง ร ะ ดับ ช าติ ก าร แ ข่ง ขัน พู ด เพอ่ื อาชีพภาษาญีป่ ุน ม.1-ม.3 เกียรติบัตรเหรียญทองระดับชาติการแข่งขันประดิษฐ์กระทงดอกไม้ธูปเทียน แพ ม.1-ม.3 เกียรติบัตรเหรียญทองแดงระดับชาติ การแข่งขันการออกแบบส่ิงของเคร่ืองใช้ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ม.1-ม.3 รางวัลชนะเลิศโครงงานภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับภาค มูลนธิ ีเปรม ตณิ สลู านนท์ ปี พ.ศ.2560 รางวัลระดับเหรียญเงนิ การแข่งขนั ฟิสิกสส์ ปั ยทุ ธ์ คร้ังท่ี 7 ปีการศึกษา 2560 เครือข่ายหอ้ งเรียนพิเศษระดบั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนลา่ ง และ ได้รับเหรียญทอง ว่ิงผลัด 4x100 การแขง่ ขันกรีฑายุวชนชิงชนะเลิศแห่งอาเซียน \"ซียูธ\" คร้ังท่ี 13 ที่สนามกีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต เป็นต้น
-15- ทัง้ นี้ มีผลการพฒั นาเชงิ ประจกั ษใ์ นด้านต่างๆ ดังน้ี 1.ผล มฤทธ์ท ร ผ้ รยน ปร ด็น ผล รปร มน 1.1 ความสามารถ ในการอา่ น การ ร้ ยล น นน รยนทม่ ผล รปร มน ม ม รถใน ร ่ น เขยี น การสื่อสาร และการคดิ คานวณ 60 แน ต มร ดบ ณภ พ ตามเกณฑข์ อง แต่ละระดับชน้ั 51.82 52.32 54.29 (ร ดบด ย่ยม) 33.09 44.89 43.46 46.57 40 38.76 38.88 39.75 32.24 33.62 20 12.12 13.21 10.48 12.69 10.88 8.94 4.23 4.45 3.2 3.25 3.18 3.68 0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ความสามารถในการอา่ น ดีเย่ียม ความสามารถในการอา่ น ดี ความสามารถในการอา่ น พอใช้ ความสามารถในการอ่าน ปรบั ปรงุ ท่มี า : งานวัดผลและประเมนิ ผลโรงเรียนนารนี กุ ลู , 2560 ปร ด็น ผล รปร มน 1.2 ความสามารถ ในการส่ือสารคิด ร้ ยล น นน รยนทม่ ม ม รถใน ร ่ ร ด น ณ คานวณและ แล ด ร ์ แน ต มร ดบ ณภ พ คิดวิเคราะห์ (ร ดบด ยย่ ม) 45 39.86 40.01 41.09 40.69 41.12 39.45 ความสามารถในการสอื สารคิด 40 คานวณและวคิ ราะห์ ดเี ยีย่ ม 35 30.88 30.94 30.86 34.38 32.22 ความสามารถในการสอื สารคิด 30 คานวณและวิคราะห์ ดี 30.22 ความสามารถในการสอื สารคิด 25 20.48 20.92 21.11 20.62 19.23 คานวณและวคิ ราะห์ พอใช้ 20 17.13 ความสามารถในการสือสารคิด คานวณและวคิ ราะห์ ปรบั ปรงุ 15 10 9.19 8.28 8.02 8.07 7.8 7.43 5 0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ที่มา : งานวัดผลและประเมนิ ผลโรงเรยี นนารีนกุ ูล , 2560
-16- ปร ดน็ ผล รปร มน 1.3 ความ ร้ ยล น นน รยนท่ม ม ม รถในใ ้ ท น ลย แน ต มน ดบ ณภ พ สามารถในการ 66.12 71.89 71.92 73.42 78.28 ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและ 100 การส่ือสาร 80 65.59 (ร ดบด ยย่ ม) 60 40 16.42 22.24 15.0410.05 15.24 15.33 14.22 20 14.88 8.32 3.02 10.79 10.02 6.291.21 3.11 3.32 2.05 1.23 0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดเี ย่ียม ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ดี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี พอใช้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ปรับปรุง ท่มี า : งานวดั ผลและประเมนิ ผลโรงเรียนนารนี ุกลู , 2560 ปร ด็น ผล รปร มน 1.4 ความก้าวหนา้ ทางการเรยี นตาม ร้อยละของนกั เรียนท่ีมผี ลการเรียนแต่ละรายวชิ าในระดบั 3 ขน้ึ ไป หลกั สตู รสถานศึกษา ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 ปีการศกึ ษา 2560 (ร ดบด ยย่ ม) ที่มา : งานวัดผลและประเมนิ ผลโรงเรยี นนารนี กุ ลู , 2560
-17- ปร ดน็ ผล รปร มน 1.5 ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนและ ทม่ี า : งานวัดผลและประเมนิ ผลโรงเรยี นนารนี ุกูล , 2560 พฒั นาการจาก ผลการสอบวดั ผล รปร มน ระดบั ชาติ (ร ดบด) 1.5.1 ผลการ ทดสอบทาง การศกึ ษา ระดบั ชาติ ข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ระดับ ม.3 ปร ด็น 1.5.2 ผลการ ทดสอบทาง การศึกษา ระดบั ชาติ ข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ระดับ ม.6 ทม่ี า : งานวดั ผลและประเมนิ ผลโรงเรียนนารีนกุ ูล , 2560
-18- ประเด็น ผลการประเมิน 1.6 ความพร้อม ในการศกึ ษาตอ่ ร้ ยล น รยนท่ม มพร้ มใน ร ต่ รฝึ น ร รท น การฝกึ งานหรือ น รยนร ดบ น้ ม.6 ป ร 2560 การทางาน (ร ดบด ย่ยม) 99.82 1.6.1 ร้อยละ ความพร้อมใน 99.65 99.65 การศกึ ษาตอ่ การ ฝกึ งานหรอื การ ันกเรียนม.6ทุกคนได ้ ทางาน ัรบทราบข ้อมูลข่าวสาร การเรียนต่ออย่าง หลากหลาย ันกเรียนมีความพร ้อมใน การศึกษาต่อการ ึฝกงาน และการทางาน ันกเรียนรู ้ ัจกการเตรียม ัตวเข ้าสู่โลกของอาชีพ 123 ท่ีมา : งานแนะแนวโรงเรยี นนารนี ุกลู , 2560 ประเด็น ผลการประเมนิ 1.6.2 นักเรียน ม.6 ทผ่ี า่ น การคดั เลือกเข้าศึกษา น นน รยน น้ ม.6 ท่ผ่ น ร ด ล ้ ต่ ในสถาบันอดุ มศกึ ษา ใน ถ บน ดม ป ร 2560 การศึกษา 2560 รวมเรียนต่อ คงเหลอื รอประกาศผล,รอแอดมิดชน่ั .อื่นๆ 48% 52% ท่มี า : งานแนะแนวโรงเรยี นนารนี กุ ลู , 2560
-19- ประเดน็ ผลการประเมนิ 1.6.3 นกั เรียน ม.3 ศกึ ษาต่อในปีการศกึ ษา น นน รยน ม.3 ท่ ต่ ในป ร 2561 2561 แยกตามสถาบนั แย ต ม ถ บน วทิ ยาลยั อาชีวศึกษา ประเด็น 6% 10% อุบลราชธานี 1.6.4 นกั เรียน ม.3 ศึกษาต่อในปกี ารศึกษา วทิ ยาลยั เทคนคิ 2560 แยกตามสายสามญั 12% อบุ ลราชธานี และสายอาชพี โรงเรียนนารีนกุ ุล โรงเรียนอ่ืนๆ 72% ทม่ี า : งานแนะแนวโรงเรียนนารีนกุ ูล , 2560 ผลการประเมิน น นน รยน ม.3 ท่ รยนต่ ในป ร 2561 แย ต ม ย มญแล ย พ 9% 7% 84% สายอาชีพ สายสามญั ระหวา่ งตดิ ตาม ท่ม : นแน แน ร รยนน รน ล , 2560
-20- 2. ณล ทพ่ ปร ์ ผ้ รยน ปร ดน็ ผล รปร มน 2.1 การมคี ณุ ลักษณะและ ร้ ยล น นน รยนท่มผล รปร มนด้ น ณธรรม รยธรรม คา่ นิยมทดี่ ตี ามทสี่ ถานศกึ ษา แน ต มร ดบ ณภ พ กาหนด โดยไมข่ ดั กบั ม.6 83.21 12.21 3.221.36 กฎหมายและวัฒนธรรม 82.32 12.44 4.09 1.15 อนั ดีของสงั คม ม.5 (ร ดบด ยย่ ม) ม.4 80.09 11.24 7.44 1.23 2.1.1 รอ้ ยละของจานวน ม.3 นกั เรยี นทมี่ ีผลการประเมนิ 81.75 10.12 6.24 1.89 ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ม.2 80.04 9.46 8.32 2.18 จาแนกตามระดับคุณภาพ ม.1 83.59 10.21 4.08 2.12 0 20 40 60 80 100 120 ดเี ย่ยี ม ดี พอใช้ ปรับปรุง ทม่ี า : กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา โรงเรยี นนารนี กุ ลู , 2560 ปร ด็น ผล รปร มน 2.1.2 นักเรียนทม่ี ีผล การประเมินการมสี ว่ นร่วม ร้ ยล น นน รยนท่มผล รปร มน รม ่ นร่ ม ในการอนุรกั ษธ์ รรมชาติ จาแนกตามระดับคุณภาพ ใน ร นร ธ์ รรม ต แน ต มน ดบ ณภ พ ม.6 2.65 85 12.35 ม.5 2 87 11 ม.4 4.15 83.5 พอใช้ 12.35 82.77 ดี ดีเย่ียม ม.3 5.11 81.04 12.12 ม.2 6.3 12.66 ม.1 3.22 84 12.78 0 20 40 60 80 100 ทมี่ า : กลมุ่ บริหารทัว่ ไป โรงเรียนนารีนุกลู , 2560
ปร ด็น -21- 2.1.3 ผล รปร มน คุณลักษณะ ร้ ยล น นน รยนท่ม ณล ณ นพ ปร ์ (ต ม ปพ.) ท่ีพึงประสงค์ ของผเู้ รียน 100 100 100 100 100 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ท่ีมา : กลุ่มบรหิ ารกจิ การนกั เรียน โรงเรียนนารนี กุ ูล , 2560 ปร ดน็ ผล รปร มน 2.2 ความภมู ใิ จในท้องถ่ินและ ความเปน็ ไทย ร้ ยล น นน รยนทม่ ผล รปร มนด้ น มภ ภมใ (ร ดบด ยย่ ม) ใน ม ปน็ ไทย แน ต มร ดบ ณภ พ ม.6 ดเี ยยี่ ม ม.5 ม.4 ม.3 ม.2 ม.1 0 20 40 60 80 100 120 ท่ีมา : กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา โรงเรยี นนารีนุกูล , 2560
-22- ปร ด็น 100 ผล รปร มน 2.3 การยอมรบั ทจี่ ะอยู่ 95 รว่ มกนั บนความแตกต่างและ 90 การรบั ฟังความคิดเหน็ หลากหลาย 85 ของคนอ่ืน (ร ดบด ย่ยม) 80 การทางานเป็นทมี 75 70 65 60 ทีม่ า : กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา โรงเรียนนารนี ุกูล , 2560 ปร ดน็ ผล รปร มน 2.4 สุขภาวะ ทางร่างกายและ ร้ ยล น นน รยนท่มผล รปร มนด้ น ภ ท ย ภ ท ต ภม ม้ น แล ลักษณะ น ถ ม ป็นธรรมต่ ม จิตสงั คม (ร ดบด ย่ยม) 120 100 80 ่ืชอแกน 60 40 20 0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 95.33 96.04 97.09 96.04 98.54 97.118 สขุ ภาวะทางกาย 93.12 91.24 92.77 92.09 94.45 93.78 สขุ ภาวะทางจิต 80.02 86.77 90.23 92.67 94.89 มีภูมคิ ุ้มกนั ตนเอง 84 97.5 96.55 96.09 98.05 98.54 คานงึ ถงึ ความเป็นธรรมตอ่ สงั คม 98 ทม่ี า : กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ,งานอนามัยโรงเรียน โรงเรียนนารีนุกูล , 2560
