ภมู ปิ ัญญาศกึ ษา เรื่อง การทอผา้ พน้ื บ้าน (ตาหูก) โดย 1. นางบญุ จันทร์ กาสาวงั (ผ้ถู ่ายทอดภูมปิ ัญญา) 2. นางสาวอันธกิ า อาทร (ผเู้ รยี บเรียงภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น) เอกสารภูมิปญั ญาศึกษาน้ีเปน็ สว่ นหน่งึ ของการศกึ ษา ตามหลักสตู รโรงเรียนผสู้ งู อายเุ ทศบาลเมืองวงั นา้ เย็น ประจาปีการศึกษา 2561 โรงเรยี นผสู้ งู อายเุ ทศบาลเมืองวังน้าเย็น สงั กดั เทศบาลเมอื งวังน้าเย็น จงั หวดั สระแกว้
คานา ภมู ิปัญญาท้องถิ่น หรือเรียกชื่ออกี อยา่ งหน่ึงวา่ ภมู ิปญั ญาชาวบา้ น คอื องค์ความรูท้ ่ีชาวบ้านได้ สั่งสมจากประสบการณ์จริงท่ีเกิดขึ้นหรือจากบรรพบุรุษท่ีได้ถ่ายทอดสืบกันมาต้ังแต่ในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน เพ่ือนามาใชแ้ ก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน การทามาหากิน การประกอบการงานเล้ียงชีพ หรือกิจกรรมอน่ื ๆ เป็น การผ่อนคลายจากการทางาน หรือการย้ายถ่ินฐานเพ่ือมาตั้งถ่ินฐานใหม่แล้วคิดค้นหรือค้นหาวิธีการดังกล่าว เพ่ือการแก้ปัญหา โดยสภาพพื้นที่น้ัน ชุมชนวังน้าเย็นแห่งนี้ เกิดขึ้นเม่ือราว ๆ 50 ปีที่ผ่านมา จากการอพยพ ถิ่นฐานของผู้คนมาจากทุก ๆ ภาคของประเทศไทย แล้วมาก่อตั้งเป็นชุมชนวังน้าเย็น ซึ่งบางคนได้นาองค์ ความรู้มาจากถิ่นฐานเดิมแล้วมีการสืบทอดสืบสานมาจนถึงปัจจุบัน เช่นเดียวกับ การทอผ้าพ้ืนบ้าน (ตาหูก) โดยนางบุญจันทร์ กาสาวัง ได้รวบรวมเรียบเรียงถ่ายทอดประสบการณ์ให้คนรุ่นหลังได้สืบค้น หรือค้นคว้า เป็นภูมปิ ัญญาศึกษา ของเทศบาลเมืองเมอื งวงั นา้ เย็น จงั หวัดสระแกว้ ผ้ศู กึ ษาขอขอบพระคุณ นายวันชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรเี มืองวังน้าเยน็ นายคนองพล เพ็ชรรื่น ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น คณะกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุ กองสวัสดิการสังคม กองสาธารณสุขและ สงิ่ แวดล้อม เทศบาลเมืองวังนา้ เย็น โรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพนั ธ์วิทยา โรงเรียนอนบุ าลเทศบาลเมอื วงั น้าเย็น หน่วยงานอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้อง และขอขอบพระคุณ นางสาวอันธิกา อาทร ท่ีได้เป็นที่ปรึกษา ดูแลรับผิดชอบ งานด้านธุรการ บันทึกเร่ืองราวและจัดทาเป็นรูปเล่มท่ีสมบูรณ์ครบถ้วน ความรู้อันใดหรือกุศลอันใดที่เกิดจาก การร่วมมอื รว่ มแรงรว่ มใจร่วมพลังจนเกิดมีภูมิปัญญาศึกษาฉบบั น้ี ขอกุศลผลบญุ น้นั จงเกิดมีแก่ผู้เก่ียวขอ้ งดังท่ี กลา่ วมาทกุ ๆ ทา่ นเพอ่ื สรา้ งสังคมแห่งการเรียนต่อไป บุญจนั ทร์ กาสาวงั อันธกิ า อาทร ผูจ้ ดั ทา
ทมี่ าและความสาคัญของภูมิปญั ญาศกึ ษา จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่วี ่า “ประชาชนน่นั แหละ ทเ่ี ขามคี วามรเู้ ขาทางานมาหลายชวั่ อายุคน เขาทากนั อย่างไร เขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้วา่ ตรงไหน ควรทากสิกรรม เขารู้วา่ ตรงไหนควรเก็บรักษาไว้ แต่ท่ีเสียไปเพราะพวกไม่รู้เร่ือง ไม่ได้ทามานานแล้ว ทาให้ ลืมว่าชีวติ มันเปน็ ไปโดยการกระทาท่ีถกู ต้องหรือไม่” พระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิ- พลอดุลยเดช ท่ีสะท้อนถึงพระปรีชาสามารถในการรับรู้และความเข้าใจหยั่งลึก ที่ทรงเห็นคุณค่าของ ภมู ิปัญญาไทยอย่างแท้จรงิ พระองค์ทรงตระหนักเป็นอยา่ งยิ่งวา่ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินเป็นสง่ิ ที่ชาวบา้ นมีอยู่แล้ว ใช้ประโยชน์เพ่ือความอยู่รอดกันมายาวนาน ความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ซึ่งความรู้ที่ส่ังสมจากการ ปฏบิ ตั จิ ริงในหอ้ งทดลองทางสงั คม เป็นความร้ดู ัง้ เดิมที่ถูกคน้ พบ มกี ารทดลองใช้ แก้ไข ดัดแปลง จนเปน็ องค์ ความรู้ท่ีสามารถแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและถ่ายทอดสืบต่อกันมา ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นขุมทรัพย์ทาง ปญั ญาที่คนไทยทุกคนควรรู้ ควรศึกษา ปรับปรงุ และพัฒนาให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเหล่านั้นมาแก้ไขปัญหาให้ สอดคล้องกับบริบททางสังคม วัฒนธรรมของกลุ่มชุมชนนั้น ๆ อย่างแท้จริง การพัฒนาภูมิปัญญาศึกษา นับเป็นสิ่งสาคัญต่อบทบาทของชุมชนท้องถ่ินท่ีได้พยายามสร้างสรรค์ เป็นน้าพักน้าแรงร่วมกันของผู้สูงอายุ และคนในชุมชนจนกลายเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมประจาถ่ินท่ีเหมาะต่อการดาเนินชีวิต หรือภูมิปัญญา ของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ แต่ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ส่วนใหญ่เป็นความรู้ หรือเป็นส่ิงที่ได้มาจากประสบการณ์ หรือ เป็นความเช่ือสืบต่อกันมา แตย่ ังขาดองค์ความรู้ หรือขาดหลกั ฐานยืนยันหนักแนน่ การสรา้ งการยอมรับท่ีเกิด จากฐานภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นจงึ เป็นไปได้ยาก ดังนั้น เพื่อให้เกิดการส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท่ีเป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ิน กระตุ้นให้เกิดความ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของบุคคลในท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย เกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ คนร่นุ หลัง โรงเรยี นผู้สูงอายเุ ทศบาลเมอื งวังนา้ เย็น ได้ดาเนนิ การจดั ทาหลกั สูตรการเรียนการสอนเพื่อพฒั นา ศักยภาพผู้สูงอายุในท้องถ่ินท่ีเน้นให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาตนเองให้มีความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุท่ีมีคุณภาพใน อนาคต รวมทั้งสืบทอดภูมิปัญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุที่ได้สั่งสมมา เกิดจากการสืบทอด ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ โดยนักเรียนผู้สูงอายุจะเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ และมีครูพ่ีเล้ียงซึ่งเป็นคณะครู ของโรงเรียนในสังกดั เทศบาลเมืองวังน้าเยน็ เป็นผูเ้ รยี บเรียงองคค์ วามร้ไู ปสกู่ ารจดั ทาภมู ปิ ญั ญาศกึ ษาให้ ปรากฏออกมาเป็นรูปเล่มภูมปิ ัญญาศึกษา ใช้เป็นส่วนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศกึ ษาของโรงเรียนผู้สูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2561 พร้อมทั้งเผยแพร่และจดั เก็บคลังภูมิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรียนเทศบาลมติ ร สมั พันธว์ ิทยา เพื่อใหภ้ ูมิปญั ญาท้องถิ่นเหล่านเ้ี กดิ การถา่ ยทอดสู่คนรนุ่ หลังสืบต่อไป จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการผสมผสาน องค์ความรู้ เพ่ือยกระดับความรู้ของภูมิปัญญาน้ัน ๆ เพ่ือนาไปสู่การประยุกต์ใช้ และผสมผสานเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ให้สอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนาภูมิปัญญาไทยกลับสู่การศึกษา สามารถส่งเสริมให้มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา และโรงเรียนในสังกัด เทศบาลเมืองวังน้าเย็น เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการถ่ายทอด เช่ือมโยงความรู้ให้กับนักเรียนและบุคคล ท่วั ไปในทอ้ งถ่ิน โดยการนาบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในท้องถิน่ เขา้ มาเปน็ วทิ ยากรให้ความรู้
กบั นักเรยี นในโอกาสต่าง ๆ หรือการทโ่ี รงเรยี นนาองคค์ วามรู้ในท้องถ่ิน เข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ ส่ิงเหล่าน้ีทาให้การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน นาไปสู่การสืบทอดภูมิปัญญาศึกษา เกิดความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม นักเรียนผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของตนท่ีได้ถ่ายทอดสู่ คนรุ่นหลังให้คงอยู่ในท้องถ่ิน เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตประจาท้องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตคู่ แผน่ ดนิ ไทยตราบนานเทา่ นาน นิยามคาศพั ท์ในการจดั ทาภูมิปญั ญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเรื่องท่ีผู้สูงอายุเช่ียวชาญท่ีสุด ของ ผ้สู ูงอายุท่ีเขา้ ศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรยี นผสู้ ูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น มาศึกษาและสืบทอดภมู ิปญั ญา ในรูปแบบต่าง ๆ มีการสืบทอดภูมิปญั ญาโดยการปฏบิ ัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อกั ษรตามรูปแบบ ที่โรงเรียนผู้สูงอายุกาหนดขึ้น ใช้เป็นส่วนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษา เพ่ือให้ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ ไดร้ บั การถา่ ยทอดสูค่ นรนุ่ หลังและคงอยูใ่ นท้องถ่นิ ตอ่ ไป ซงึ่ แบง่ ภมู ปิ ญั ญาศกึ ษาออกเปน็ 3 ประเภท ได้แก่ 1. ภมู ิปัญญาศึกษาทผ่ี สู้ งู อายุเปน็ ผ้คู ดิ คน้ ภมู ิปัญญาในการดาเนนิ ชวี ิตในเร่อื งท่ีเช่ียวชาญทีส่ ุด ด้วยตนเอง 2. ภูมิปญั ญาศึกษาท่ีผู้สงู อายุเป็นผู้นาภูมิปัญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรษุ มาประยุกต์ใช้ในการดาเนิน ชวี ติ จนเกดิ ความเชี่ยวชาญ 3. ภูมิปัญญาศึกษาท่ีผู้สูงอายุเป็นผู้นาภูมิปัญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช้ในการดาเนินชีวิตโดย ไม่มกี ารเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ จนเกิดความเชีย่ วชาญ ผู้ถ่ายทอดภูมปิ ัญญา หมายถึง ผู้สงู อายทุ ี่เข้าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผูส้ ูงอายุเทศบาลเมือง วังน้าเย็น เป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีตนเองเชี่ยวชาญมากที่สุด นามาถ่ายทอดให้แก่ ผเู้ รยี บเรียงภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ไดจ้ ดั ทาข้อมูลเปน็ รูปเล่มภูมิปัญญาศกึ ษา ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ผู้ท่ีนาภูมิปัญญาในการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีผู้สูงอายุ เชี่ยวชาญท่ีสุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ศึกษาหาข้อมูลเพ่ิมเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ จัดทาเป็น เอกสารรูปเล่ม ใชช้ ื่อว่า “ภูมิปญั ญาศกึ ษา”ตามรูปแบบท่โี รงเรียนผู้สูงอายเุ ทศบาลเมืองวังน้าเย็นกาหนด ครูท่ีปรึกษา หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นครูพ่ีเลี้ยง เป็นผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น ปฏิบัติ หน้าที่เป็นผู้ประเมินผล เป็นผู้รับรองภูมปิ ัญญาศึกษา รวมทั้งเป็นผู้นาภูมิปญั ญาศึกษาเข้ามาสอนในโรงเรียน โดยบรู ณาการการจัดการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รทอ้ งถนิ่ ท่ีโรงเรยี นจดั ทาขน้ึ
ภมู ิปญั ญาศึกษาเช่อื มโยงสู่สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนฯ 1. ลกั ษณะของภมู ิปัญญาไทย ลักษณะของภูมปิ ัญญาไทย มีดังน้ี 1. ภมู ปิ ญั ญาไทยมีลกั ษณะเป็นทัง้ ความรู้ ทักษะ ความเช่อื และพฤติกรรม 2. ภมู ปิ ญั ญาไทยแสดงถงึ ความสัมพันธร์ ะหว่างคนกับคน คนกบั ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และคนกบั ส่ิงเหนอื ธรรมชาติ 3. ภูมิปัญญาไทยเปน็ องคร์ วมหรอื กจิ กรรมทกุ อยา่ งในวิถชี ีวติ ของคน 4. ภมู ิปัญญาไทยเป็นเรื่องของการแก้ปัญหา การจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้ เพื่อความอย่รู อดของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภมู ปิ ญั ญาไทยเป็นพ้นื ฐานสาคญั ในการมองชวี ติ เป็นพืน้ ฐานความรใู้ นเร่ืองต่างๆ 6. ภูมปิ ัญญาไทยมลี กั ษณะเฉพาะ หรือมเี อกลักษณ์ในตัวเอง 7. ภูมิปญั ญาไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงเพ่ือการปรบั สมดลุ ในพัฒนาการทางสังคม 2. คณุ สมบัติของภูมปิ ัญญาไทย ผูท้ รงภูมปิ ญั ญาไทยเปน็ ผูม้ คี ุณสมบัติตามทกี่ าหนดไว้ อย่างนอ้ ยดังต่อไปนี้ 1. เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพต่างๆ มีผลงานดา้ นการพัฒนา ทอ้ งถ่ินของตน และไดร้ บั การยอมรบั จากบคุ คลท่ัวไปอย่างกวา้ งขวาง ทงั้ ยงั เป็นผ้ทู ่ใี ช้หลักธรรมคาสอนทาง ศาสนาของตนเปน็ เครื่องยึดเหนีย่ วในการดารงวิถีชีวิตโดยตลอด 2. เป็นผคู้ งแกเ่ รยี นและหมน่ั ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ผ้ทู รงภมู ิปญั ญาจะเป็นผู้ที่หมัน่ ศึกษาแสวงหาความรเู้ พ่มิ เตมิ อย่เู สมอไมห่ ยุดน่ิง เรียนรทู้ ้ังในระบบและนอกระบบ เปน็ ผู้ลงมอื ทา โดยทดลอง ทาตามทเ่ี รยี นมา อีกทง้ั ลองผิด ลองถกู หรือสอบถามจากผรู้ ู้อ่ืนๆ จนประสบความสาเร็จ เปน็ ผู้เชี่ยวชาญ ซ่ึง โดดเดน่ เปน็ เอกลักษณ์ในแตล่ ะดา้ นอย่างชัดเจน เปน็ ท่ียอมรับการเปลยี่ นแปลงความรู้ใหมๆ่ ทเ่ี หมาะสม นามา ปรบั ปรุงรับใช้ชมุ ชน และสงั คมอยเู่ สมอ 3. เป็นผนู้ าของท้องถ่ิน ผ้ทู รงภูมิปญั ญาสว่ นใหญ่จะเป็นผทู้ ี่สงั คม ในแตล่ ะท้องถิ่นยอมรับ ใหเ้ ป็นผ้นู า ท้งั ผ้นู าท่ไี ด้รับการแตง่ ตง้ั จากทางราชการ และผู้นาตามธรรมชาติ ซงึ่ สามารถเป็นผู้นาของท้องถ่นิ และช่วยเหลอื ผู้อื่นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 4. เปน็ ผู้ที่สนใจปญั หาของท้องถ่ิน ผู้ทรงภมู ิปญั ญาล้วนเปน็ ผู้ทสี่ นใจปญั หาของท้องถ่นิ เอา ใจใส่ ศึกษาปัญหา หาทางแก้ไข และชว่ ยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกลเ้ คียงอย่างไมย่ ่อท้อ จนประสบความสาเรจ็ เป็นทย่ี อมรับของสมาชิกและบุคคลทั่วไป 5. เปน็ ผู้ขยันหม่ันเพียร ผทู้ รงภมู ิปัญญาเป็นผู้ขยนั หม่นั เพยี ร ลงมอื ทางานและผลิตผลงาน อยเู่ สมอ ปรบั ปรุงและพฒั นาผลงานใหม้ ีคุณภาพมากข้ึนอีกทัง้ มงุ่ ทางานของตนอยา่ งต่อเน่อื ง 6. เป็นนกั ปกครองและประสานประโยชนข์ องท้องถน่ิ ผู้ทรงภมู ปิ ัญญา นอกจากเป็นผู้ท่ี ประพฤตติ นเปน็ คนดี จนเป็นที่ยอมรบั นับถอื จากบุคคลทวั่ ไปแล้ว ผลงานทท่ี ่านทายงั ถือว่ามีคณุ คา่ จงึ เปน็ ผทู้ ่ี มีทงั้ \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เป็นผูป้ ระสานประโยชนใ์ ห้บุคคลเกดิ ความรกั ความเขา้ ใจ ความเหน็ ใจ และมคี วามสามัคคกี ัน ซึ่งจะทาใหท้ ้องถ่นิ หรือสงั คม มีความเจรญิ มีคณุ ภาพชีวติ สูงขึน้ กวา่ เดมิ
7. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เป็นเลศิ เม่ือผ้ทู รงภูมิปัญญามีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เป็นเลศิ มีผลงานท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ ผู้อื่นและบุคคลท่ัวไป ทั้งชาวบา้ น นกั วชิ าการ นักเรียน นสิ ติ /นักศึกษา โดยอาจเข้าไปศกึ ษาหาความรู้ หรือเชญิ ท่านเหลา่ นน้ั ไป เปน็ ผู้ถา่ ยทอด ความร้ไู ด้ 8. เป็นผ้มู ีคู่ครองหรอื บริวารดี ผู้ทรงภมู ปิ ัญญา ถ้าเปน็ คฤหัสถ์ จะพบวา่ ล้วนมีคคู่ รองทดี่ ี ทคี่ อยสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ให้กาลงั ใจ ใหค้ วามรว่ มมอื ในงานท่ีทา่ นทา ชว่ ยให้ผลิตผลงานที่มคี ุณค่า ถ้าเป็น นักบวช ไม่วา่ จะเป็นศาสนาใด ต้องมบี รวิ ารทีด่ ี จึงจะสามารถผลติ ผลงานทม่ี คี ุณค่าทางศาสนาได้ 9. เป็นผ้มู ีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญจนไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เป็นปราชญ์ ผทู้ รงภูมิปัญญา ตอ้ งเป็นผ้มู ีปญั ญารอบรู้และเชีย่ วชาญ รวมท้ังสร้างสรรคผ์ ลงานพเิ ศษใหมๆ่ ท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ สังคมและ มนษุ ยชาติอยา่ งต่อเน่ืองอยู่เสมอ 3. การจดั แบ่งสาขาภูมิปัญญาไทย จากการศึกษาพบวา่ มีการกาหนดสาขาภูมปิ ัญญาไทยไว้อย่างหลากหลาย ขน้ึ อยู่กับวตั ถุประสงค์ และ หลักเกณฑ์ต่างๆ ท่ีหนว่ ยงาน องค์กร และนักวิชาการแตล่ ะท่านนามากาหนด ในภาพรวมภูมิปญั ญาไทย สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 10 สาขา ดงั นี้ 1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และ เทคนิคด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคณุ คา่ ด้ังเดิม ซึ่งคนสามารถพึง่ พาตนเอง ในภาวการณ์ตา่ งๆ ได้ เชน่ การทาเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไร่นาสวนผสม และสวน ผสมผสาน การแกป้ ัญหาการเกษตรด้านการตลาด การแก้ปัญหาด้านการผลิต การแก้ไขปัญหาโรคและแมลง และการรู้จักปรับใชเ้ ทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกบั การเกษตร เป็นตน้ 2. สาขาอตุ สาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การร้จู ักประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี มัยใหม่ ในการแปรรูปผลิตผล เพ่ือชะลอการนาเข้าตลาด เพ่ือแกป้ ัญหาด้านการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัด และ เปน็ ธรรม อันเป็นกระบวนการท่ีทาใหช้ มุ ชนท้องถิ่นสามารถพึง่ พาตนเองทางเศรษฐกจิ ได้ ตลอดท้งั การผลติ และการจาหน่าย ผลิตผลทางหตั ถกรรม เช่น การรวมกลุ่มของกลมุ่ โรงงานยางพารา กลุ่มโรงสี กลมุ่ หตั ถกรรม เป็นตน้ 3. สาขาการแพทยแ์ ผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกนั และรักษา สุขภาพของคนในชมุ ชน โดยเน้นให้ชมุ ชนสามารถพึง่ พาตนเอง ทางด้านสุขภาพ และอนามยั ได้ เชน่ การนวด แผนโบราณ การดแู ลและรักษาสขุ ภาพแบบพื้นบ้าน การดูแลและรักษาสุขภาพแผนโบราณไทย เปน็ ตน้ 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม หมายถึง ความสามารถเก่ียวกับ การจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ทงั้ การอนุรักษ์ การพฒั นา และการใชป้ ระโยชน์จากคณุ ค่าของ ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม อยา่ งสมดลุ และยง่ั ยืน เชน่ การทาแนวปะการังเทียม การอนุรักษป์ า่ ชาย เลน การจดั การป่าตน้ นา้ และปา่ ชมุ ชน เปน็ ตน้ 5. สาขากองทุนและธรุ กจิ ชุมชน หมายถงึ ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ สะสม และบริการกองทุน และธรุ กิจในชุมชน ทั้งท่ีเป็นเงนิ ตรา และโภคทรพั ย์ เพ่ือสง่ เสรมิ ชีวติ ความเป็นอยู่ ของสมาชิกในชมุ ชน เช่น การจดั การเร่ืองกองทนุ ของชุมชน ในรูปของสหกรณ์ออมทรพั ย์ และธนาคารหมู่บ้าน เป็นต้น
6. สาขาสวัสดกิ าร หมายถึง ความสามารถในการจดั สวสั ดกิ ารในการประกนั คุณภาพชวี ติ ของคน ใหเ้ กดิ ความมั่นคงทางเศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม เชน่ การจัดตัง้ กองทุนสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาล ของชุมชน การจัดระบบสวสั ดกิ ารบรกิ ารในชมุ ชน การจัดระบบสิ่งแวดล้อมในชุมชน เปน็ ต้น 7. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลติ ผลงานทางด้านศิลปะสาขาตา่ ง ๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทศั นศลิ ป์ คีตศลิ ป์ ศิลปะมวยไทย เป็นต้น 8. สาขาการจัดการองคก์ ร หมายถงึ ความสามารถในการบรหิ ารจดั การดาเนินงานของ องค์กรชุมชนต่างๆ ใหส้ ามารถพฒั นา และบริหารองคก์ รของตนเองได้ ตามบทบาท และหน้าทข่ี ององค์การ เช่น การจดั การองค์กรของกลุ่มแมบ่ า้ น กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มประมงพ้นื บา้ น เป็นตน้ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลิตผลงานเก่ยี วกบั ด้านภาษา ท้ังภาษาถนิ่ ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช้ภาษา ตลอดทงั้ ด้านวรรณกรรมทกุ ประเภท เชน่ การจัดทา สารานุกรมภาษาถ่นิ การปรวิ รรต หนังสือโบราณ การฟืน้ ฟูการเรียนการสอนภาษาถ่ินของท้องถ่ินตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยกุ ต์ และปรบั ใช้หลักธรรมคา สอนทางศาสนา ความเช่อื และประเพณดี ้ังเดิมทีม่ ีคุณคา่ ให้เหมาะสมต่อการประพฤตปิ ฏิบตั ิ ให้บงั เกดิ ผลดีต่อ บุคคล และสง่ิ แวดล้อม เชน่ การถ่ายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลกั ษณะความสมั พันธ์ของภูมิปญั ญาไทย ภมู ปิ ัญญาไทยสามารถสะท้อนออกมาใน 3 ลักษณะท่ีสมั พันธ์ใกล้ชิดกนั คือ 10.1 ความสัมพันธ์อย่างใกลช้ ิดกนั ระหวา่ งคนกับโลก สิ่งแวดล้อม สัตว์ พชื และธรรมชาติ 10.2 ความสมั พันธ์ของคนกับคนอื่นๆ ทอี่ ยรู่ ว่ มกนั ในสังคม หรือในชุมชน 10.3 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคนกับส่งิ ศกั ด์สิ ทิ ธ์สิ ่ิงเหนือธรรมชาติ ตลอดทั้งสง่ิ ที่ไมส่ ามารถ สัมผัสไดท้ ้ังหลาย ท้ัง 3 ลักษณะน้ี คือ สามมติ ิของเร่อื งเดียวกัน หมายถงึ ชวี ิตชมุ ชน สะทอ้ นออกมาถึงภมู ิ ปญั ญาในการดาเนินชวี ิตอย่างมเี อกภาพ เหมือนสามมุมของรูปสามเหล่ยี ม ภมู ิปัญญา จึงเป็นรากฐานในการ ดาเนินชีวิตของคนไทย ซ่ึงสามารถแสดงให้เหน็ ได้อย่างชดั เจนโดยแผนภาพ ดังน้ี ลักษณะภูมิปัญญาทเ่ี กดิ จากความสัมพันธ์ ระหว่างคนกับธรรมชาติสิง่ แวดล้อม จะแสดงออกมา ในลกั ษณะภมู ิปญั ญาในการดาเนนิ วิถีชีวิตขั้นพื้นฐาน ดา้ นปัจจัยส่ี ซ่งึ ประกอบด้วย อาหาร เคร่ืองนงุ่ ห่ม ทอี่ ยูอ่ าศยั และยารักษาโรค ตลอดทัง้ การประกอบ อาชพี ตา่ งๆ เปน็ ตน้ ภมู ิปัญญาทีเ่ กิดจาก ความสมั พันธร์ ะหว่างคนกับคนอ่นื ในสงั คม จะแสดงออกมาในลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ และนนั ทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดทง้ั การส่ือสารตา่ งๆ เปน็ ตน้
ภูมปิ ัญญาทเี่ กิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกบั สิง่ ศักด์ิสิทธิ์ ส่ิงเหนือธรรมชาติ จะแสดงออกมาใน ลกั ษณะของสง่ิ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ศาสนา ความเช่อื ตา่ งๆ เปน็ ต้น 4. คุณค่าและความสาคัญของภมู ปิ ัญญาไทย คุณค่าของภูมิปัญญาไทย ไดแ้ ก่ ประโยชน์ และความสาคัญของภมู ปิ ัญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได้ สร้างสรรค์ และสืบทอดมาอย่างต่อเน่ือง จากอดีตส่ปู ัจจบุ นั ทาให้คนในชาตเิ กดิ ความรัก และความภาคภูมิใจ ท่จี ะร่วมแรงรว่ มใจสบื สานต่อไปในอนาคต เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม ประเพณีไทย การมี น้าใจ ศกั ยภาพในการประสานผลประโยชน์ เป็นตน้ ภมู ิปญั ญาไทยจึงมคี ุณคา่ และความสาคญั ดงั น้ี 1. ภมู ิปัญญาไทยช่วยสรา้ งชาตใิ หเ้ ปน็ ปกึ แผน่ พระมหากษัตริย์ไทยไดใ้ ชภ้ มู ิปัญญาในการสรา้ งชาติ สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ ประเทศชาติมาโดยตลอด ต้ังแต่สมัยพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด้วยพระ เมตตา แบบพ่อปกครองลูก ผู้ใดประสบความเดือดร้อน กส็ ามารถตรี ะฆงั