-23- 3. ด ด่น 3.1 ผ้เู รียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึนมีผลการประเมินระดับชาตแิ ละระดบั ทอ้ งถิน่ สูงขน้ึ ทุกกลุม่ สาระการเรียนรแู้ ละนกั เรยี นกลา้ แสดงออก รา่ เรงิ แจม่ ใส สขุ ภาพกายแข็งแรง และเป็นผู้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมตามที่สถานศกึ ษากาหนด 3.2 ผู้เรียนอ่านหนงั สอื ออกและอ่านคล่องรวมท้งั สามารถเขียนเพื่อการส่ือสารได้ทกุ คน สามารถ ใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความร้ไู ดด้ ้วยตนเองสง่ ผลให้ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นอย่ใู นระดบั ดีเย่ยี ม มคี ะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานระดับชาติ(O-NET) สูงกว่าระดับชาติทกุ รายวชิ า 3.3 ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรงมีสมรรถภาพทางกายและนาหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวนิ ยั จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา เปน็ ท่ียอมรับของชมุ ชนโดยรอบในเรอ่ื งความ มีวนิ ยั เคารพ กฎกตกิ า ระเบยี บของสงั คม 3.4 โรงเรียนส่งเสรมิ การใชภ้ าษาตา่ งประเทศท่ีสอง คือ ภาษาจนี ภาษาญ่ีปนุ ภาษาเวียตนาม และภาษาฝรง่ั เศส เพ่ือรองรบั ประชาคมอาเซียน 3.5 โรงเรยี นส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีชน้ั สงู โดยเฉพาะดา้ นเทคโนโลยี เพือ่ สร้างนวัตกรรม ใหม่ ๆ ในโรงเรยี น ทีเ่ ออื้ ต่อการศกึ ษาเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง โดยมีศูนย์ต่างๆใหน้ ักเรยี นไดศ้ กึ ษารวมทั้งระบบ อนิ เตอร์เน็ตในโรงเรยี น และในสงั คมภายนอก 3.6 โรงเรยี นจดั การศึกษาแบบมีส่วนรว่ ม ใชส้ ่ือเทคโนโลยีที่ทนั สมยั ในการจดั การ เรยี นการ สอนและบรหิ ารจัดการ มีเครอื ขา่ ยรว่ มกนั ในการนาโรงเรียนส่คู วามเปน็ เลิศด้านวชิ าการและดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 3.7 การดาเนนิ งานตามกิจกรรมและโครงการของโรงเรียนส่งผลใหผ้ ู้เรียนสว่ นใหญร่ จู้ ัก คิดวเิ คราะหส์ ังเคราะห์ มีเหตุผลในการเลือกตัดสินความนา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมลู มีความคิดสรา้ งสรรค์ และมีปฏิภาณดี 3.8 ผู้เรียนสว่ นใหญม่ ีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สนใจแสวงหาความรู้จากแหลง่ เรยี นรู้ รกั การเรยี นรูแ้ ละต้องการพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นคนใฝุรู้ใฝุเรยี นสามารถเรียนรรู้ ่วมกบั ผู้อ่นื ไดด้ ี 3.9 ผู้เรียนสามารถวางแผนการศกึ ษาต่อและอาชีพ เลือกคณะสาขาทีเ่ หมาะสมกับความถนัด ความสามารถของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม เปน็ ระบบ จากการให้ขอ้ มูลของครูแนะแนว วทิ ยากรจากภายนอก และจากขอ้ มลู สารสนเทศ มีแหลง่ เรยี นรู้ในห้องศูนย์แนะแนวโดยมีการจดั การเก็บรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบและมปี ระสิทธิภาพ 3.10 โรงเรยี นมีระบบบริหารจดั การแบบกระจายอานาจตามโครงสรางสายงาน มีระบบบรหิ าร จัดการคุณภาพ โดยยึดหลักการมสี วนรวมและหลักธรรมาภิบาล 3.11 ครมู คี วามรูความสามารถในการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นนผเู รียนเปนสาคัญ มุงม่ันพัฒนา ผเู รยี น เปนครมู ืออาชีพ มีการสร้างสอ่ื นวัตกรรม ส่ิงประดษิ ฐ เพ่ือนาไปใชในการจดั การเรียนการสอน 3.12 โรงเรียนมีการเปดิ หลักสตู รห้องเรียนพิเศษมากขึน้ เพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศของนักเรียน ท่มี ีความสามารถด้านคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
-24- 4. ด รพฒน 4.1 โรงเรยี นควรกาหนดกิจกรรมสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนมคี ุณธรรม จริยธรรมให้มากขึ้น เช่น ความมรี ะเบียบวินัยในการแตง่ กาย การตรงต่อเวลา 4.2 ควรสง่ เสรมิ นักเรยี นด้านจติ สานกึ และการใช้ข้อมูลอย่างรอบด้าน มีเหตุผลตามหลัก วิทยาศาสตร์ตรวจสอบขอ้ มลู เพอื่ การตดั สนิ ใจอยา่ งรอบคอบและใหร้ ู้จักใช้เทคโนโลยีในเชงิ สรา้ งสรรค์ เพ่ือพฒั นาตนเอง สังคม และสาธารณประโยชน์ต่อไป 4.3 จัดกจิ กรรมบรู ณาการเพื่อส่งเสรมิ และพฒั นาทักษะการคิด วิเคราะห์ ในทกุ กลุ่มสาระ การเรยี นรู้ 4.4 สงเสริมใหผูเรียนไดแลกเปล่ยี นเรยี นรู นาเสนอผลงานโครงงานวิจยั สิ่งประดษิ ฐ นวัตกรรมในเวทวี ิชาการตางๆ ทง้ั ภายในประเทศและตางประเทศเพิม่ มากขึ้น 4.5 สงเสริมนกั เรียนทม่ี ีศักยภาพพเิ ศษ ไปเขารวมการแขงขนั หรือประกวดในเวทีตางๆ ทั้งภายใน ประเทศและตางประเทศเพมิ่ มากข้นึ
-25- ม ตรฐ นท่ 2 ร บ น รบร รแล ร ด ร ผบ้ ร ร ถ น ร ดบ ณภ พ : ด ย่ยม 1. ร บ น รพฒน โรงเรียนดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาโดยใช้เทคนิค (SWOT) จากผลการจัด การศึกษาท่ีผ่านมาโดยการศึกษา ข้อมูล สารสนเทศโรงเรียน จากการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด การศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในโรงเรียนเพ่ือ ร่วมกันวางแผน กาหนดเปูาหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา คณุ ภาพผูเ้ รยี น มีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพ ปญั หา ความต้องการและนโยบายปฏริ ปู การศกึ ษา พรอ้ มทั้งจัดการทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมาย งานใหผ้ ูร้ บั ผิดชอบดาเนินการพฒั นาตามแผนงานเพ่อื ให้บรรลุเปูาหมายท่ีกาหนดไว้ มกี ารนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน และสรุปผลการดาเนนิ งาน ผบู้ รหิ ารมกี ารพฒั นาตนเองสมา่ เสมอเพอื่ สร้างองคค์ วามรู้ ความเขา้ ใจ และครอบคลุมการ บริหารจัดการท้ังด้านการบริหารวิชาการ การบริหารบุคคลและงบประมาณ ด้านการบริหารงานกิจการ นักเรียน และด้านการบริหารงานท่ัวไป โดยศึกษากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 29 อย่างเคร่งครัด บริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล (Governances) ยึดแนวทาง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) พัฒนาระบบการตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาโดยใช้วงจร คุณภาพของเดมม่ิง (PDCA) พัฒนาผลสัมฤทธ์ิตามหลักบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RBM) สร้างทีมงานท่ี เขม้ แข็ง (Team Work) โดยการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน (Stakeholder) ด้วยมิตรไมตรีท่ีดีต่อ รับฟังความ คิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยการประชุมช้ีแจงแนวปฏิบัติให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษา โดยคานึงถึง ประโยชน์ของผู้เรียนเป็นหลัก พัฒนาบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผลเต็มตามศักยภาพ และ โดยนาข้อมูลสารสนเทศที่จัดทาข้ึนมาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการทั้งด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร ด้านอาคารสถานท่ี และด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารเทศ ใหท้ ันสมัยให้สอดคล้องกับนโยบาย Thailand 4.0 2. ผล รด นน น 2.1 โรงเรียนกาหนดเปาู หมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกจิ สอดคลอ้ งกับสภาพปัจจุบนั ปญั หาสอดคล้อง กับ นโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา และแนวทางการปฏริ ูปตามแผนการศกึ ษาชาติ ความตอ้ งการของชมุ ชน และท้องถิน่ ที่ชัดเจน ส่งผลให้โรงเรยี นเปน็ โรงเรียนยอดนิยมทมี่ ีอัตราการแขง่ ขันสูงเป็นท่ไี ว้วางใจแก่ ผปู้ กครองและชุมชนในการสง่ บุตรหลานเขา้ มาศกึ ษาตอ่ ซง่ึ กระบวนการการกาหนดวสิ ยั ทศั น์ (VISION) พนั ธกิจ(MISSION) เปาู ประสงค์ (GOALS) และกลยทุ ธ์ (STRATEGY) ของสถานศึกษาโดยการมีสว่ นร่วมของ ผทู้ ี่มีสว่ นเก่ียวขอ้ งทกุ ภาคส่วน ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน คณะกรรมการสมาคม ครูและผูป้ กครองนกั เรยี น คณะกรรมการสมาคมศษิ ยเ์ ก่า (นารนี ุกูลสมาคม) คณะครู ตัวแทนนักเรียนโดย
-26- คณะกรรมการสภานกั เรยี น เขา้ รว่ มวิเคราะห์สภาพองค์กรโดยใชข้ ้อมลู สารสนเทศยอ้ นหลงั 3 ปี เป็นขอ้ มลู พนื้ ฐานเพ่อื ให้การวางเปาู หมายยุทธศาสตรใ์ นการพัฒนาสถานศกึ ษา 4 ปี 2.2 โรงเรียนมีแผนพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การศึกษา และ แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีทีม่ ี ความเหมาะสม และสอดคล้อง ดังนี้ 2.2.1 พฒั นาคณุ ภาพวิชาการทเ่ี น้นผูเ้ รยี นทุกกลมุ่ เป้าหมายดว้ ยจดั บริการหลักสตู รสถานศกึ ษา ท่หี ลากหลายผ้เู รยี นรายบุคคล ประกอบด้วย 1)หลกั สตู รหอ้ งเรยี นพเิ ศษ ประกอบดว้ ย 1.1) หลกั สตู รหอ้ งเรยี นพเิ ศษอจั ฉรยิ ภาพด้านคอมพวิ เตอร์ (Excellent Computer Programme : ECP) โดยบุคลากรในสถานศึกษาได้รว่ มกันพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา เนน้ จดุ เด่นดา้ นของ ผ้เู รยี น คอื ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ซึ่งสอดคลอ้ งยุคปัจจุบนั Thailand 4.0 เปิดทา การเรยี นการสอนในระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย 1.2) หลกั สตู รหอ้ งเรยี นพเิ ศษอจั ฉรยิ ภาพด้านคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ (Excellent Math and Science Programme : EMSP) โดยบุคลากรในสถานศึกษาได้รว่ มกนั พัฒนาหลกั สูตร สถานศึกษา เน้นจุดเด่นด้านของผ้เู รียน คือ ดา้ นคณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ เน้นการประกอบอาชพี ในยุค เทคโนโลยแี ละอาเซยี น เปดิ ทาการเรียนการสอนในระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย 1.3) หลกั สตู รหอ้ งเรยี นพเิ ศษสนกุ วทิ ย์ (Enjoy Science Programme : ESP) โดย บคุ ลากรในสถานศกึ ษาไดร้ ว่ มกันพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา เนน้ จุดเด่นดา้ นของผู้เรยี น คือ ดา้ นคณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ โดยความรว่ มมือกบั บริษทั เชพรอน จากดั และ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสรุ นิ ทร์ รว่ ม พฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนและกจิ กรรมเสริมหลกั สูตร เปิดทาการเรียนการสอนในระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1.4) หลกั สตู รหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนลยี ี และสง่ิ แวดลอ้ ม (Science Math Technology and Environment : SMTE) ร่วมกบั สานักงานสง่ เสรมิ การเรียนการสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี : สสวท.) ในการพฒั นาหลักสูตร การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และการจดั กิจกรรมเสริมหลกั สูตร เปิดทาการเรยี นการสอนในระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย 1.5) หลกั สตู รหอ้ งเรยี นพเิ ศษโปรแกรมนานาชาติ (International Programme by Cambridge School) ตามโครงการศนู ยก์ ลางการเรยี นการสอนในภมู ภิ าค (Education Hub) โดยความ ร่วมมอื ของสานกั งานมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (สมป.) โรงเรยี นนารีนกุ ลู และมหาวิทยาลยั เคมบรดิ ส์ (Cambridge University) ใหบ้ ริการและทาขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ในการบริการหลกั สูตรการดเรยี นการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร เปดิ ทาการเรียนการสอนในระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ และตอนปลาย (Year 8 – Year 13) 2)หลกั สตู รหอ้ งเรยี นปกติ ประกอบดว้ ย 2.1) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 2.1.1) แผนการเรียนคณติ ศาสตร์ – ภาษาอังกฤษ 2.1.2) แผนการเรยี นคณติ ศาสตร์ – ภาษาจนี 2.1.3) แผนการเรยี นคณิตศาสตร์ – ภาษาญปี่ ่นุ 2.2) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2.2.1) แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
-27- 2.2.2) คณติ ศาสตร์ – ภาษาองั กฤษ 2.2.3) ภาษาอังกฤษ – พลศกึ ษา 2.2.4) ภาษาอังกฤษ – ศลิ ปศึกษา 2.2.5) แผนการเรยี นภาษาองั กฤษ 2.2.6) แผนการเรยี นภาษาจนี 2.2.7) แผนการเรยี นภาษาญ่ีปุ่น 2.2.8) แผนการเรยี นภาษาฝร่ังเศส โดยมีการดาเนินงานในรูปของคณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรเป็นรูปธรรมชัดเจน ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารโรงเรยี น คณะกรรมการบริหารงานวิชาการ และคณะกรรมการบริหาร หอ้ งเรยี นพเิ ศษ ซ่งึ มีการประชุมเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนสม่าเสมอ และโรงเรียนทาบันทึก ข้อตกลงความร่วมมอื จากหน่วยงานการศกึ ษาระดบั มหาวิทยาลยั เ พ่อื ใหบ้ รกิ ารการจัดการศึกษาร่วมกัน และ ผลการดาเนินงานดูจาก 1) นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และ 6 ท่ีสาเร็จการศึกษาเปรียบเทียบ 3 ปี ยอ้ นหลงั 2) นกั เรยี นที่เขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั อดุ มศกึ ษาเปรยี บเทยี บ 3 ปียอ้ นหลัง 3) ความพงึ พอใจในการ จัดหลกั สูตรสถานศกึ ษาเปรียบเทยี บ 3 ปยี ้อนหลัง ประกอบดว้ ย 1. มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศองั กฤษ 2. มหาวิทยาลยั เฉนิ ตู ประเทศจนี 3. มลู นธิ เิ จแปนฟาวเดชั่น ประเทศญป่ี ุ่น 4. มลู นธิ กิ ารเรยี นการสอนภาษาฝรง่ั เศส ประเทศไทย 5. โครงการโรงเรียนพี่โรงเรยี นนอ้ ง ประเทศญี่ปุ่น 6. มหาวิทยาลยั หอการคา้ ประเทศไทย 7. มหาวิทยาลัยราชภฎั อบุ ลราชธานี ประเทศไทย 8. มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ประเทศไทย 9. มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี ประเทศไทย 2.3 การพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีความรู้ ความสามารถและทักษะ ตามมาตรฐานตาแหน่ง โรงเรยี นมีการจัดอบรมพฒั นาครโู ดยงานพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครู ปีละ 1 คร้ัง ตาม ความตอ้ งการ จาเป็น และนโยบายหน่วยงานตน้ สงั กัด ดังนี้ 2.3.1 ประชุมปฏิบัติการ “การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ : Personal Learning Community : PLC” มิถุนายน 2560 ปกี ารศกึ ษา 2560 2.3.2 ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ (Symposium) “การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วชิ าชีพ : Personal Learning Community : PLC” ปกี ารศึกษา 2560 ตลุ าคม 2560 2.3.3 ประชุมปฏิบัติการการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 กลุ่มสาระ คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยี การศึกษา 2560 มีนาคม 2561 2.3.4 การอบรมพฒั นาทห่ี น่วยงานตน้ สงั กดั จดั ประชมุ ตามภาระงาน 2.3.5 มีการนิเทศ กากับติดตามการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม นอกจากนโี้ รงเรยี นไดว้ างแผนการวดั และประเมนิ ผลทุกปกี ารศึกษา
-28- 2.4 บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้และ ดาเนนิ การอยา่ งเป็นระบบ โรงเรียนไดจ้ ดั ทาสารสนเทศทเี ป็นระบบ ครบถว้ นโดยงานแผนงานและสารสนเทศ ได้จัดทาสารสนเทศระดับสถานศกึ ษาจากการรวบรวมข้อมูลดบิ และจัดกระทาข้อมลู อย่างเปน็ ระบบ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ดีและให้ผู้เรียนใฝุเรียนรู้ทั่วถึงทุกกลุ่มเปูาหมาย โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมในช้ันเรียนและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนการสอน ประกอบด้วย การตดิ ตง้ั อปุ กรณภ์ ายในห้องเรยี นด้วยเครอื่ งฉายภาพขา้ มศรีษะ (Projector) เครอ่ื งฉายแผ่นทึบแสง (Visual) ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ (Computer Room) ระบบอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wifi) และแบบมีสาย (Lan) ท่ีช่วยในการจัดการเรียนการสอน การจัดบรรยากาศส่ิงแวดล้อมท่ีปลอดภัย ร่มรื่น สวยงามเพ่ือเอ้ือต่อการ เรียนการสอนของทุกรายวิชา 3. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝุายมีส่วนร่วม และมีเครือข่ายความร่วมมือในการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัด การศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมความร่วมมือ (Participation) และสร้างเครือข่าย (Network) ในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนโดยมีการประชุมปรึกษาหารือในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง ประกอบดว้ ย 3.1 คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐานโรงเรียนนารีนกูล 3.2 สมาคมผปู้ กครองและครูโรงเรียนนารีนกลู 3.3 นารีนกุ ูลสมาคม (สมาคมศษิ ย์เก่า) 3.4 คณะกรรมการบริหารโรงเรียนนารนี ุกลู 3.5 มูลนิธิชว่ ยเหลือนกั เรียนโรงเรียนนารนี กุ ูล 3.6 คณะกรรมการบริหารวชิ าการ นอกจากนโี้ รงเรยี นได้ขอความรว่ มมอื จากองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน มาช่วยในการจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาผเู้ รียน ดงั นี้ 1. มหาวทิ ยาลยั เคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ บรกิ ารดา้ นเอกสารหลักสตู รการเรยี นการสอน ของโครงการนานาชาติ (International Programme) ตามโครงการศูนยก์ ลางการศกึ ษาภมู ิภาค (Education Hub) 2. มหาวทิ ยาลัยเฉินตู ประเทศจนี ส่งครสู อนภาษาจีนท่เี ป็นของภาษามาจัดการเรียนการสอน 3. มลู นิธิเจแปนฟาวเดชนั่ (Japan Foundation) ประเทศไทยและประเทศญ่ีปนุ่ ส่งครูผู้สอน มาชว่ ยสอนภาษาญี่ปุ่นตามโครงการความร่วมมือประเทศไทยและประเทศญ่ีปุ่น (Nihongko Partner) และ จัดอบรมพฒั นาครูผสู้ อนชาวไทย และนักเรยี นในการไปศึกษาทีป่ ระเทศญีป่ ุ่น 1 สัปดาห์ 4. มลู นิธกิ ารเรียนการสอนภาษาฝร่ังเศส ประเทศไทย 5. โครงการโรงเรียนพ่โี รงเรียนน้อง ประเทศญป่ี ุ่น 6. มหาวิทยาลยั หอการคา้ ประเทศไทย 7. มหาวิทยาลยั ราชภัฎอบุ ลราชธานี ประเทศไทย 8. มหาวิทยาลัยราชภัฎสรุ ินทร์ ประเทศไทย 9. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประเทศไทย 10. โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ์
-29- 4. สถานศึกษากากับติดตามและประเมินผลการบรหิ ารและการจดั การศึกษาอย่างเหมาะสม ชัดเจน และเปิดโอกาสให้ผู้เกยี่ วขอ้ งมีส่วนร่วม โรงเรียนมกี ารดาเนนิ การดงั น้ี 4.1 โรงเรยี นมีการแต่งต้งั คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนเพ่ือเปน็ การประสานภาระงาน กากับ ติดตามการดาเนินงานโดยมกี ารประชมุ ปรึกษาหารอื เดือนละหนงึ่ คร้ังเปน็ อย่างนอ้ ย 4.2 ส้นิ ปีการศึกษาโรงเรยี นไดแ้ ต่งตั้งคณะกรรมการประเมนิ ผลการบริหารจดั การสถานศกึ ษาตาม แนวทางการประกันคณุ ภาพการศึกษาทกุ ปีการศึกษาโดยเปดิ โอกาสให้ผ้เู กย่ี วข้องมสี ่วนร่วมมีส่วนรว่ มในการ ประเมนิ ผล ประกอบด้วย การประชมุ ผปู้ กครองชั้นเรียนภาคเรียนละ 1 ครง้ั การประชมุ คณะกรรมการ สมาคมผปู้ กครองและนักเรยี น การประชมุ คณะกรรมการนารีนุกูลสมาคม (สมาคมศษิ ย์เกา่ นารีนกุ ลู ) 4.3 โรงเรียนมีการนิเทศการจัดการเรยี นการสอนและนเิ ทศการการปฏิบตั ิงานให้เกิดคุณภาพอยา่ ง ต่อเนื่องภาคเรียนละ 1 ครั้ง นอกจากนี้โรงเรยี นไดน้ ากระบวนการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) ท้งั น้ี มีผลการพฒั นาเชงิ ประจกั ษ์ในดา้ นตา่ งๆ ดังน้ี ธ รพฒน ผล รพฒน 1.การมีเปาู หมาย โรงเรยี นมีการจัดประชมุ ระดมความคดิ เหน็ จากบุคลากรในโรงเรยี นเพ่ือร่วมกัน วิสยั ทศั น์ และพนั ธกิจ วางแผน กาหนดวสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ และเปาู หมาย และมแี ผนพัฒนาคุณภาพ ที่สถานศกึ ษากาหนด การศกึ ษา (4 ป)ี และผา่ นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา ชดั เจน (ร ดบด ย่ยม) โรงเรียนมแี ผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา (4 ป)ี แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2.การวางแผนพัฒนา การศกึ ษา สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาผเู้ รยี นทกุ กลมุ่ เปาู หมาย มกี ารพัฒนาครูและ คณุ ภาพการจดั บุคลากรทางการศกึ ษาให้มีความรคู้ วามเชยี่ วชาญ ตามมาตรฐานตาแหน่ง ขอ้ มูล การศกึ ษาของ สารสนเทศมคี วามถูกต้อง ครบถว้ น ทันสมยั นาไปประยกุ ต์ใช้ได้ ดาเนินการ สถานศกึ ษา อยา่ งเป็นระบบ และมีกจิ กรรมจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ี กระต้นุ ผู้เรยี นให้ใฝุเรยี นรู้ 2.1 การวางแผน และการดาเนนิ งาน พฒั นาวชิ าการที่เน้น คุณภาพของผู้เรยี นรอบ ดา้ น ทุกกลุ่มเปาู หมาย และ ดาเนนิ การอยา่ งเป็น รูปธรรม (ร ดบด ยย่ ม)