แสดงความเดือดรอ้ น เพื่อขอรบั พระราชทานความชว่ ยเหลือ ทาใหป้ ระชาชนมีความจงรักภักดีตอ่ พระองค์ ตอ่ ประเทศชาตริ ่วมกนั สร้าง บ้านเรือนจนเจริญรุ่งเรืองเปน็ ปึกแผน่ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใชภ้ ูมปิ ญั ญากระทายุทธหตั ถี จนชนะข้าศึกศัตรู และทรงกอบกูเ้ อกราชของชาตไิ ทยคืนมาได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกาลปจั จุบนั พระองค์ทรงใช้ภมู ปิ ญั ญาสร้างคุณประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติ และเหล่าพสกนิกรมากมายเหลอื คณานบั ทรงใช้ พระปรชี าสามารถ แก้ไขวกิ ฤตการณท์ างการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ้นภัยพบิ ตั หิ ลายครงั้ พระองคท์ รง มพี ระปรชี าสามารถหลายดา้ น แม้แตด่ า้ นการเกษตร พระองค์ไดพ้ ระราชทานทฤษฎีใหมใ่ ห้แก่พสกนิกร ทง้ั ดา้ นการเกษตรแบบสมดุลและยั่งยนื ฟืน้ ฟูสภาพแวดล้อม นาความสงบรม่ เยน็ ของประชาชนให้กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎใี หม่\" แบง่ ออกเปน็ 2 ข้ัน โดยเริ่มจาก ข้นั ตอนแรก ใหเ้ กษตรกรรายยอ่ ย \"มพี ออยู่ พอกนิ \" เป็นขัน้ พนื้ ฐาน โดยการพฒั นาแหล่งน้า ในไรน่ า ซึ่งเกษตรกรจาเป็นท่ีจะตอ้ งไดร้ ับความชว่ ยเหลือจาก หน่วยราชการ มลู นิธิ และหนว่ ยงานเอกชน รว่ มใจกันพฒั นาสงั คมไทย ในข้นั ท่ีสอง เกษตรกรตอ้ งมีความ เขา้ ใจ ในการจัดการในไร่นาของตน และมีการรวมกลุ่มในรูปสหกรณ์ เพื่อสรา้ งประสิทธภิ าพทางการผลิต และ การตลาด การลดรายจา่ ยด้านความเป็นอยู่ โดยทรงตระหนกั ถงึ บทบาทขององค์กรเอกชน เมือ่ กลมุ่ เกษตร ววิ ฒั นม์ าขนั้ ที่ 2 แล้ว กจ็ ะมีศักยภาพ ในการพฒั นาไปสูข่ ั้นที่สาม ซ่งึ จะมีอานาจในการต่อรองผลประโยชนก์ ับ สถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองคก์ รที่เปน็ เจ้าของแหลง่ พลังงาน ซง่ึ เปน็ ปัจจยั หนึง่ ในการผลติ โดยมกี าร แปรรูปผลิตผล เช่น โรงสี เพือ่ เพิ่มมลู คา่ ผลติ ผล และขณะเดยี วกันมีการจดั ตั้งรา้ นคา้ สหกรณ์ เพ่ือลดคา่ ใช้จ่าย ในชีวิตประจาวนั อันเปน็ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของบุคคลในสังคม จะเหน็ ได้วา่ มิได้ทรงทอดทงิ้ หลกั ของ ความสามัคคีในสังคม และการจัดต้ังสหกรณ์ ซ่ึงทรงสนับสนุนใหก้ ลุ่มเกษตรกรสร้างอานาจตอ่ รองในระบบ เศรษฐกิจ จงึ จะมีคุณภาพชีวิตทีด่ ี จึงจดั ไดว้ า่ เปน็ สังคมเกษตรท่พี ฒั นาแลว้ สมดงั พระราชประสงค์ที่ทรงอุทิศ พระวรกาย และพระสตปิ ญั ญา ในการพัฒนาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแหง่ การครองราชย์ 2. สร้างความภาคภมู ิใจ และศกั ดศิ์ รี เกียรติภูมิแก่คนไทย คนไทยในอดีตทมี่ ีความสามารถปรากฏในประวตั ิศาสตร์มีมาก เปน็ ท่ียอมรบั ของนานา อารยประเทศ เช่น นายขนมต้มเปน็ นกั มวยไทย ท่ีมฝี ีมือเก่งในการใชอ้ วัยวะทุกสว่ น ทกุ ท่าของแม่ไมม้ วยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพม่าได้ถึงเกา้ คนสิบคนในคราวเดียวกนั แม้ในปัจจบุ นั มวยไทยก็ยังถือวา่ เป็น
ศลิ ปะชน้ั เย่ียม เปน็ ที่ นิยมฝึกและแข่งขันในหมูค่ นไทยและชาวตา่ ง ประเทศ ปัจจบุ นั มีค่ายมวยไทยท่ัวโลกไม่ ต่ากว่า 30,000 แห่ง ชาวต่างประเทศทไ่ี ดฝ้ ึกมวยไทย จะรู้สกึ ยินดแี ละภาคภูมิใจ ในการทจ่ี ะใชก้ ติกา ของมวย ไทย เชน่ การไหว้ครูมวยไทย การออก คาสง่ั ในการชกเป็นภาษาไทยทกุ คา เช่น คาว่า \"ชก\" \"นับหน่งึ ถงึ สิบ\" เป็นตน้ ถอื เปน็ มรดก ภูมิปัญญาไทย นอกจากนี้ ภมู ปิ ญั ญาไทยท่ีโดด เดน่ ยงั มอี ีกมากมาย เช่น มรดกภูมิ ปญั ญาทาง ภาษาและวรรณกรรม โดยท่มี ีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาตั้งแต่สมัยกรุงสโุ ขทยั และววิ ฒั นาการ มาจนถึงปัจจบุ ัน วรรณกรรมไทยถือว่า เป็นวรรณกรรมท่ีมีความไพเราะ ได้อรรถรสครบทุกด้าน วรรณกรรม หลายเรอ่ื งได้รบั การแปลเปน็ ภาษาต่างประเทศหลายภาษา ดา้ นอาหาร อาหารไทยเปน็ อาหารทปี่ รุงง่าย พืชที่ ใชป้ ระกอบอาหารสว่ นใหญ่เป็นพืชสมุนไพร ทีห่ าได้งา่ ยในท้องถ่นิ และราคาถกู มี คุณคา่ ทางโภชนาการ และ ยังป้องกนั โรคได้หลายโรค เพราะสว่ นประกอบส่วนใหญเ่ ป็นพชื สมุนไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ใบ มะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็นต้น 3. สามารถปรับประยุกต์หลักธรรมคาสอนทางศาสนาใชก้ บั วิถชี ีวิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม คนไทยสว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใช้ในวถิ ชี ีวติ ได้อยา่ งเหมาะสม ทาให้คนไทยเปน็ ผู้อ่อนน้อมถ่อมตน เอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ ประนีประนอม รกั สงบ ใจเย็น มคี วาม อดทน ให้อภัยแก่ผสู้ านึกผดิ ดารงวถิ ชี วี ิตอยา่ งเรยี บง่าย ปกตสิ ุข ทาให้คนในชมุ ชนพึ่งพากันได้ แม้จะอดอยาก เพราะ แห้งแล้ง แต่ไมม่ ีใครอดตาย เพราะพ่งึ พาอาศยั กนั แบ่งปันกันแบบ \"พริกบ้านเหนอื เกลือบา้ นใต้\" เป็น ต้น ทั้งหมดนสี้ บื เนือ่ งมาจากหลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา เป็นการใชภ้ มู ปิ ญั ญา ในการนาเอาหลกั ของพระพุทธศาสนามา ประยุกตใ์ ช้กับชีวิตประจาวัน และดาเนินกุศโลบาย ดา้ นตา่ งประเทศ จนทาให้ชาว พุทธทวั่ โลกยกย่อง ใหป้ ระเทศไทยเป็นผนู้ าทางพุทธศาสนา และเปน็ ที่ตั้งสานักงานใหญอ่ งค์การพทุ ธศาสนกิ สมั พนั ธ์ แหง่ โลก (พสล.) อยเู่ ยอื้ งๆ กบั อุทยานเบญจสริ ิ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรม ศักดิ์ องคมนตรี) ดารงตาแหน่งประธาน พสล. ตอ่ จาก ม.จ.หญิงพนู พิศมัย ดิศกลุ 4. สร้างความสมดลุ ระหว่างคนในสงั คม และธรรมชาติได้อย่างยง่ั ยนื ภูมิปญั ญาไทยมีความเดน่ ชัดในเร่ืองของการยอมรบั นับถือ และใหค้ วามสาคัญแกค่ น สงั คม และธรรมชาติอย่างย่ิง มีเคร่ืองชที้ แ่ี สดงใหเ้ หน็ ไดอ้ ยา่ งชัดเจนมากมาย เช่น ประเพณีไทย 12 เดือน ตลอดทง้ั ปี ลว้ นเคารพคุณคา่ ของธรรมชาติ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณลี อยกระทง เป็นตน้ ประเพณสี งกรานต์ เปน็ ประเพณที ่ีทาใน ฤดรู ้อนซ่ึงมีอากาศร้อน ทาให้ตอ้ งการความเยน็ จงึ มีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาด บา้ นเรือน และธรรมชาตสิ ิง่ แวดลอ้ ม มกี ารแห่นางสงกรานต์ การทานายฝนวา่ จะตกมากหรอื น้อยในแตล่ ะปี ส่วนประเพณีลอยกระทง คุณค่าอยู่ที่การบูชา ระลึกถึงบญุ คณุ ของนา้ ทหี่ ล่อเลีย้ งชีวติ ของ คน พืช และสัตว์ ให้ได้ใชท้ ้งั บริโภคและอุปโภค ในวนั ลอยกระทง คนจงึ ทาความสะอาดแมน่ ้า ลาธาร บชู าแม่น้าจากตัวอย่าง ข้างต้น ล้วนเป็น ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคนกบั สังคมและธรรมชาติ ทงั้ สิ้น ในการรกั ษาป่าไม้ตน้ น้าลาธาร ได้ประยุกต์ให้มีประเพณีการบวชป่า ใหค้ นเคารพสิง่ ศกั ด์ิสิทธิ์ ธรรมชาติ และสภาพแวดลอ้ ม ยงั ความอดุ มสมบรู ณแ์ ก่ต้นน้า ลาธาร ใหฟ้ ื้นสภาพกลบั คืนมาไดม้ าก อาชพี การเกษตรเป็นอาชีพหลกั ของคนไทย ท่ีคานงึ ถึงความสมดุล ทาแตน่ ้อยพออยู่พอกิน แบบ \"เฮ็ดอยเู่ ฮด็ กิน\" ของ พ่อทองดี นนั ทะ เมื่อเหลือกิน ก็แจกญาติพี่น้อง เพื่อนบา้ น บา้ นใกลเ้ รือนเคยี ง นอกจากนี้ ยังนาไปแลกเปลี่ยน กับส่งิ ของอย่างอ่ืน ท่ีตนไม่มี เมอื่ เหลือใช้จรงิ ๆ จึงจะนาไปขาย อาจกล่าวไดว้ า่ เปน็ การเกษตรแบบ \"กิน-แจก- แลก-ขาย\" ทาให้คนในสังคมไดช้ ว่ ยเหลือเกอื้ กูล แบ่งปนั กัน เคารพรกั นบั ถอื เปน็ ญาติกัน ทั้งหม่บู า้ น จึงอยู่
ร่วมกันอยา่ งสงบสุข มีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแนน่ ธรรมชาตไิ ม่ถูกทาลายไปมากนัก เนือ่ งจากทาพออยู่ พอกิน ไมโ่ ลภมากและไมท่ าลายทุกอยา่ งผิด กับในปจั จบุ ัน ถอื เปน็ ภมู ปิ ัญญาทส่ี ร้างความ สมดลุ ระหว่างคน สังคม และธรรมชาติ 5. เปลี่ยนแปลงปรบั ปรุงได้ตามยคุ สมัย แมว้ า่ กาลเวลาจะผ่านไป ความรู้สมัยใหม่ จะหล่ังไหลเข้ามามาก แตภ่ ูมปิ ญั ญาไทย ก็สามารถ ปรบั เปลีย่ นให้เหมาะสมกับยุคสมยั เช่น การรูจ้ กั นาเครื่องยนตม์ าติดตงั้ กับเรือ ใส่ใบพดั เปน็ หางเสอื ทาให้เรือ สามารถแลน่ ได้เร็วข้นึ เรยี กว่า เรือหางยาว การรจู้ กั ทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟื้นคืน ธรรมชาติให้ อุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดมิ ทถ่ี ูกทาลายไป การรจู้ กั ออมเงิน สะสมทุนให้สมาชิกกยู้ มื ปลดเปล้ือง หน้สี ิน และจดั สวสั ดกิ ารแก่สมาชกิ จนชมุ ชนมีความม่ันคง เขม้ แข็ง สามารถชว่ ยตนเองไดห้ ลายร้อยหมบู่ ้าน ท่ัวประเทศ เช่น กลมุ่ ออมทรัพยค์ รี วี ง จงั หวดั นครศรธี รรมราช จดั ในรปู กองทุนหมนุ เวยี นของชุมชน จน สามารถช่วยตนเองได้ เมอ่ื ปา่ ถกู ทาลาย เพราะถูกตัดโคน่ เพอื่ ปลูกพืชแบบเดี่ยว ตามภูมิปัญญาสมัยใหม่ ทห่ี วงั รา่ รวย แตใ่ นที่สุด กข็ าดทุน และมหี นส้ี ิน สภาพแวดล้อมสูญเสยี เกิดความแห้งแลง้ คนไทยจึงคดิ ปลกู ป่า ที่กนิ ได้ มพี ืชสวน พชื ป่าไม้ผล พชื สมนุ ไพร ซึ่งสามารถมกี นิ ตลอดชวี ิตเรียกว่า \"วนเกษตร\" บางพ้นื ท่ี เมื่อป่าชมุ ชน ถกู ทาลาย คนในชุมชนก็รวมตัวกนั เป็นกลมุ่ รกั ษาป่า รว่ มกันสร้างระเบยี บ กฎเกณฑ์กนั เอง ใหท้ ุกคนถือ ปฏบิ ัติได้ สามารถรักษาป่าได้อย่างสมบูรณ์ดงั เดิม เม่ือปะการังธรรมชาติถกู ทาลาย ปลาไมม่ ีทอ่ี ยู่อาศัย ประชาชนสามารถสรา้ ง \"อูหยัม\" ขนึ้ เป็นปะการังเทียม ให้ปลาอาศยั วางไข่ และแพร่พันธุใ์ ห้เจรญิ เติบโต มีจานวนมากดงั เดิมได้ ถือเป็นการใชภ้ ูมปิ ัญญาปรับปรงุ ประยกุ ตใ์ ช้ได้ตามยุคสมยั สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มท่ี 19 ใหค้ วามหมายของคาว่า ภูมปิ ัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ของชาวบา้ น ซึ่งไดม้ าจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมท้ังความรู้ ท่ีส่งั สมมาแตบ่ รรพบุรษุ สืบทอดจากคนรุ่นหนึง่ ไปสู่คนอีกรุ่นหน่งึ ระหวา่ งการสบื ทอดมีการปรับ ประยกุ ต์ และเปล่ียนแปลง จนอาจเกดิ เปน็ ความรู้ใหม่ตามสภาพการณ์ทางสงั คมวฒั นธรรม และ ส่งิ แวดล้อม ภูมิปัญญาเปน็ ความรู้ทีป่ ระกอบไปดว้ ยคุณธรรม ซง่ึ สอดคล้องกับวถิ ชี ีวติ ด้ังเดิมของชาวบา้ น ในวิถีดงั้ เดมิ นนั้ ชีวติ ของชาวบา้ นไม่ไดแ้ บง่ แยกเปน็ ส่วนๆ หากแตท่ ุกอยา่ งมีความสัมพันธก์ ัน การทามาหากนิ การอยูร่ ่วมกนั ในชมุ ชน การปฏิบัติศาสนา พธิ กี รรมและประเพณี ความรู้เปน็ คณุ ธรรม เมือ่ ผูค้ นใชค้ วามรูน้ นั้ เพ่อื สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกบั คน คนกับธรรมชาติ และคนกบั ส่งิ เหนือธรรมชาติ ความสัมพนั ธท์ ี่ดี เปน็ ความสัมพนั ธ์ที่มคี วามสมดลุ ทเี่ คารพกนั และกนั ไม่ทาร้ายทาลายกนั ทาใหท้ กุ ฝ่ายทุกสว่ นอยู่รว่ มกันได้ อยา่ งสันติ ชมุ ชนด้ังเดิมจึงมีกฎเกณฑข์ องการอยู่ร่วมกนั มีคนเฒ่าคนแกเ่ ปน็ ผูน้ า คอยให้คาแนะนาตกั เตือน ตัดสนิ และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ้านเคารพธรรมชาตริ อบตวั ดนิ นา้ ปา่ เขา ข้าว แดด ลม ฝน โลก และจกั รวาล ชาวบ้านเคารพผ้หู ลกั ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ท้งั ทมี่ ีชีวิตอยู่และล่วงลบั ไปแลว้ ภูมิปญั ญา จึงเปน็ ความร้ทู ่มี ีคณุ ธรรม เป็นความรทู้ ี่มีเอกภาพของทุกส่ิงทุกอยา่ ง เปน็ ความรู้วา่ ทุกสิ่งทุกอย่างสมั พนั ธก์ ัน อย่างมีความสมดลุ เราจึงยกย่องความรู้ขั้นสงู สง่ อนั เปน็ ความร้แู จง้ ในความจริงแห่งชีวิตนวี้ า่ \"ภมู ปิ ญั ญา\" ความคดิ และการแสดงออก เพอื่ จะเข้าใจภูมปิ ัญญาชาวบ้าน จาเปน็ ตอ้ งเข้าใจความคิดของชาวบา้ นเกยี่ วกบั โลก หรือท่เี รยี กวา่ โลกทศั น์ และเกีย่ วกับชวี ิต หรือที่เรยี กว่า ชวี ทัศน์ ส่งิ เหล่านีเ้ ป็นนามธรรม อันเกี่ยวขอ้ ง สมั พันธโ์ ดยตรงกบั การแสดงออกใน ลกั ษณะตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ รปู ธรรม แนวคดิ เร่ืองความสมดุลของชวี ติ
เปน็ แนวคิดพน้ื ฐานของภมู ิปัญญาชาวบ้าน การแพทย์แผนไทย หรือที่เคยเรยี กกนั วา่ การแพทย์แผนโบราณนัน้ มีหลกั การว่า คนมสี ุขภาพดี เมอื่ รา่ งกายมีความสมดุลระหว่างธาตุทง้ั ๔ คอื ดนิ นา้ ลม ไฟ คนเจบ็ ไข้ได้ป่วย เพราะธาตุขาดความสมดุล จะมีการปรับธาตุ โดยใช้ยาสมุนไพร หรอื วธิ กี ารอน่ื ๆ คนเป็นไขต้ ัวร้อน หมอยา พ้ืนบา้ นจะใหย้ าเยน็ เพื่อลดไข้ เปน็ ตน้ การดาเนินชีวติ ประจาวันกเ็ ชน่ เดยี วกนั ชาวบา้ นเชอื่ วา่ จะตอ้ งรักษา ความสมดุลในความสัมพันธ์สามด้าน คือ ความสัมพันธ์กบั คนในครอบครวั ญาติพ่นี อ้ ง เพ่อื นบา้ นในชุมชน ความสมั พันธ์ที่ดีมีหลกั เกณฑ์ ท่ีบรรพบรุ ษุ ไดส้ ัง่ สอนมา เชน่ ลกู ควรปฏบิ ตั ิอยา่ งไรกบั พ่อแม่ กบั ญาติพีน่ ้อง กับผ้สู ูงอายุ คนเฒา่ คนแก่ กับเพอื่ นบา้ น พอ่ แม่ควรเล้ยี งดลู ูกอย่างไร ความเอื้ออาทรตอ่ กันและกนั ชว่ ยเหลือ เกื้อกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกขย์ าก หรือมปี ัญหา ใครมีความสามารถพิเศษก็ใช้ความสามารถน้ันช่วยเหลอื ผ้อู ื่น เชน่ บางคนเป็นหมอยา ก็ชว่ ยดูแลรักษาคนเจบ็ ป่วยไม่สบาย โดยไม่คิดคา่ รกั ษา มีแต่เพยี งการยกครู หรือ การราลกึ ถึงครบู าอาจารยท์ ปี่ ระสาทวชิ ามาให้เท่านนั้ หมอยาต้องทามาหากิน โดยการทานา ทาไร่ เลีย้ งสตั ว์ เหมอื นกบั ชาวบ้านอ่นื ๆ บางคนมีความสามารถพิเศษดา้ นการทามาหากิน กช็ ่วยสอนลูกหลานใหม้ วี ิชาไปดว้ ย ความสมั พนั ธ์ระหว่างคนกบั คนในครอบครวั ในชุมชน มีกฎเกณฑเ์ ปน็ ข้อปฏบิ ัติ และข้อห้าม อยา่ งชดั เจน มกี ารแสดงออกทางประเพณี พิธีกรรม และกิจกรรมต่างๆ เช่น การรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ การบายศรี สู่ขวัญ เป็นต้น ความสมั พนั ธ์กับธรรมชาติ ผคู้ นสมยั ก่อนพง่ึ พาอาศยั ธรรมชาตแิ ทบทุกด้าน ต้งั แตอ่ าหารการ กิน เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย และยารกั ษาโรค วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยียังไมพ่ ัฒนากา้ วหน้าเหมอื นทกุ วันนี้ ยังไมม่ ีระบบการคา้ แบบสมยั ใหม่ ไมม่ ีตลาด คนไปจับปลาล่าสัตว์ เพื่อเปน็ อาหารไปวันๆ ตัดไม้ เพ่อื สร้างบ้าน และใชส้ อยตามความจาเปน็ เท่าน้นั ไม่ไดท้ าเพ่ือการค้า ชาวบา้ นมีหลกั เกณฑ์ในการใช้ส่ิงของในธรรมชาติ ไมต่ ดั ไม้ออ่ น ทาใหต้ ้นไมใ้ นป่าขนึ้ แทนตน้ ท่ถี ูกตัดไปไดต้ ลอดเวลา ชาวบา้ นยังไมร่ จู้ กั สารเคมี ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ฆา่ หญา้ ฆ่าสตั ว์ ไม่ใชป้ ุ๋ยเคมี ใช้สงิ่ ของในธรรมชาติใหเ้ กื้อกูลกัน ใช้มูลสตั ว์ ใบไม้ใบ หญ้าท่เี น่าเปื่อยเป็นปุ๋ย ทาให้ดินอุดมสมบรู ณ์ น้าสะอาด และไม่เหือดแหง้ ชาวบ้านเคารพธรรมชาติ เชือ่ ว่า มเี ทพมเี จา้ สถติ อยใู่ นดิน น้า ปา่ เขา สถานทท่ี ุกแห่ง จะทาอะไรตอ้ งขออนุญาต และทาดว้ ยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบ้าน รูค้ ณุ ธรรมชาติ ท่ไี ด้ให้ชวี ติ แก่ตน พิธีกรรมตา่ งๆ ลว้ นแสดงออกถึงแนวคิดดังกลา่ ว เชน่ งานบญุ พธิ ี ทเ่ี กีย่ วกบั น้า ขา้ ว ป่าเขา รวมถงึ สัตว์ บ้านเรือน