-30- ธ รพฒน ผล รพฒน 2.2 การวางแผนและ ดาเนินงานพัฒนาครู น น ่ ม ท่ รไดร้ บ ร บรมพฒน ท พต่ ป และบุคลากรใหม้ คี วาม เชยี่ วชาญ 0% จานวนช่วั โมงที่ครไู ด้รับการ ทางวิชา 20% อบรมพฒั นาทางวชิ าชีพต่อปี (ร ดบด ยย่ ม) ต่ากวา่ 20 ชัว่ โมง 20-30 ชัว่ โมง 80% 2.3 การวางแผนการ ทีม่ า : งานบรหิ ารบคุ คล โรงเรยี นนารนี ุกลู , 2560 รใ ้ บริหารและการจดั การ แผนภมแ ด ร้ ยล รท่ม มร้แล ท รใ ภ้ ฤ แล ท ขอ้ มลู สารสนเทศอย่าง เป็นระบบ ท น ลย ร น ท แล ร ่ ร (ICT) (ร ดบด ยย่ ม) 102 100 100 100 2.4 การวางแผนและจดั 100 สภาพแวดล้อมทาง กายภาพและสังคม 98 95.75 95.87 ที่เอื้อต่อการจดั การ 91.33 95.87 96.65 เรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ 96 94.53 ้รอยละ คา่ เป้าหมาย (ร ดบด ย่ยม) 94 ทกั ษะด้านภาษาองั กฤษ 92 90 ทกั ษะด้านการใช้เทคโนโลยี 88 86 2558 2559 2560 ทีม่ า : งานสารสนเทศ โรงเรียนนารนี ุกลู , 2560 แผนภมแ ด ร ดบ มพ พ ใ ต่ ร ดบร ร ทธปร ย นแ์ ล บรรย ใน รท น 5.1 5 4.9 4.8 4.7 4.6 2558 2559 2560 ธ รพฒน คา่ เปาู หมาย ความพึงพอใจในการทางาน ความพงึ พอใจตอ่ การจัดการสทิ ธปิ ระโยชน์ ทีม่ า : กลุ่มบรหิ ารทวั่ ไป โรงเรียนนารีนุกูล , 2560 ผล รพฒน
-31- 3. การมีสว่ นร่วมของผมู้ ี รม ่ นร่ มใน ร ้ ปร ม ผ้ม ่ น ่ย ้ ท ฝ่ ย ส่วนเก่ียวข้องทุกฝุาย และรว่ มรับผดิ ชอบตอ่ สหวทิ ยาเขต2 : 2 ครงั้ ร.ร.มหดิ ลฯ :2 ครัง้ การจดั การศึกษาให้ได้ คุณภาพและได้ สพม.29 : 2 ครัง้ สมาคม มาตรฐาน ผ้ปู กครองฯ คณะกรรมการ (ร ดบด ย่ยม) สถานศกึ ษา : 4 ครัง้ : 2 ครัง้ มูลนธิ ิชว่ ยเหลอื นกั เรียนฯ : 2 ครัง้ นารีนกุ ูลสมาคม : 2 ครัง้ การจดั หาทรพั ยากร ทีม่ า : กลุ่มบรหิ ารทวั่ ไป โรงเรียนนารนี ุกูล , 2560 ผู้บรหิ ารได้ระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษาสาหรบั การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ในสถานศกึ ษาทงั้ ในรูปของงบประมาณ และบุคคลทีเ่ ป็น ภูมปิ ญั ญาจากท้องถน่ิ มาชว่ ยในการสนับสนุนการเรียนการสอน ธ รพฒน ผล รพฒน 4. การกากบั ติดตาม และประเมนิ ผลการ ร้อยละของครูทีไ่ ด้รบั การนเิ ทศ กากบั ติดตามและประเมนิ ผลจากผ้บู ริหาร บรหิ ารและการจัด การศกึ ษา 15, 7% (ร ดบด ยย่ ม) 101, 50% 86, 43% 1 คร้ัง/ภาคเรียน 2 ครง้ั /ภาคเรียน มากกวา่ 2 คร้ัง/ภาคเรียน ท่ีมา : งานนเิ ทศการศกึ ษา โรงเรยี นนารีนกุ ูล , 2560 3. ด ด่น
-32- 3.1 ผูบ้ ริหารมภี าวะผนู้ า มวี สิ ัยทัศน์ และเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติงาน ให้กับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานศึกษาจากทุกภาคส่วน ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและนักเรียน คณะกรรมการนารนี กุ ลู สมาคม (สมาคมศิษยเ์ ก่านารนี กุ ูล) และคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น 3.2 การบริหารจัดการโดยนาหลักการบริหารคุณภาพ ของเดมม่ิง (Deming Cycle) PDCA มาใช้ใน การบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาทั่วท้ังองค์กร โดยการกากับ ติดตามการใช้งบประมาณตามแผนปฏิบัติ การประจาปี และมีความยืดหยุ่นในการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อสอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด งานประจาของสถานศกึ ษา และ งานโครงการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอน 3.3 มีการนิเทศ กากับติดตามการปฏิบัติงาน และการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากท่ีสุด โดยงานวัดผลและประเมินผลได้มีการรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกปีการศึกษา และรายงานผลการประเมินตนเองรายบคุ คลของครู (Individual Development Report : IDR) ให้สอดคลอ้ ง กับแผนพฒั นาตนเอง (ID Plan) 3.4 โรงเรยี นนานโยบายหน่วยงานตน้ สงั กัดมาใชใ้ นการพฒั นากระบวนการเรียนการสอน ดังน้ี 3.4.1 การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) 3.4.2 การนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ของครแู ละ ผู้เรียนอยู่ 3.4.3 สง่ เสรมิ ให้ครูผู้สอนพัฒนาผเู้ รียนโดยใช้กระบวนการวจิ ัยในช้นั เรียน (CAR) 3.4.3 การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกบั หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2561 3.4.4 มีการส่งเสรมิ การการนาเทคโนโลยี และส่ือการเรยี นการสอนที่ทันสมัย มาใชใ้ นการจดั การเรยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 3.5 ครผู ูส้ อนมีความรู้ ความสามารถตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน และจัดการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผ้เู รยี น เป็นสาคญั มกี ารวัดผลและประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายตามสภาพจรงิ ตามรายงานการวเิ คราะห์ผูเ้ รยี น รายบคุ คลเพ่อื พฒั นาผู้เรียนตามศกั ยภาพรายบุคคล 3.6 มกี ารเปิดโครงการห้องเรียนพเิ ศษทห่ี ลากหลายตามความต้องการของผู้เรยี น ผปู้ กครอง และ ชมุ ชนเพอ่ื เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นได้เลือกเรยี นตามความถนัดและความสนใจ 4. ด รพฒน 4.1 สง่ เสรมิ การให้ความรแู้ ก้ผ้เู รยี นและผปู้ กครองใหเ้ หน็ ความสาคญั ของการเรยี นสายอาชีพและ ตรงตามความถนดั ของผู้เรยี น 4.2 สง่ เสรมิ ให้ครูทีร่ ับผิดชอบโครงการได้ปฏบิ ตั ิตามแผนปฏบิ ตั ิการทวี่ างไว้ และให้รายงานผล การปฏบิ ตั ิงานเม่อื ส้ินสดุ โครงการทกุ โครงการ
-33- ด ด่น ด รพฒน ด้ น ร บ น รบร รแล ร ด ร ด้ น ร บ น รบร รแล ร ด ร ผ้บร ร ถ น ผบ้ ร ร ถ น 1. มกี ารกาหนดวิสัยทศั น์ พนั ธกจิ และเปา้ หมาย 1. สง่ เสรมิ การให้ความรแู้ ก้ผู้เรยี นและผู้ปกครองให้ สอดคลอ้ งกับสภาพปัจจุบนั ปญั หาสอดคล้องกับนโยบาย เหน็ ความสาคญั ของการเรียนสายอาชพี และตรงตาม การปฏริ ูปการศึกษา และแนวทางการปฏริ ูปตาม ความถนดั ของผเู้ รียน แผนการศึกษาชาติ ความตอ้ งการของชุมชน และทอ้ งถน่ิ 2. ส่งเสรมิ ใหค้ รูทรี่ บั ผิดชอบโครงการไดป้ ฏบิ ัติ ท่ีชดั เจน โดยการมสี ว่ นรว่ มของ ผทู้ ่มี ีส่วนเกย่ี วขอ้ งทุก ตามแผนปฏบิ ัติการ และให้รายงานผลการ ภาคสว่ น ปฏิบัตงิ านเม่อื สิ้นสุดโครงการทุกโครงการ 2. จดั หลกั สูตรสถานศึกษาท่ีมีความหลากหลายสนอง ความต้องการของผูเ้ รียน สังคม ชุมชน และทนั ต่อ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 3. ส่งเสริมความร่วมมือของทกุ ภาคส่วนเข้ามามีส่วนรว่ ม ในการจัดการศกึ ษาท้งั องคก์ ร ภาครฐั และภาคเอกชน ประกอบดว้ ย คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน คณะกรรมการ สมาคมผปู้ กครองและครู คณะกรรมการนารนี กุ ูลสมาคม และคณะกรรมการมลู นธิ ชิ ่วยเหลือนักเรยี น และแต่ละ องคก์ รมกี ารประชมุ หารือเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาอย่าง ต่อเนือ่ งและเข้มแข็ง 4. โรงเรียนสง่ เสริมความรว่ มมือจากภาครฐั แลเอกสาร กบั หนว่ ยงานการศึกษาเพ่ือสนับสนุนการจดั การเรยี นการ สอน และวัสดุอปุ กรณ์เพื่อจดั การเรียนการสอน 5. ส่งเสริมพัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญ ทางวิชาชีพ มีความรู้ ความสามารถและทักษะตาม มาตรฐาน 6. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่ดีและให้ ผู้เรียนใฝุเรียนรู้ในช้นั เรยี นและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อต่อ การเรยี นการสอน เทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นการสอน และระบบอนิ เทอร์เนต็ แบบไร้สาย (WiFi) และแบบมสี าย (LAN : Local Area Network) และการจัดบรรยากาศ ส่งิ แวดล้อมท่ปี ลอดภัย รม่ ร่ืน สวยงาม 7. ผู้เกยี่ วขอ้ งทุกฝาุ ยมีสว่ นร่วม และมเี ครอื ขา่ ยความ รว่ มมือในการรว่ มรับผดิ ชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มี คุณภาพและได้มาตรฐาน โรงเรียนสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื
-34- ม ตรฐ นท่ 3 ร บ น ร ด ร รยน ร นท่ น้นผ้ รยน ปน็ ญ ร ดบ ณภ พ : ด ย่ยม 1. ร บ น รพฒน โรงเรียนไดด้ าเนนิ การสง่ เสรมิ ใหค้ รจู ดั การเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนนิ งานอย่างหลากหลายโดยมกี ารพัฒนาหลักสูตรสาหรบั หอ้ งเรียนปกติและหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละคอมพิวเตอร์ สง่ เสรมิ ผ้เู รียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจ แกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมีสตสิ มเหตสุ มผล โรงเรียนมีการพฒั นานักเรยี นให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานของโรงเรยี นและมี ศกั ยภาพส่คู วาม เปน็ เลิศตามมาตรฐานสากล ครูใชส้ ือ่ การเรยี นการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญา ท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนท่ีใช้ ครูทุกคนทางานวิจัยในช้ันเรียนเรื่อง สง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีทักษะในการ แสวงหาความรู้ทัง้ ภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียนตลอดจนแหล่งเรียนรู้ จากหองสมุด แหลงเรียนรูและสื่อตางๆ เพ่ือให้ทันต่อข่าวสารและข้อมูลใหม่ๆจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ใหน้ ักเรียนลงมือปฏบิ ตั จิ ริง เชน่ การทาโครงงาน วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย สงั คมศกึ ษา และการงานอาชีพและ เทคโนโลยี จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) ทาให้ ผ้เู รยี นได้พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ไดค้ น้ พบองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง จัดทาคลังข้อสอบเพื่อให้บริการ ฝึกทบทวน จัดติวทบทวนเสริมศักยภาพ โดยเพ่ิมเติมและเสริมประสบการณ์ด้านวิชาการให้กับนักเรียน นอกจากน้ี ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระได้จัดการเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ เช่น การทาโครงงานวิชาการ โครงงาน อาชีพ การจดั การเรียนร้แู บบเน้นกระบวนการคิดการแก้ปัญหา การสอนแบบสืบสวนสอบสวน การสอนแบบ โครงงาน โรงเรียนได้ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ โดยครูผู้สอนและโรงเรียนได้จัดกิจกรรมในหลักสูตรและนอกหลักสูตรโดยบูรณาการในรายวิชาต่าง ๆ จัดทา โครงการส่งเสริมพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม สาหรับนักเรียนทุกระดับช้ันอย่างต่อเน่ือง ได้แก่ โครงการ โครงการคา่ ยคุณธรรมแสะจริยธรรม โครงการคุณธรรมนาสังคมห่างไกลยาเสพติด โครงการส่งเสริมมารยาท งาม กจิ กรรมเนือ่ งในวันสาคัญทางศาสนาและพระมหากษัตริย์ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย โครงการค่าย สภานารีรักท้องถนิ่ รักประชาธิปไตย หัวใจสมานฉันท์ โครงการห้องเรยี นสีขาว โครงการปลูกจิตอาสาเดินตาม รอยพระยคุ ลบาท ฯลฯ นอกจากน้ยี ังไดร้ บั ความร่วมมือจากครูที่ปรึกษาดูแลนักเรียนตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน มีเครือข่ายผู้ปกครองทุกระดับชั้นและชุมชนได้จัดกิจกรรม ตลอดจนให้ความร่วมมือ สนับสนุน โรงเรยี นในทุกดา้ น เพอื่ พฒั นา ผูเ้ รียนใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มทพี่ งึ ประสงค์ตามหลักสตู ร 2. ผล รด นน น 2.1 การมกี ระบวนการเรียนการสอนทีส่ ร้างโอกาสใหผ้ เู้ รียนทกุ คนมีสว่ นร่วม ดาเนนิ งานโดยจดั การเรยี นการสอนและจัดกจิ กรรมต่างๆ เช่น โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย สังคมศกึ ษา และการงานอาชีพ
-35- จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนวชิ าการศกึ ษา คน้ ควา้ ด้วยตนเอง (Independent Study) ทาให้ผู้เรียนได้พัฒนา รปู แบบการเรียนรไู้ ดค้ น้ พบองค์ความร้ดู ้วยตนเอง จัดทาคลังขอ้ สอบเพ่ือให้บรกิ าร ฝึกทบทวน 2.2 โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถ่ิน ดาเนินงานโดย จัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการรักการอ่าน โครงการผลิตภาพยนตร์สั้นคุณธรรม จริยธรรม โครงการห้องเรียนสีเขียว โครงการห้องเรียนสีขาว โครงการนานักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้สถาน ประกอบการในท้องถ่ิน โครงการปลกู จติ อาสาเดินตามรอยพระยุคลบาทโครงการจัดกิจกรรมเพ่ืออนุรักษ์และ พัฒนาส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน โครงการค่ายคุณธรรมและจริยธรรม โครงการสภานารีรักท้องถิ่นรัก ประชาธิปไตยโดยหัวใจสมานฉันท์ จัดเวทีส่งเสริมศักยภาพนักเรียน จัดค่ายส่งเสริมด้านวิชาการ นานักเรียนไปทัศนศึกษานอกสถานท่ี บูรณาการเข้าในแผนการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดทา โครงการหรอื กิจกรรมทเ่ี ป็นการส่งเสริมสนับสนุนการทางานรว่ มกัน ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนได้มกี ารทางานเป็นทีม โดยกาหนดกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรหรือแผนการจัดการเรียนการสอน มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ท่หี ลากหลายเพ่อื ผู้เรยี นมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ และมีเจตคติท่ีดี ต่ออาชีพสจุ ริต 2.3 การตรวจสอบและประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจของผูเ้ รยี นอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ดาเนินงานโดย มีการจัดทาวิจัยในชั้นเรียนของครูทุกคน มีการวัดผล ประเมินผลที่หลากหลาย ส่งผลให้ นักเรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนดีขึ้น และมีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) สงู กวา่ ระดบั ชาติ ทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ ร บ น รพฒน ผล รพฒน 3.1 การมีกระบวนการ เรียนการสอนท่ีสรา้ ง มพ พ ใ ใน ร ด ร รยน ร น ร โอกาสให้ผู้เรยี นทุกคน มสี ่วนรว่ ม 75, 10% - โครงการผลิตส่ือ นวตั กรรม 158, 20% (ร ดบด ยย่ ม) 544, 70% ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง ท่มี า : งานสารสนเทศ โรงเรียนนารนี ุกูล , 2560
ร บ น รพฒน -36- 3.2 การจัดการเรยี น การสอนทย่ี ึดโยงกับ ผล รพฒน บริบทของชุมชนและ ทอ้ งถ่นิ มพ พ ใ น รยนใน รไปท น น ถ นท่ - โครงการ 965 ทศั นศกึ ษานอก 1000 สถานท่ี (ร ดบด ย่ยม) 500 112 3 0 3.3 การตรวจสอบและ ประเมินความรคู้ วาม ดีมาก ดี พอใช้ เข้าใจของผูเ้ รียนอยา่ ง ทมี่ า : งานกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน โรงเรยี นนารนี กุ ลู , 2560 เปน็ ระบบ และมี มพ พ ใ น รยนใน ร ้ ร่ ม รรม ร รยนรแ้ บบ ร น ประสทิ ธิภาพ (ร ดบด ย่ยม) 600 468 400 - กจิ กรรมการ จัดการเรียนรูด้ ้วย 130 โครงงาน 200 32 - นักเรยี นสามารถใช้ เทคโนโลยใี นการ 0 เรียนรู้ และนาเสนอ ผลงาน ดมี าก ดี พอใช้ ทมี่ า : งาน IS โรงเรียนนารนี ุกลู , 2560 น รยน ม รถใ ้ ท น ลยใน ร รยนร้ แล น น ผล น 500 438 400 300 156 200 36 100 0 ดมี าก ดี พอใช้ ทมี่ า : งานสารสนเทศ โรงเรียนนารนี กุ ลู , 2560
-37- 3. ด ด่น 3.1 ครูพัฒนาตนเองอยเู่ สมอ มคี วามตั้งใจมุ่งม่ันในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่อย่างเตม็ เวลาและ ความสามารถ 3.2 ครูจดั กิจกรรมใหน้ ักเรียนแสวงหาความรู้จากสือ่ เทคโนโลยดี ้วยตนเองอย่างตอ่ เน่ือง 3.3 ครใู หน้ ักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ 3.4 ครจู ัดกิจกรรมให้นกั เรียนเรียนร้จู ากการคดิ และปฏบิ ัติจริงดว้ ยวธิ ีการจากแหล่งเรียนรู้ ท่ีหลากหลาย 3.5 ครมู ีงานวจิ ัยในชน้ั เรยี นและนาผลงานวจิ ยั ในชั้นเรียนมาใชใ้ นการแกป้ ัญหาและวางแผน จดั การเรยี นการสอน 3.6. โรงเรียนจัดการศกึ ษาแบบมสี ่วนร่วม ใช้ส่อื เทคโนโลยีที่ทันสมยั ในการจดั การ เรียนการสอนและบรหิ ารจัดการ มีเครือข่ายร่วมกันในการนาโรงเรียนส่คู วามเปน็ เลิศดา้ นวิชาการและด้าน คณุ ธรรม จริยธรรม 3.7 โรงเรยี นมกี ารจัดหลักสตู รสถานศกึ ษาและกระบวนการเรียนรูท้ เ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ นักเรยี นจัดตง้ั กจิ กรรมชมุ นุมตามความสนใจ จัดทาโครงงานท่สี ่งเสรมิ การคดิ วิเคราะหโ์ ดยมีครูให้คาแนะนา และอานวยความสะดวก มีระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นท่ี คอยให้คาแนะนา ดแู ล ชว่ ยเหลอื นักเรยี นทีม่ ปี ัญหา และสง่ เสริมนักเรยี นทีม่ ีศกั ยภาพทางการเรียน 3.8 ครจู ัดกจิ กรรมเน้นให้ผ้เู รียนได้มคี วาม สามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์อย่าง หลากหลาย และ ใชแ้ หล่งเรยี นรูใ้ นการพัฒนาตนเอง 3.9 ครูจดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน กิจกรรมชมุ นุม การเรียนการสอนวิชา IS ให้สามารถนาเสนอ อภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรอู้ ย่างสมเหตุสมผล และมที ักษะในการแก้ปญั หาตามสถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสม 4. ด รพฒน 4. 1 ครคู วรให้ผูเ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการออกแบบการวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ 4.2 ครคู วรนาภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ใหเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมให้นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้ 4.3 ควรใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั แก่นักเรียนทนั ทีเพ่อื นกั เรียนนาไปใชพ้ ัฒนาตนเอง