เครื่องใชต้ า่ งๆ มพี ธิ ีสขู่ วญั ข้าว สูข่ วญั ควาย สู่ขวัญเกวียน ทางอีสาน มีพิธแี ฮกนา หรอื แรกนา เล้ยี งผีตาแฮก มงี านบุญบ้าน เพ่ือเล้ียงผี หรอื สิ่งศักด์สิ ทิ ธิ์ประจาหมบู่ า้ น เปน็ ต้น ความสมั พนั ธก์ ับส่ิงเหนือธรรมชาติ ชาวบ้านรวู้ า่ มนษุ ยเ์ ป็นเพียงสว่ นเลก็ ๆ สว่ นหนง่ึ ของ จักรวาล ซง่ึ เต็มไปดว้ ยความเร้นลับ มีพลงั และอานาจ ทเ่ี ขาไม่อาจจะหาคาอธิบายได้ ความเร้นลับดงั กลา่ ว รวมถงึ ญาติพ่นี อ้ ง และผูค้ นที่ลว่ งลบั ไปแลว้ ชาวบ้านยังสัมพนั ธก์ ับพวกเขา ทาบุญ และราลกึ ถงึ อย่างสม่าเสมอ ทกุ วนั หรอื ในโอกาสสาคัญๆ นอกน้นั เป็นผดี ี ผีรา้ ย เทพเจา้ ต่างๆ ตามความเชื่อของแต่ละแห่ง สงิ่ เหล่านี้ สงิ สถิตอยู่ในสงิ่ ต่างๆ ในโลก ในจักรวาล และอยูบ่ นสรวงสวรรค์การทามาหากนิ แมว้ ถิ ชี ีวติ ของชาวบา้ นเมื่อก่อนจะดเู รียบง่ายกว่าทกุ วนั น้ี และยังอาศัยธรรมชาติ และ แรงงานเป็นหลัก ในการทามาหากนิ แต่พวกเขากต็ ้องใช้สติปัญญา ทบี่ รรพบรุ ุษถ่ายทอดมาให้ เพ่ือจะได้ อยรู่ อด ท้ังนเ้ี พราะปญั หาต่างๆ ในอดตี ก็ยงั มีไม่น้อย โดยเฉพาะเม่อื ครอบครัวมีสมาชิกมากขึน้ จาเป็นต้อง ขยายทีท่ ากนิ ตอ้ งหกั รา้ งถางพง บุกเบิก พ้ืนที่ทากินใหม่ การปรับพืน้ ที่ปัน้ คนั นา เพ่ือทานา ซ่งึ เปน็ งานทห่ี นัก การทาไรท่ านา ปลกู พืชเลย้ี งสัตว์ และดแู ลรักษาให้เติบโต และไดผ้ ล เป็นงานท่ีตอ้ งอาศัยความรคู้ วามสามารถ
การจบั ปลาล่าสัตวก์ ็มีวิธีการ บางคนมีความสามารถมากรู้ว่า เวลาไหน ทใ่ี ด และวิธีใด จะจบั ปลาได้ดีทสี่ ดุ คนทไ่ี ม่เกง่ กต็ ้องใชเ้ วลานาน และไดป้ ลาน้อย การลา่ สตั วก์ ็เช่นเดยี วกัน การจดั การแหลง่ น้า เพื่อการเกษตร ก็เปน็ ความรคู้ วามสามารถ ทม่ี ีมาแตโ่ บราณ คนทาง ภาคเหนอื รูจ้ กั บริหารนา้ เพอ่ื การเกษตร และเพอ่ื การบรโิ ภคต่างๆ โดยการจดั ระบบเหมืองฝาย มกี ารจัด แบง่ ปันน้ากันตามระบบประเพณีที่ สบื ทอดกันมา มหี ัวหน้าที่ทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตาม สัดส่วน และตามพืน้ ที่ทากนิ นับเปน็ ความรทู้ ท่ี าใหช้ ุมชนต่างๆ ที่อาศยั อยู่ใกล้ลาน้า ไม่วา่ ต้นน้า หรอื ปลายน้า ได้รบั การแบ่งปันน้าอยา่ งยุตธิ รรม ทุกคนได้ประโยชน์ และอย่รู ่วมกันอยา่ งสนั ติ ชาวบ้านรู้จกั การแปรรูปผลิตผลในหลายรปู แบบ การถนอมอาหารให้กนิ ไดน้ าน การดองการ หมัก เชน่ ปลารา้ นา้ ปลา ผกั ดอง ปลาเค็ม เน้อื เคม็ ปลาแห้ง เนือ้ แห้ง การแปรรปู ข้าว กท็ าได้มากมายนบั ร้อย ชนิด เช่น ขนมตา่ งๆ แตล่ ะพิธกี รรม และแตล่ ะงานบญุ ประเพณี มขี ้าวและขนมในรปู แบบไม่ซ้ากัน ต้งั แต่ ขนมจนี สงั ขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอ่นื ๆ ซ่ึงยังพอมีใหเ้ ห็นอยู่จานวนหน่งึ ใน ปัจจุบนั ส่วนใหญป่ รบั เปลย่ี นมาเปน็ การผลิตเพอ่ื ขาย หรือเปน็ อุตสาหกรรมในครวั เรอื น ความรู้เรื่องการปรงุ อาหารก็มีอยูม่ ากมาย แต่ละท้องถิ่นมรี ูปแบบ และรสชาติแตกตา่ งกันไป มมี ากมายนับรอ้ ยนับพนั ชนดิ แมใ้ นชีวิตประจาวนั จะมีเพียงไม่ก่อี ยา่ ง แตโ่ อกาสงานพิธี งาน เล้ียง งานฉลอง สาคัญ จะมีการจัดเตรียมอาหารอยา่ งดี และพิถีพิถัน การทามาหากินในประเพณีเดิมนั้น เปน็ ท้ังศาสตรแ์ ละ ศิลป์ การเตรยี มอาหาร การจัดขนม และผลไม้ ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพียงเพอื่ ให้รับประทานแลว้ อร่อย แตใ่ หไ้ ด้ความ สวยงาม ทาใหส้ ามารถสัมผัสกับอาหารนนั้ ไมเ่ พยี งแต่ทางปาก และรสชาตขิ องลิ้น แต่ทางตา และทางใจ การ เตรยี มอาหารเป็นงานศลิ ปะ ที่ปรุงแตด่ ว้ ยความต้ังใจ ใชเ้ วลา ฝีมอื และความรู้ความสามารถ ชาวบ้าน สมยั ก่อนส่วนใหญจ่ ะทานาเป็นหลัก เพราะเมอื่ มขี ้าวแลว้ ก็สบายใจ อย่างอ่นื พอหาไดจ้ ากธรรมชาติ เสรจ็ หน้า นากจ็ ะทางานหตั ถกรรม การทอผ้า ทาเสื่อ เลย้ี งไหม ทาเครอื่ งมือ สาหรับจับสัตว์ เคร่อื งมือการเกษตร และ อปุ กรณ์ต่างๆ ทีจ่ าเปน็ หรือเตรยี มพนื้ ท่ี เพอื่ การทานาครั้งต่อไป หัตถกรรมเปน็ ทรัพยส์ ิน และมรดกทางภมู ิปัญญาท่ยี ิ่งใหญ่ทส่ี ดุ อยา่ งหนงึ่ ของบรรพบรุ ุษ เพราะเป็นสื่อที่ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สกึ ความคิด ความเชอ่ื และคุณคา่ ต่างๆ ทส่ี งั่ สมมาแต่นมนาน ลายผ้า ไหม ผ้าฝ้าย ฝมี อื ในการทออย่างประณีต รปู แบบเคร่ืองมือ ทส่ี านดว้ ยไมไ้ ผ่ และอปุ กรณ์ เครือ่ งใชไ้ มส้ อยต่างๆ เครือ่ งดนตรี เครื่องเล่น ส่งิ เหลา่ น้ไี ด้ถกู บรรจงสรา้ งข้นึ มา เพอ่ื การใชส้ อย การทาบุญ หรือการอทุ ศิ ให้ใครคน หน่งึ ไมใ่ ชเ่ พื่อการค้าขาย ชาวบ้านทามาหากนิ เพยี งเพื่อการยงั ชีพ ไม่ไดท้ าเพ่ือขาย มีการนาผลติ ผลสว่ นหนงึ่ ไปแลกสง่ิ ของที่จาเปน็ ทต่ี นเองไม่มี เชน่ นาขา้ วไป แลกเกลอื พรกิ ปลา ไก่ หรือเส้ือผ้า การขายผลิตผลมแี ต่ เพยี งส่วนน้อย และเมื่อมีความจาเป็นต้องใชเ้ งิน เพ่ือเสยี ภาษใี ห้รฐั ชาวบ้านนาผลติ ผล เช่น ขา้ ว ไปขายใน เมอื งให้กับพ่อค้า หรอื ขายให้กบั พ่อคา้ ท้องถ่ิน เชน่ ทางภาคอสี าน เรียกว่า \"นายฮ้อย\" คนเหลา่ นจี้ ะนาผลติ ผล บางอย่าง เชน่ ข้าว ปลาร้า ววั ควาย ไปขายในที่ไกลๆ ทางภาคเหนือมีพ่อคา้ ววั ต่างๆ เป็นตน้ แมว้ า่ ความรู้เร่ืองการค้าขายของคนสมยั ก่อน ไม่อาจจะนามาใชใ้ นระบบตลาดเช่นปจั จุบันได้ เพราะสถานการณ์ได้เปลยี่ นแปลงไปอย่างมาก แต่การคา้ ที่มีจริยธรรมของพ่อคา้ ในอดีต ท่ีไม่ไดห้ วังแต่เพียง กาไร แต่คานงึ ถึงการช่วยเหลือ แบ่งปันกันเปน็ หลกั ยงั มีคุณคา่ สาหรับปัจจุบัน นอกนั้น ในหลายพ้ืนทใี่ นชนบท ระบบการแลกเปลย่ี นส่ิงของยังมอี ยู่ โดยเฉพาะในพื้นทีย่ ากจน ซง่ึ ชาวบ้านไมม่ เี งนิ สด แต่มีผลิตผลตา่ งๆ ระบบ การแลกเปลี่ยนไมไ่ ด้ยดึ หลกั มาตราชงั่ วดั หรอื การตีราคาของส่ิงของ แตแ่ ลกเปลยี่ น โดยการคานงึ ถงึ
สถานการณ์ของผู้แลกท้ังสองฝ่าย คนท่ีเอาปลาหรือไกม่ าขอแลกขา้ ว อาจจะไดข้ ้าวเป็นถัง เพราะเจา้ ของขา้ ว คานงึ ถงึ ความจาเปน็ ของครอบครวั เจา้ ของไก่ ถ้าหากตรี าคาเป็นเงิน ขา้ วหนง่ึ ถังย่อมมีคา่ สูงกวา่ ไก่หน่ึงตัว การอยู่รว่ มกนั ในสงั คม การอยู่รว่ มกันในชมุ ชนด้ังเดมิ นน้ั สว่ นใหญจ่ ะเป็นญาติพนี่ ้องไม่กตี่ ระกูล ซึ่งได้อพยพย้ายถ่ินฐานมา อยู่ หรือสบื ทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได้ท้ังชมุ ชน มีคนเฒ่าคนแก่ท่ชี าวบา้ นเคารพนบั ถือเปน็ ผ้นู าหน้าที่ ของผู้นา ไม่ใชก่ ารส่งั แตเ่ ป็นผู้ใหค้ าแนะนาปรกึ ษา มคี วามแม่นยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวติ ตดั สนิ ไกลเ่ กลีย่ หากเกดิ ความขดั แย้ง ชว่ ยกนั แกไ้ ขปัญหาต่างๆ ท่เี กิดขึน้ ปัญหาในชุมชนกม็ ีไมน่ อ้ ย ปญั หา การทามาหากนิ ฝนแล้ง นา้ ท่วม โรคระบาด โจรลักววั ควาย เปน็ ต้น นอกจากน้นั ยังมีปัญหาความขดั แย้ง ภายในชมุ ชน หรอื ระหว่างชมุ ชน การละเมดิ กฎหมาย ประเพณี ส่วนใหญ่จะเปน็ การ \" ผดิ ผี\" คือ ผขี องบรรพ บุรุษ ผู้ซ่ึงได้สรา้ งกฎเกณฑต์ ่างๆ ไว้ เชน่ กรณีท่ชี ายหนุ่มถูกเนอื้ ต้องตัวหญงิ สาวที่ยงั ไม่แต่งงาน เปน็ ต้น หาก เกิดการผดิ ผีข้นึ มา ก็ต้องมีพธิ ีกรรมขอขมา โดยมคี นเฒา่ คนแกเ่ ปน็ ตวั แทนของบรรพบุรุษ มกี ารว่ากล่าวส่ัง สอน และชดเชยการทาผดิ นั้น ตามกฎเกณฑท์ ว่ี างไว้ ชาวบา้ นอยอู่ ย่างพง่ึ พาอาศัยกัน ยามเจ็บไข้ไดป้ ว่ ย ยาม เกิดอุบตั ิเหตุเภทภยั ยามท่ีโจรขโมยววั ควายข้าวของ การช่วยเหลอื กันทางานทเี่ รียกกนั วา่ การลงแขก ทง้ั แรงกายแรงใจท่ีมีอยกู่ ็จะแบง่ ปันช่วยเหลือ เอือ้ อาทรกัน การ แลกเปลยี่ นสิ่งของ อาหารการกนิ และอนื่ ๆ จงึ เกย่ี วข้องกับวิถีของชุมชน ชาวบา้ นชว่ ยกนั เก็บเกีย่ วข้าว สรา้ งบา้ น หรืองานอื่นทต่ี ้องการคนมากๆ เพื่อจะได้ เสรจ็ โดยเรว็ ไมม่ กี ารจา้ ง กรณตี วั อย่างจากการปลูกข้าวของชาวบ้าน ถ้าปีหน่งึ ชาวนาปลูกข้าวไดผ้ ลดี ผลิตผลทไี่ ด้จะใช้เพื่อการ บริโภคในครอบครัว ทาบุญที่วดั เผ่อื แผ่ให้พี่น้องที่ขาดแคลน แลกของ และเกบ็ ไว้ เผือ่ ว่าปหี นา้ ฝนอาจแล้ง น้าอาจท่วม ผลิตผล อาจไมด่ ใี นชมุ ชนต่างๆ จะมีผู้มีความรู้ความสามารถหลากหลาย บางคนเกง่ ทางการรกั ษา โรค บางคนทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเล้ียงสัตว์ บางคนทางดา้ นดนตรกี ารละเล่น บางคนเก่ง ทางด้านพิธกี รรม คนเหล่านต้ี ่างกใ็ ชค้ วามสามารถ เพ่ือประโยชน์ของชุมชน โดยไมถ่ ือเป็นอาชีพ ทีม่ ี คา่ ตอบแทน อย่างมากกม็ ี \"ค่าคร\"ู แตเ่ พียงเล็กน้อย ซึ่งปกตแิ ลว้ เงินจานวนน้นั กใ็ ช้สาหรบั เคร่อื งมอื ประกอบ พิธกี รรม หรือ เพอื่ ทาบญุ ทีว่ ัด มากกว่าท่หี มอยา หรือบุคคลผู้น้นั จะเกบ็ ไว้ใชเ้ อง เพราะแทท้ ี่จริงแลว้ \"วิชา\" ท่คี รูถ่ายทอดมาให้แกล่ กู ศิษย์ จะตอ้ งนาไปใช้ เพ่ือประโยชน์แกส่ งั คม ไม่ใชเ่ พื่อผลประโยชน์สว่ นตวั การตอบ แทนจึงไม่ใช่เงนิ หรอื ส่งิ ของเสมอไป แต่เป็นการชว่ ยเหลือเก้ือกูลกนั โดยวิธกี ารตา่ ง ๆ ดว้ ยวิถชี ีวิตเชน่ นี้ จึงมี คาถาม เพ่อื เปน็ การสอนคนรุ่นหลงั วา่ ถา้ หากคนหนง่ึ จับปลาชอ่ นตวั ใหญ่ไดห้ นง่ึ ตวั ทาอย่างไรจึงจะกินไดท้ ั้งปี คนสมยั นอ้ี าจจะบอกว่า ทาปลาเค็ม ปลาร้า หรอื เก็บรกั ษาด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ แตค่ าตอบที่ถูกต้อง คือ แบ่งปนั ให้ พ่ีนอ้ ง เพื่อนบ้าน เพราะเมื่อเขาได้ปลา เขาก็จะทากับเราเช่นเดียวกนั ชีวติ ทางสังคมของหมู่บา้ น มศี ูนย์กลาง อยทู่ ่ีวดั กจิ กรรมของส่วนรวม จะทากันท่วี ัด งานบุญประเพณตี ่างๆ ตลอดจนการละเล่นมหรสพ พระสงฆเ์ ปน็ ผู้นาทางจิตใจ เปน็ ครูท่สี อนลูกหลานผชู้ าย ซงึ่ ไปรบั ใช้พระสงฆ์ หรอื \"บวชเรยี น\" ทัง้ นเ้ี พราะก่อนนีย้ ังไม่มี โรงเรียน วดั จึงเป็นทงั้ โรงเรยี น และหอประชมุ เพ่ือกจิ กรรมตา่ งๆ ต่อเม่ือโรงเรยี นมีข้นึ และแยกออกจากวัด บทบาทของวัด และของพระสงฆ์ จงึ เปลยี่ นไป งานบญุ ประเพณีในชุมชนแตก่ ่อนมีอยู่ทุกเดอื น ต่อมาก็ลดลงไป หรอื สองสามหม่บู ้านรว่ มกันจดั หรือ ผลดั เปลย่ี นหมนุ เวียนกนั เชน่ งานเทศนม์ หาชาติ ซ่ึงเป็นงานใหญ่ หมูบ่ า้ นเลก็ ๆ ไม่อาจจะจดั ได้ทกุ ปี งาน เหลา่ นม้ี ีทั้งความเชื่อ พิธีกรรม และความสนุกสนาน ซ่งึ ชมุ ชนแสดงออกร่วมกัน
ระบบคุณคา่ ความเช่อื ในกฎเกณฑ์ประเพณี เป็นระเบียบทางสงั คมของชมุ ชนดง้ั เดมิ ความเช่ือน้ีเปน็ รากฐานของ ระบบคุณคา่ ตา่ งๆ ความกตัญญูรคู้ ุณต่อพ่อแม่ ปยู่ ่าตายาย ความเมตตาเอ้ืออาทรต่อผู้อืน่ ความเคารพตอ่ สิง่ ศักดสิ์ ิทธใิ์ นธรรมชาติรอบตวั และในสากลจักรวาล ความเช่อื \"ผี\" หรอื สง่ิ ศักดิ์สิทธใ์ิ นธรรมชาติ เปน็ ทม่ี าของการดาเนนิ ชีวิต ทัง้ ของสว่ นบคุ คล และของ ชมุ ชน โดยรวมการเคารพในผีปตู่ า หรอื ผีปู่ย่า ซง่ึ เปน็ ผปี ระจาหมู่บ้าน ทาให้ชาวบา้ นมีความเป็นหนึ่งเดียวกนั เป็นลกู หลานของปูต่ าคนเดียวกัน รกั ษาปา่ ที่มบี า้ นเล็กๆ สาหรบั ผี ปลกู อยู่ติดหมู่บ้าน ผปี ่า ทาใหค้ นตดั ไมด้ ว้ ย ความเคารพ ขออนุญาตเลอื กตดั ตน้ แก่ และปลูกทดแทน ไม่ท้ิงสิง่ สกปรกลงแมน่ ้า ดว้ ยความเคารพในแม่คงคา กินข้าวดว้ ยความเคารพ ในแม่โพสพ คนโบราณกนิ ขา้ วเสร็จ จะไหวข้ า้ ว พธิ ีบายศรสี ูข่ วญั เป็นพธิ ีร้ือฟื้น กระชบั หรอื สร้างความสัมพันธ์ระหวา่ งผคู้ น คนจะเดนิ ทางไกล หรอื กลบั จากการเดนิ ทาง สมาชิกใหม่ ในชุมชน คนปว่ ย หรอื กาลงั ฟืน้ ไข้ คนเหล่านีจ้ ะไดร้ ับพิธสี ู่ขวญั เพ่อื ให้เป็น สริ ิมงคล มคี วามอยเู่ ยน็ เปน็ สุข นอกนัน้ ยงั มีพิธสี ืบชะตาชีวิตของบุคคล หรือของชมุ ชน นอกจากพธิ ีกรรมกบั คนแลว้ ยังมพี ธิ ีกรรมกับสตั วแ์ ละธรรมชาติ มีพธิ ีสู่ขวัญข้าว ส่ขู วญั ควาย สู่ขวญั เกวียน เป็นการแสดงออกถงึ การขอบคุณ การขอขมา พิธีดังกล่าวไม่ไดม้ ีความหมายถึงว่า สง่ิ เหลา่ นม้ี ีจติ มผี ีใน ตวั มันเอง แตเ่ ปน็ การแสดงออก ถงึ ความสัมพนั ธ์กับจิตและสง่ิ ศักดิ์สทิ ธิ์ อันเปน็ สากลในธรรมชาตทิ ัง้ หมด ทา ใหผ้ ้คู นมีความสมั พันธอ์ นั ดีกับทกุ สง่ิ คนขับแท็กซใี่ นกรงุ เทพฯ ทีม่ าจากหมบู่ ้าน ยงั ซอื้ ดอกไม้ แลว้ แขวนไวท้ ี่ กระจกในรถ ไม่ใชเ่ พื่อเซ่นไหว้ผีในรถแทก็ ซี่ แต่เปน็ การราลึกถึงสิ่งศักด์สิ ทิ ธ์ิ ใน สากลจักรวาล รวมถึงทีส่ ิงอยู่ ในรถคันนน้ั ผูค้ นสมัยก่อนมีความสานกึ ในขอ้ จากัดของตนเอง รวู้ า่ มนษุ ยม์ ีความอ่อนแอ และเปราะบาง หากไมร่ ักษาความสมั พนั ธ์อันดี และไม่คงความสมดลุ กับธรรมชาตริ อบตัวไว้ เขาคงไม่สามารถมชี ีวิตได้อย่าง เป็นสขุ และยืนนาน ผคู้ นทัว่ ไปจึงไม่มีความอวดกล้าในความสามารถของตน ไมท่ ้าทายธรรมชาติ และส่งิ ศกั ด์ิสทิ ธิ์ มคี วามอ่อนน้อมถ่อมตน และรักษากฎระเบียบประเพณอี ยา่ งเคร่งครดั ชีวิตของชาวบ้านในรอบหน่ึงปี จึงมีพธิ กี รรมทุกเดือน เพื่อแสดงออกถึงความเชื่อ และความสัมพันธ์ ระหว่างผูค้ นในสังคม ระหวา่ งคนกับธรรมชาติ และระหวา่ งคนกับสิง่ ศักดิส์ ิทธ์ิตา่ งๆ ดังกรณงี านบญุ ประเพณี ของชาวอสี านท่ีเรียกว่า ฮีตสิบสอง คอื เดือนอ้าย (เดอื นทหี่ น่งึ ) บุญเข้ากรรม ให้พระภิกษุเข้าปรวิ าสกรรม เดอื นยี่ (เดือนท่ีสอง) บญุ คูณลาน ใหน้ าข้าวมากองกนั ทล่ี าน ทาพิธกี ่อนนวด เดอื นสาม บุญขา้ วจี่ ใหถ้ วาย ข้าวจ่ี (ขา้ วเหนียวป้ันชุบไขท่ าเกลอื นาไปยา่ งไฟ) เดือนส่ี บุญพระเวส ให้ฟังเทศน์มหาชาติ คือ เทศนเ์ ร่อื งพระ เวสสันดรชาดก เดอื นหา้ บุญสรงน้า หรือบุญสงกรานต์ ให้สรงน้าพระ ผู้เฒ่าผู้แก่ เดอื นหก บุญบง้ั ไฟ บชู า พญาแถน ตามความเช่ือเดิม และบุญวสิ าขบชู า ตามความเช่ือของชาวพุทธ เดือนเจด็ บุญซาฮะ (บุญชาระ) ให้บนบานพระภมู ิเจ้าที่ เลยี้ งผีป่ตู า เดือนแปด บญุ เขา้ พรรษา เดอื นเกา้ บญุ ข้าวประดับดิน ทาบญุ อุทศิ ส่วน กศุ ลให้ญาติพนี่ ้องผู้ลว่ งลบั เดือนสบิ บุญขา้ วสาก ทาบุญเช่นเดอื นเกา้ รวมให้ผีไมม่ ีญาติ (ภาคใตม้ ีพธิ ีคลา้ ยกนั คือ งานพิธเี ดอื นสบิ ทาบุญให้แกบ่ รรพบรุ ุษผู้ลว่ งลบั ไปแล้ว แบ่งขา้ วปลาอาหารสว่ นหนึง่ ให้แกผ่ ีไม่มญี าติ พวก เดก็ ๆ ชอบแยง่ กันเอาของที่แบ่งใหผ้ ีไมม่ ีญาตหิ รอื เปรต เรียกวา่ \"การชงิ เปรต\") เดอื นสิบเอ็ด บญุ ออกพรรษา เดอื นสิบสอง บุญกฐนิ จดั งานกฐนิ และลอยกระทง ภมู ิปัญญาชาวบา้ นในสังคมปัจจบุ ัน ภูมิปัญญาชาวบ้านได้ก่อเกดิ และสืบทอดกนั มาในชุมชนหมูบ่ า้ น เมอ่ื หม่บู า้ นเปลยี่ นแปลงไปพรอ้ มกบั สังคมสมัยใหม่ ภูมปิ ัญญาชาวบา้ นก็มีการปรับตวั เชน่ เดียวกนั ความรู้