-38- ม ตรฐ นท่ 4 ร บบ รปร น ณภ พภ ยในทม่ ปร ทธผล ร ดบ ณภ พ : ด ยย่ ม 1. ร บ น รพฒน โรงเรียนดาเนินการพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาโดยดาเนินการ ประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา 8 ประการ ได้แก่ 1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 2) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาม่งุ เนน้ คุณภาพตามมาตรฐาน 3) จดั การและบริหารขอ้ มลู สารสนเทศอยา่ งเป็นระบบโดยใช้เทคโนโลยีช่วยในการเก็บขอ้ มูล วเิ คราะหข์ อ้ มลู เป็นสารสนเทศทีเ่ ปน็ ปะโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี น 4) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 5) ดาเนินการตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6) ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา 7) จัดทารายงานประจาปีทเ่ี สนอผลการประเมนิ คุณภาพภายใน 8) โรงเรียนดาเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยจัดประชุมคณะครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา นาเสนอผลการดาเนินงานตามรายงานประจาปีของสถานศึกษาในปีการศึกษา 2559 ท่ผี า่ นมา วเิ คราะหผ์ ลการประเมินคุณภาพภายในจากรายงานประจาปี ของปีการศกึ ษา 2559 วิเคราะห์ จดุ เด่น จุดท่ีควรพฒั นา เพื่อจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2560 ตามจุดท่ีควรพัฒนา ประกอบด้วย โครงการ กิจกรรมที่จะพัฒนาคณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา โดยเน้นท่ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จัดทาโครงการ ประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา มกี จิ กรรมใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจแนวทางการดาเนินงานประกันคุณภาพ ภายในให้ครู บุคลากรทุกฝาุ ยท่เี กีย่ วข้องในโรงเรียน เพ่ือให้คณะครู บุคลากรทุกฝุายที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความ เข้าใจการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน แต่งต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาให้ปฏิบัติหน้าท่ีติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนละ 1 ครั้ง จัดทาเครื่องมือให้ นักเรียน ประเมินตนเองในการเรียนรู้ ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเองที่วางไว้ คณะกรรมการประกันคุณภาพของโรงเรียนประเมินการดาเนินงานตามมาตรฐานและสรุปผลการดาเนินงาน เพื่อพัฒนาปรับปรุงตลอดปีการศึกษา ติดตามการประเมินโครงการและกิจกรรมสรุปผลการดาเนินงาน ปรับปรุงการทางานอย่างมีส่วนร่วมของทุกฝุาย โรงเรียนจัดทาแบบสารวจความพึงพอใจและประเมินผล การดาเนินงานของโรงเรยี นจากนักเรียนและผปู้ กครอง ชุมชน 2. ผล รด นน น 2.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรยี นดาเนนิ การศกึ ษา วเิ คราะห์ มาตรฐาน ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ป ร ะ เ ด็ น พิ จ า ร ณ า เ พ่ื อ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ต า ม ป ร ะ ก า ศ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอยา่ งครบถ้วน กาหนดผรู้ ับผิดชอบ และเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝุายมีส่วนร่วม ในทุกกระบวนการอย่างชัดเจน มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและประเด็นพิจารณาเพื่อการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ที่ประกาศใช้เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2559
-39- เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝุาย มีส่วนร่วมในการกาหนดจุดเน้น จุดเด่น จุดควรพัฒนา มีการกาหนด ค่าเปูาหมายความสาเร็จของทุกมาตรฐานและประเด็นพิจารณาอย่างเหมาะสม โดยได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จัดทาประกาศค่าเปูาหมายแต่ละมาตรฐานและประเด็นพิจารณาเพ่ือ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องท้ังภายในและภายนอก สถานศกึ ษาไดร้ ับทราบด้วยวธิ ีการหลากหลายมีผลการดาเนินงานอยใู่ น ร ดบ ด ยย่ ม 2.2 การจดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่ีมงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ของสถานศึกษา โรงเรียนดาเนินการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการจาเป็นของสถานศึกษา อย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคนิควิธีที่หลากหลาย ได้ข้อมูลสารสนเทศท่ีถูกต้อง ครบถ้วนและทันสมัย ท้ังจาก แหลง่ ข้อมลู เอกสาร และ ผู้มีส่วนเก่ยี วขอ้ งทุกฝุาย โรงเรยี นได้กาหนดวิสัยทัศน์ พนั ธกจิ และเปูาหมายดา้ นตา่ ง ๆ โดยใชข้ อ้ มูลสารสนเทศ ของสถานศึกษาท่ีถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีสะท้อนคุณภาพ ความสาเร็จอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยทุกฝุายมีส่วนร่วมกาหนดวิธีการดาเนินงาน ทุกกิจกรรม โครงการทสี่ อดคล้องกับทุกมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการวิจัยหรือผลการวิจัยหรือ ข้อมูลที่อ้างอิงได้ ให้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้กระบวนการ เรยี นรู้ การส่งเสรมิ การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพฒั นาบคุ ลากร และการบริหารจัดการ เพื่อให้บรรลุ เปาู หมายตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ มกี ารสารวจแหล่งเรียนรู้ท้งั ภายใน ภายนอกสถานศึกษา และภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ จดั ทาขอ้ มูล และสารสนเทศอย่างเป็นระบบ นามาใช้ในการวางแผนเพ่ือเตรียมการ และใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษา ให้กบั ผู้เรียน มกี ารกาหนดบทบาทหนา้ ท่ีอย่างชัดเจน ครอบคลมุ โครงสรา้ งการบริหารงาน และกากบั ติดตาม ครู บุคลากรและนักเรียนให้ปฏิบัติตาม ระเบียบ กฎหมาย และแนวปฏิบัติของสถานศึกษา มีการ ดาเนนิ งานบรรลตุ ามวัตถุประสงค์และเป็นไปตามปฏิทินท่ีกาหนด ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า และผู้เกี่ยวข้อง ทกุ ฝุายมีความพงึ พอใจ มีการกาหนดบทบาทหน้าท่ีพร้อมแนวทางในการมสี ่วนร่วมของบิดา มารดา ผปู้ กครอง องค์กร หน่วยงาน ชุมชนและท้องถ่นิ ในการบรหิ ารจัดการศึกษาทั้งดา้ นวชิ าการ ด้านงบประมาณ ด้านการ บรหิ ารงานบคุ คล และดา้ นการบรหิ ารทวั่ ไปอยา่ งชัดเจน มกี ารกาหนดการใช้งบประมาณ บุคลากร วสั ดุอปุ กรณ์ เครือ่ งมือ และเวลาอย่างประหยดั และคุม้ คา่ ให้บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์และเปูาหมายของทกุ โครงการและกิจกรรมอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เสนอแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานให้ความเห็นชอบ และรบั รู้ร่วมกันอยา่ งกวา้ งขวาง อย่างมรี ะบบ และแจง้ ใหห้ น่วยงานต้นสังกดั รบั ทราบ มีการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีทส่ี อดคล้องกบั แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของ สถานศึกษาโดยทุกโครงการ กิจกรรมครอบคลุมตามภารกิจในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา พร้อมทั้งปรับ กิจกรรม ให้สอดคลอ้ งกับนโยบายทสี่ าคญั และความตอ้ งการจาเป็นของสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานต้นสังกัด
-40- มกี ารกาหนดผู้รับผิดชอบ ปฏิทิน และแผนกากบั ตดิ ตามการดาเนนิ งานของแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปี ชัดเจนครบถว้ นในทุกโครงการ กจิ กรรม โดยทุกฝุายมีสว่ นรว่ ม เสนอแผนปฏิบัติการประจาปีต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานใหค้ วามเห็นชอบ และ รบั รู้รว่ มกันอย่างกวา้ งขวาง อยา่ งมีระบบ และแจ้งให้หนว่ ยงานต้นสงั กัดรบั ทราบทาใหม้ ผี ลการดาเนินงานอยู่ ในระดับด ยย่ ม 2.3 จัดระบบบริหารและสารสนเทศ โรงเรยี นดาเนินการจัดโครงสร้างหรือระบบการบรหิ ารของ สถานศกึ ษาครอบคลุม 4 ดา้ น คือ กลุ่มบรหิ ารบุคคลและงบประมาณ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารกิจการ นักเรียน และกลุ่มบริหารทั่วไป ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝุายมีส่วนร่วมในการจัดโครงสร้างหรือระบบการบริหาร ของสถานศกึ ษา โดยกาหนดผ้รู ับผิดชอบที่มคี วามรคู้ วามสามารถอยา่ งชัดเจน และเอื้อต่อการพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามีการกาหนดผู้รับผิดชอบและจัดทาระบบสารสนเทศ ให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลมุ ถกู ตอ้ ง และเปน็ ปัจจุบนั มคี วามสะดวกต่อการเขา้ ถึงและการให้บริการ สามารถเชื่อมโยงเครือข่าย กับหน่วยงานตน้ สังกดั หรือหนว่ ยงานอ่นื ๆ มีการนาข้อมลู สารสนเทศไปใช้ เพือ่ ปรบั ปรุงและพัฒนา ท้ังในด้าน การวางแผน ดาเนินการ กากับติดตาม และประเมินผล การบริหารจัดการและการพัฒนาการเรียนการสอน โดยผมู้ สี ่วนเก่ียวข้องทกุ ฝุายมสี ว่ นร่วม มผี ลการดาเนินงานอยู่ใน ร ดบ ด ย่ยม 2.4 ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนดาเนินการปฏิบัติตาม แผนปฏิบัติการประจาปีท้ังงาน โครงการ และกิจกรรมตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ ผู้รับผิดชอบและ ผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝาุ ยปฏบิ ัติตามบทบาทหนา้ ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบตามทีไ่ ด้กาหนด โดยการดาเนินงาน โครงการ และกิจกรรมบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ มีการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า และผู้เก่ียวข้อง มีความพึงพอใจการดาเนนิ งาน มผี ลการดาเนินงานอยใู่ น ร ดบ ด ยย่ ม 2.5 จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โรงเรียนดาเนินการโดยมีผู้รับผิดชอบ ในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และมีกระบวนการสร้างความเข้าใจในการติดตามตรวจสอบ คณุ ภาพการศึกษาระดบั สถานศึกษา มอบหมายงานตามความรู้ความสามารถ ร่วมกันวางแผน กาหนดภารกิจ และปฏิทินการติดตามตรวจสอบ และมีการประสานงานอย่างเป็นระบบ มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา ทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษาท่ีแสดงผลการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยมีวิธีการ และ เครอื่ งมือทห่ี ลากหลาย เปิดโอกาสใหผ้ ู้มสี ว่ นเก่ียวข้องทุกฝุายมีส่วนร่วม ภาคเรียนละ 1 ครั้ง มีการจัดทา รายงานเสนอต่อผเู้ กีย่ วข้องด้วยรูปแบบท่ีหลากหลายและนาผลการติดตามตรวจสอบไปใช้วางแผนดาเนินงาน ปรับปรงุ พัฒนา การบริหารจัดการและการจดั การเรียนการสอน มีการเตรียมการอย่างเป็นระบบทั้งด้านข้อมูล เอกสาร หลกั ฐาน ร่องรอยการดาเนินงานต่าง ๆ อย่างครบถ้วน ชัดเจน สมบูรณ์ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ให้ความร่วมมือในการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัดมีผลการดาเนินงานอยู่ใน ร ดบ ด ย่ยม 2.6 จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียน ดาเนินการแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน จานวน 3 คน ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิท่ีได้รับ การขึ้นทะเบียนจากหน่วยงานต้นสังกัด 1 คน กาหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการอย่างชัดเจน และ
-41- ดาเนินการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาปลี ะ 1 คร้งั โดยได้รับความรว่ มมือจากผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครู และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง มีการวางแผนและกาหนดกรอบแนวทาง การประเมินคุณภาพภายในที่ชัดเจน มีเครื่องมือประเมินคุณภาพภายในท่ีครอบคลุมมาตรฐาน การศึกษา ของสถานศึกษา ดาเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาโดยใช้วิธีการและเคร่ืองมือ ทีห่ ลากหลายและเหมาะสม มผี ลการดาเนินงานอยู่ใน ร ดบ ด ย่ยม 2.7 จัดทารายงานประจาปีท่ีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน โรงเรียนดาเนินการ สรุปและจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประจาปี (SAR) ที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียนและผลสาเร็จของการบริหารจัดการศึกษาอย่างชัดเจน ครอบคลุมตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตามรูปแบบท่ีหน่วยงานต้นสังกัดกาหนด โดยผู้มีส่วน เก่ียวขอ้ งกบั การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเข้ามามสี ่วนร่วมในการดาเนินงานทุกฝุาย มีการตรวจสอบ ปรับปรุง คุณภาพของรายงานให้มีความชัดเจนและสมบูรณ์ แล้วจึงเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานใหค้ วามเหน็ ชอบอยา่ งเปน็ ระบบ ตามช่วงเวลาที่กาหนด มีการเผยแพร่รายงานการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา(SAR)ประจาปี ด้วยรูปแบบและวิธีการท่ีหลากหลายต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้อง และสาธารณชน พร้อมกับนาข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะดังกล่าวจากผู้ได้รับการเผยแพร่ ไปใช้ใน การพัฒนาการจดั การศึกษาอยา่ งมรี ะบบ เปน็ ไปอยา่ งต่อเนอ่ื ง มผี ลการดาเนินงานอยู่ใน ร ดบ ด ย่ยม 2.8 จัดใหม้ ีการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริม สนับสนุน ใหค้ รูและบคุ ลากรทกุ คนในสถานศกึ ษามคี วามรูค้ วามเข้าใจและตระหนกั ในความสาคัญของการประกันคุณภาพ การศึกษาที่มุ่งการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จนเป็นวฒั นธรรมในการทางานปกติของสถานศกึ ษา มีการนาผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา และของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเลือกสรรข้อมูลสารสนเทศ โดยให้ผู้มีส่วน เกย่ี วข้องทุกฝุายมสี ว่ นร่วม เพือ่ นาไปใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อการพัฒนาการบริหารและการเรียนการสอนอย่าง ต่อเน่อื ง มกี ารเผยแพรผ่ ลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยวิธีการที่หลากหลาย และมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและเหมาะสม เพ่ือนาผลไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีผล การดาเนินงานอยู่ใน ร ดบ ด ย่ยม จากการดาเนินงานพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเพ่ือยกระดับ คุณภาพการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ ทาให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความพึงพอใจในการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน มีผลการประเมินคุณภาพภายใน อยู่ในระดบั ร ดบ ด ย่ยม
-42- ทง้ั นี้ มผี ลการดาเนนิ งานเชิงประจกั ษ์จากการประเมนิ ในดา้ นต่างๆ ดังน้ี ร บ น รพฒน ผล รด นน น สถานศึกษาประเมิน คณุ ภาพภายในตาม ปรยบ ทยบผล รปร มน รปร น ณภ พภ ยใน ถ น ระบบการประกนั ร ่ ป ร 2558-2560 คณุ ภาพการศึกษา 8 ประการ 8.โรงเรียนดาเนินการพฒั นาคณุ ภาพอย่างต่อเนอ่ื ง 5 7.จัดทารายงานประจาปที ี่เสนอผลการประเมิน คุณภาพภายใน 6.ประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของ สถานศึกษา 5.ดาเนนิ การตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 4.จดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา 3.จัดการและบริหารข้อมลู สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ 2.จัดทาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาม่งุ เนน้ คณุ ภาพ ตามมาตรฐาน 1.กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 4.4 4.6 4.8 2560 2559 2558 ทม่ี า : งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นนารนี กุ ลู , 2560
-43- ร บ น รพฒน ผล รด นน น การมสี ว่ นรว่ ม รบั ผดิ ชอบของ ร้ ยล มพ พ ใ ผ้ป ร ต่ รย ร ดบ ณภ พ ร ด ร ผู้เก่ยี วขอ้ งทุกฝาุ ย ร รยน ร่วมรับผดิ ชอบต่อผล การจดั การศึกษา ทม่ี ี ความสามารถในการอา่ นของนักเรียน 90.00 คุณภาพ ความสามารถในการคิดวิเคราะหแ์ ละเขียน… 88.00 85.00 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องนกั เรียน 95.00 92.00 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครู การจัดกิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรขู้ องผูเ้ รียน 93.00 90.00 การบรหิ ารของผูบ้ รหิ ารโรงเรียน 87.00 การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมของโรงเรียน 92.50 ส่ิงอานวยความสะดวกในการเรียนรู้ 80 82 84 86 88 90 92 94 96 ทีม่ า : งานประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนนารีนุกูล , 2560 3. ด ดน่ 3.1 โรงเรียนจัดโครงสรา้ งขององค์กรตามโครงสร้างการบริหารงาน 4 กลุ่มงาน คือ กลุ่มบริหาร บคุ คลและงบประมาณ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุม่ บริหารกิจการนักเรยี น และกลมุ่ บริหารท่วั ไป โดยยึดหลักการ บริหารโดยโรงเรียนเปน็ ฐาน (School Based Management) เพอื่ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน และ ยดึ หลกั ธรรมาภิบาล (Good Governance) มีการนาวงจรคุณภาพ PDCA มาใช้ในการดาเนินงานและพัฒนา งานอย่างต่อเน่ือง นอกจากน้ีโรงเรียนส่งเสริมให้มีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดย ยึดหลัก การมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ท้ังภาครัฐและเอกชน โดยได้รับการส่งเสริม สนับสนุน และกากับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด โรงเรียนได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือเตรียมรองรับการประเมิน ภายนอก รอบส่ีสาหรับครูและบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อทาความเข้าใจระบบหลักเกณฑ์ องค์ประกอบตัว บ่งช้ี และวิธีประกันคุณภาพการศึกษาได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจวิธีเก็บข้อมูลและตัวบ่งช้ีต่างๆ ทาให้ สถานศึกษามีข้อมูลท่ีสะท้อนคุณภาพการจัดการศึกษา ทั้งระหว่างการดาเนินงานปกติ และเม่ือได้รับ การประเมินคณุ ภาพ 3.2 โรงเรยี นให้ความสาคัญกบั การดาเนินงานประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา เน้นการสร้างความเข้าใจและให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง ท่ีชัดเจน เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรยี นเน้นการมสี ่วนรว่ ม ดาเนนิ การในรปู ของคณะกรรมการสร้างวัฒนธรรมการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาใหก้ บั บุคคลที่เกี่ยวข้องทกุ ระดบั
-44- 3.3 สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีมีความเข็มแข็ง เป็นองค์กร ท่ีประสบ ความสาเรจ็ สงู และเปนองคกรแหงการเรียนรู 3.4 กาหนดให้ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ให้เป็นส่วนหนึ่ง ของการบริหารการศึกษา โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของ บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล โครงการกิจกรรมต่าง ๆ โดย เคร่ืองมือท่ีมี ประสิทธิภาพ และนาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงให้มีคุณภาพย่ิงขึ้น เก็บรวบรวม ขอมูลพื้นฐาน ของสถานศึกษา ตามมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา จัดระบบสารสนเทศที่สมบูรณ ทันสมัยและ เป็นปัจจุบัน ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการให้เอ้ือต่อการดาเนินงาน ทุกคนมีส่วนร่วมและมี การประชาสัมพันธกับทุกฝายทเี่ ก่ียวของ 4. ด รพฒน 4.1 จัดทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 4.2 จัดให้มกี ารติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา อยา่ งต่อเนื่อง 4.3 บุคลากรในโรงเรียนยงั ขาดความรคู้ วามเข้าใจใน มาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ฉบับลงวนั ท่ี 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559
-45- รปผล รปร มนในภ พร ม ผล รปร มนตน ถ น ย่ในร ดบ ด ยย่ ม จากผลการดาเนนิ งาน โครงการและกจิ กรรมตา่ งๆ ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษาจัดการพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษาประสบผลสาเร็จตามเปูาหมายไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมินสรปุ วา่ ได้ ระดบั ด ย่ยม ทั้งน้เี พราะ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน อยู่ใน ระดับ ด ย่ยม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา อยู่ใน ระดบั ด ยย่ ม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั อยู่ใน ระดับ ด ยย่ ม มาตรฐานท่ี 4 ระบบประกนั คณุ ภาพภายในท่มี ปี ระสิทธผิ ล อย่ใู น ระดับ ด ย่ยม ท้ังนี้ ในด้านคุณภาพของผู้เรียน ซ่ึงมีผลประเมินในรายมาตรฐานอยู่ใน ระดับ ด ย่ยม นั้น สถานศกึ ษามกี ารพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นอยา่ งหลากหลายทเ่ี ป็นไปตามปัญหาและความต้องการการพัฒนาตาม สภาพของผู้เรียน มีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดาเนินงานตามแผนท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วม ใช้ผล การประเมินและการดาเนินงานท่ีผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนนิ งาน และการปรับปรุงแก้ไขงานให้ดขี ึ้นอยา่ งตอ่ เน่อื ง ครูจัดกระบวนการเรียนการสอน ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร และ บริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้ส่ือการเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพื่อ พฒั นาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกขั้นตอนส่งผลให้ผู้เรียนส่วนใหญ่รู้จัก คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีเหตุผลในการเลือก ตัดสินความน่าเช่ือถือของข้อมูล มีความคิดสร้างสรรค์ คดิ กว้างไกลและมองโลกในแง่ดี ทักษะ มเี ปูาหมาย และมีความสุขในการทางาน มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี สามารถ ทางานรว่ มกับผอู้ น่ื ได้ สามารถวางแผนและแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสยี สละแกส่ ่วนรวม มคี วามภาคภูมใิ จในความเปน็ ไทยและรู้จักประหยัด มีน้าใจและ มีมารยาทดี รู้คุณค่า ของสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ มคี วามรับผิดชอบ มที ักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สนใจแสวงหาความรู้จาก แหล่งเรียนรู้ รักการเรียนรู้และต้องการพัฒนาตนเองให้เป็นคนใฝุรู้ใฝุเรียนสามารถเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้ดี ส่งผลให้สถานศึกษาสามารถดาเนินงานให้มีการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้สอดคล้องกับปรัชญา วิสัยทัศน์ ของสถานศกึ ษาสง่ ผลใหก้ ลายเป็นอตั ลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่าน คล่อง รวมท้งั สามารถเขียนเพื่อการสอ่ื สารได้ทุกคน สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) สูงกว่าระดับชาติ และมากกว่า ร้อยละ 50 ทุกกลุ่มสาระที่มีการทดสอบและ ต่อเนื่องมาโดยตลอด ในด้านกระบวนการบริหารและการจดั การของผบู้ ริหารสถานศึกษา มผี ลประเมนิ ในราย มาตรฐานอยู่ใน ระดับ ด ย่ยม โดยผู้บริหารมีการพัฒนาตนเองสม่าเสมอ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ครอบคลุมการบริหารจัดการ ทั้งด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร และด้านการบริหารทั่วไป
-46- มีการบรหิ ารจัดการโดยกระบวนการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน (SBM) วงจรการบรหิ ารงานวงจรคุณภาพ (PDCA) การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มโดยใช้ (SWOT Analysis) การบริหารม่งุ ผลสัมฤทธิ์ (RBM) หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) หลักการทางานเป็นทีม (Team Work) หลักการบริหารแบบมีส่วน ร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัย เป็นฐานคิดทั้งปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่าง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยการบริหารด้วยความเป็นมิตรรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ มีความเสมอภาค ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ คานึงถึงประโยชน์ของนักเรียนเป็นที่ต้ัง มุง่ มั่นพฒั นาบุคลากรในทุกดา้ น ให้มศี ักยภาพมากข้นึ ในด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีผลประเมินในราย มาตรฐานอยู่ใน ระดับ ด ย่ยม โดยมีการวิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ีเป็นไปตามความต้องการ ของหลักสตู รและบริบทสถานศึกษา พัฒนาครูใหจ้ ัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พัฒนา กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อและนวัตกรรมพร้อมท้ังเปิดห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ คอมพิวเตอร์ เพื่อเพ่ิมศักยภาพของการเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาและ แก้ปัญหารายบุคคล และมีการวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือนาผลการวิจัยไปพัฒนาปรับปรุงการพัฒนาการเรียน การสอนใหด้ ีย่ิงข้ึน ในด้านระบบประกนั คณุ ภาพภายในทม่ี ีประสทิ ธผิ ล สถานศึกษาดาเนนิ งานตามระบบ การประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นข้ันตอน จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีผลประเมินใน รายมาตรฐานอยู่ใน ระดับ ด ย่ยม โดยสถานศึกษาจัดโครงสร้างขององค์กรตามโครงสร้างการบริหารงาน 4 ด้าน คือ กลุ่มบริหารบุคคลและงบประมาณ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน และกลุ่ม บริหารทั่วไป มีหลักการ บริหารโดยโรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management) เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียน และยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) มีการนาวงจรคุณภาพ PDCA มาใช้ ในการดาเนินงานและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ยึดหลัก การมี ส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน ภายใต้การกากับดูแลของหน่วยงานต้น สังกัด โรงเรียนได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือเตรียมรองรับการประเมินภายนอก สาหรับครูและบุคลากร ในสถานศึกษาเพื่อให้ตะหนักถึงความสาคัญของการประกันคุณภาพ ให้ครูทาความเข้าใจระบบหลักเกณฑ์ องคป์ ระกอบตวั บง่ ช้ี และวธิ ีประกันคุณภาพการศึกษา เข้าใจวิธีเก็บข้อมูลและตัวบ่งชี้ต่างๆ สร้างวัฒนธรรม การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาใหก้ ับบคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ งทุกระดับ ทาใหส้ ถานศึกษามีข้อมูลที่สะท้อน คุณภาพการจัดการศึกษา ท้ังระหวา่ งการดาเนนิ งานปกติ และเมอื่ ได้รับการประเมนิ คณุ ภาพ
-47- ่ นท่ 3 รปผล แน ท รพฒน แล มต้ ร ร ่ ย ล ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถอื เป็นขอ้ มลู สารสนเทศสาคญั ทสี่ ถานศกึ ษาจะตอ้ งนา ไปวิเคราะห์ สงั เคราะหเ์ พ่อื สรุปนาไปสู่การเชอ่ื มโยงหรือสะทอ้ นภาพความสาเรจ็ กับแผนพฒั นา การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา และนาไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของจดุ เด่นจุดควรพฒั นา ของแต่ละมาตรฐาน พร้อมท้งั แนวทางการพฒั นาในอนาคตและความตอ้ งการการชว่ ยเหลือ ดงั น้ี รปผล รด นน นในภ พร ม รปร น ณภ พ ร ป ร 2560 ร รยนน รน ล ม ตรฐ น/ปร ดน็ พ รณ ่ ป้ ม ย ม ตรฐ นท่ 1 ณภ พ ผ้ รยน ร ดบ ด ยย่ ม 1.ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รียน ระดับ ดีเยี่ยม 1.1 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สารและการคิดคานวณ ระดับ ดเี ยี่ยม ตามเกณฑ์ของแต่ละระดบั ชัน้ ระดับ ดีเย่ียม 1.2 ความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย ระดับ ดเี ยี่ยม ระดบั ดีเย่ียม แลกเปลยี่ นความคดิ เห็นและแกป้ ัญหา ระดบั ดเี ยย่ี ม 1.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร 1.4 ความกา้ วหนา้ ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดบั ดเี ยี่ยม 1.5 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและพฒั นาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ ระดับ ดีเยย่ี ม 1.6 ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงานหรอื การทางาน ระดับ ดเี ยี่ยม ระดบั ดีเยี่ยม 2.คุณลักษะทพี่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น 2.1 การมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ีดีตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวฒั นธรรมอันดขี องสงั คม 2.2 ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย 2.3 การยอมรับทีจ่ ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 2.4 สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สังคม
Search