จานวนมากได้สญู หายไป เพราะไมม่ ีการปฏบิ ตั สิ ืบทอด เชน่ การรักษาพืน้ บ้านบางอย่าง การใชย้ าสมนุ ไพร บางชนิด เพราะหมอยาท่เี ก่งๆ ได้เสียชีวิต โดยไมไ่ ด้ถ่ายทอดใหก้ บั คนอน่ื หรือถ่ายทอด แตค่ นตอ่ มาไม่ได้ ปฏบิ ัติ เพราะชาวบ้านไม่นิยมเหมอื นเมื่อก่อน ใช้ยาสมยั ใหม่ และไปหาหมอ ทโ่ี รงพยาบาล หรอื คลนิ กิ งา่ ยกว่า งานหัตถกรรม ทอผา้ หรือเครอ่ื งเงิน เครื่องเขนิ แมจ้ ะยังเหลอื อยู่ไม่น้อย แต่ก็ไดถ้ ูกพฒั นาไป เป็นการคา้ ไม่สามารถรักษาคุณภาพ และฝีมือแบบด้งั เดิมไวไ้ ด้ ในการทามาหากนิ มกี ารใช้เทคโนโลยีทันสมยั ใชร้ ถไถแทนควาย รถอแี ต๋นแทนเกวียน การลงแขกทานา และปลกู สร้างบา้ นเรอื น ก็เกือบจะหมดไป มกี ารจา้ งงานกันมากข้นึ แรงงานก็หา ยากกว่าแต่กอ่ น ผู้คนอพยพย้ายถิน่ บ้างก็เข้าเมือง บา้ งกไ็ ปทางานที่อ่นื ประเพณีงานบุญ กเ็ หลอื ไม่มาก ทาได้ ก็ตอ่ เม่ือ ลกู หลานท่ีจากบา้ นไปทางาน กลับมาเย่ยี มบ้านในเทศกาลสาคญั ๆ เชน่ ปใี หม่ สงกรานต์ เข้าพรรษา เปน็ ตน้ สังคมสมัยใหม่มรี ะบบการศึกษาในโรงเรียน มอี นามัย และโรงพยาบาล มโี รงหนงั วทิ ยุ โทรทศั น์ และ เคร่ืองบันเทงิ ตา่ งๆ ทาให้ชีวิตทางสังคมของชุมชนหม่บู ้านเปลีย่ นไป มตี ารวจ มโี รงมีศาล มเี จา้ หน้าที่ราชการ ฝ่ายปกครอง ฝ่ายพฒั นา และอื่นๆ เขา้ ไปในหมบู่ ้าน บทบาทของวัด พระสงฆ์ และคนเฒ่าคนแกเ่ ริ่มลดนอ้ ยลง การทามาหากนิ ก็เปลี่ยนจากการทาเพอ่ื ยังชีพไปเปน็ การผลิตเพ่ือการขาย ผคู้ นต้องการเงนิ เพอ่ื ซ้ือเครอ่ื ง บรโิ ภคตา่ งๆ ทาใหส้ ิ่งแวดล้อม เปล่ยี นไป ผลติ ผลจากป่าก็หมด สถานการณ์เชน่ นี้ทาให้ผู้นาการพฒั นาชุมชน หลายคน ทมี่ ีบทบาทสาคัญในระดับจังหวดั ระดบั ภาค และระดบั ประเทศ เร่ิมเหน็ ความสาคญั ของภมู ปิ ัญญา ชาวบา้ น หนว่ ยงานทางภาครัฐ และภาคเอกชน ให้การสนับสนุน และส่งเสริมให้มีการอนรุ ักษ์ ฟื้นฟู ประยุกต์ และคน้ คิดส่ิงใหม่ ความรูใ้ หม่ เพ่ือประโยชน์สุขของสังคม
ความเป็นมาและความสาคัญของการทอผา้ พนื้ บา้ น ผา้ ถือเปน็ ปจั จัยพน้ื ฐานที่มีความสาคญั ต่อการดารงชวี ิตของมนุษย์ เพราะผา้ เปน็ หนงึ่ ในปจั จัยสี่ นอกเหนือจากอาหาร ท่ีอยู่อาศัย และยารักษาโรค ในสงั คมเกษตรกรรมตัง้ แต่บรรพการสืบมา ผา้ ทอเป็นส่ือ สัญลักษณข์ องคนในแตล่ ะชุมชน แสดงถึงเชือ้ ชาติ เผา่ พนั ธ์ุ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม ผา้ ทอยังคง เปน็ ปัจจยั สาคญั ในการดารงชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่เกดิ แก่ จนถึงตาย และมีบทบาทสาคัญทง้ั ในแง่เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การทอผ้าเริม่ จากการสาน มนษุ ยเ์ รม่ิ สานตน้ หญา้ อ่อนเพอ่ื ใช้ใส่วสั ดสุ ิง่ ของ และต่อมา กลายเปน็ เส่ือและตะกรา้ และพฒั นามาเป็นวธิ กี ารต่อต้นพืชเพอ่ื เป็นเส้นท่ยี าวและทาให้เหนียวขนึ้ สามารถ รบั นา้ หนักได้มากขน้ึ จนกระทงั่ มกี ารคดิ ค้นวสั ดกุ ารทอจากพืชมาเปน็ เส้นใย เชน่ ฝา้ ย รูจ้ ักวิธีการทออย่าง ง่าย คอื การนาฝ้ายมาผูกกับหินเปน็ เสน้ ยนื และใช้เสน้ พงุ่ เข้าไปเวลาทอ ในอดีตเด็กผูห้ ญิงทกุ คนจะถกู ฝึกหดั ให้รู้จักการทอผ้า และเย็บปัก ถักร้อย ซึง่ เป็นสิ่งท่จี าเป็นในการดารงชีวติ ทุกครัวเรือนจะมีการทอผา้ เพ่ือใช้ สอยภายในครอบครวั เอง เนื่องจากเทคโนโลยีการทอผา้ ในสมัยก่อนยงั ไม่เจริญก้าวหน้า ผ้าทอจากโรงงานจงึ มี ราคาสงู เกนิ ความจาเป็น และไม่มจี าหน่ายอยา่ งแพร่หลาย และเหตผุ ลอีกประการหนึง่ คือเสื้อผ้าที่สวมใส่เปน็ สิง่ ท่แี สดงวา่ สตรผี ู้นั้นมคี วามสามารถในงานช่างฝีมอื และเย็บปักถักร้อยมากน้อยเพียงใด สมควรหรอื ไม่ท่ฝี ่าย ชายจะมาส่ขู อเปน็ แม่ศรีเรือน ดังน้ันจึงไดม้ ีการถา่ ยทอดวชิ าการกรรมวธิ ีการทอผ้าให้แก่สมาชกิ ท่ีเป็นเพศหญงิ เพราะการทอผ้าเปน็ งานศลิ ปะท่ตี ้องใช้ความขยนั ความอดทน ความพยายาม และความประณีตละเอียดอ่อน ดงั นนั้ ผเู้ ปน็ แมห่ รอื ยายจงึ มหี นา้ ท่ใี นการอบรมและถา่ ยทอดกรรมวธิ ี และประสบการณใ์ ห้แกบ่ ุตรสาวหรอื หลานสาว จนกระทั่งสง่ั สมเป็นภมู ปิ ัญญาท่ไี ดร้ ับการถา่ ยทอดจากบรรพบุรุษรุ่นหน่งึ ไปสู่อีกรนุ่ หนึง่ ซง่ึ เปรยี บเสมือนเป็นมรดกทางวัฒนธรรม การทอผ้าเปน็ วฒั นธรรมทเี่ กิดขึ้นในทุกภมู ภิ าคของประเทศไทยมาชา้ นาน ส่วนใหญ่มักจะนาไปทา เป็นหมอน ผา้ ห่ม ที่นอน ผ้าซ่ิน ผา้ ขาวม้า และผ้าโสร่ง โดยจะทอใชภ้ ายในครวั เรือน นอกจากจะนามาใช้ เป็นเคร่อื งนุ่งห่มแลว้ ยังได้ถูกนามาใชใ้ นพธิ ีกรรมทเี่ กยี่ วข้องกับชวี ติ ตง้ั แต่เกิดจนตาย เช่น เกย่ี วข้องกับการ เกิดโดยหมอตาแยจะได้ของกานัลจากพ่อแม่ของเดก็ ท่ีเกดิ ใหม่เปน็ ผ้าทอ ในพธิ ีบวชนาคจะสวมใสผ่ า้ ขาวหรอื โสร่งผืนใหญท่ ่ีแมท่ อเตรยี มไว้ให้ลกู ชาย ผ้หู ญงิ ต้องเตรียมผา้ ทอไวใ้ ชใ้ นพิธแี ต่งงานของตนเป็นตน้ นอกจากน้ี ผา้ ทอยังเป็นเครือ่ งบ่งชถี้ ึงฐานะของผูส้ วมใส่หรือแสดงถึงสถานะทางสงั คมของผนู้ นั้ อีกด้วย ประเทศไทยมีการ ติดตอ่ สัมพันธ์กบั ประเทศตะวันตก และได้รบั อิทธิพลตะวันตกเขา้ มาในสงั คมไทย การแต่งกายของคนใน สงั คมไทยจึงเปล่ยี นตามไปดว้ ย โดยหนั มาใชผ้ า้ ทอจากเคร่ืองจกั รแทนผ้าท่ีทอด้วยมือ จึงทาใหง้ านหัตถกรรมใน ชมุ ชนซบเซาลงจนเกือบจะสูญหายไปจากในบางแห่ง แต่ด้วยพระมหากรณุ าธคิ ุณของสมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถทรงใหก้ ารสนบั สนนุ ผ้าทอในชนบท ทรงเปน็ ผนู้ าในการใช้สอยผ้าพน้ื เมืองของไทยใน ชีวติ ประจาวนั และในงานพระราชพิธีตา่ งๆ ทรงนาผ้าไทยไปเผยแพร่ในตา่ งประเทศ ลวดลายที่ชาวบ้านสบื ทอดมาแตโ่ บราณนั้นกไ็ ด้ทรงเกบ็ ตัวอย่างไว้ เพ่อื อนุรักษ์ และเพ่ือศึกษา สบื ทอดต่อไป ปจั จุบนั ผ้าทอผา้ พ้ืนบา้ นแบบดั้งเดิมของไทย ในภาคต่างๆ กาลงั ได้รบั การอนรุ ักษ์ฟืน้ ฟู และพฒั นา รวมท้ังได้รับการส่งเสรมิ ใหน้ ามาใช้สอยในชวี ติ ประจาวนั กนั อย่างกวา้ งขวางมาก ดงั นั้น จึงเกดิ มีการผลิตผา้ ทอ พืน้ บา้ นในลกั ษณะอุตสาหกรรมโรงงาน โดยมบี ริษัทจา้ งชา่ งทอ ทาหน้าท่ีทอผา้ ดว้ ยมอื ตามลวดลายที่ กาหนดให้ โรงงาน หรือบรษิ ัทจดั เส้นไหม หรอื เส้นด้าย ที่ยอ้ มสีเสรจ็ แล้ว มาใหท้ อ เพ่ือเป็นการควบคุม คุณภาพ บางแหง่ จะมคี นกลางรบั ซอ้ื ผ้าจากช่างทออิสระ ซึ่งเป็นผู้ปัน่ ดา้ ย ยอ้ มสี และทอตามลวดลายที่
ตอ้ งการเองท่ีบา้ น แต่คนกลางเป็นผกู้ าหนดราคา ตามคุณภาพ และลวดลายของผ้า ท่ตี ลาดตอ้ งการ ในบาง จงั หวัดมีกล่มุ แม่บ้านช่างทอผ้าที่รวมตัวกันทอผ้าเปน็ อาชีพเสริม และนาออกขายในลักษณะสหกรณ์ เช่น กลมุ่ ทอผา้ ของศลิ ปาชีพ ดังน้ันการทอผา้ การทอผา้ ด้วยมือประเทศไทยจึงมปี ระวัติการทอผา้ ใช้กนั ในหมู่บา้ น และในเมืองโดยท่วั ไป มาต้ังแตโ่ บราณกาล แตก่ ารทอดว้ ยมือแบบดั้งเดิมก็อาจจะสญู หายไปได้ หากไม่ไดม้ ีการ อนรุ ักษ์ ฟ้นื ฟู และพัฒนาได้ทันกาล ท้ังนี้ เพราะประเทศไทยเป็นประเทศเปิด มกี ารคา้ ขายกับต่างประเทศ มาเป็นเวลานาน สามารถซื้อผ้านอก ที่สวยงามแปลกใหม่ และราคาถูกได้งา่ ย การศึกษาภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ด้านการทอผ้าพน้ื บา้ น (ตาหูก) จากนางบุญจันทร์ กาสาวัง นักเรยี น ผู้สงู อายุโรงเรยี นผสู้ งู อายเุ ทศบาลเมอื งวังนา้ เยน็ อาเภอวงั นา้ เยน็ จังหวัดสระแก้วในคร้ังนี้ ทาให้ไดเ้ รยี นรู้ เข้าใจวถิ ีชีวติ คา่ นยิ ม ความเช่ือ ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิน่ ทมี่ ีความสมั พนั ธ์เชือ่ มโยง การถ่ายทอดภมู ิ ปญั ญาการทอผา้ พื้นบา้ น(ตาหูก) ของนางบุญจนั ทร์ กาสาวัง ที่ไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจากคณุ ยายที่มภี มู ลิ าเนา อยทู่ ีบ่ ้านหนองบัวเชญิ ตาบลโคกสงู อาเภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแก่น คุณยายไดส้ อนการทอผ้าให้กับ นางบญุ จันทร์ กาสาวงั ในชว่ งที่ว่างจากการทาไร่ ทานา โดยได้เริม่ เรียนรวู้ ธิ ีการทอผ้ามาตัง้ แต่อายุได้ 15 ปี จนกระทั่งอายุได้ 40 ปี นางบญุ จนั ทร์ กาสาวงั ได้ย้ายมาอยู่กบั สามี ที่บ้านคลองสาระพา ตาบลวงั น้าเยน็ จังหวัดสระแก้ว มีอาชีพทาไร่ ทานา และในช่วงทีว่ ่างจากการทาไรท่ านา ก็จะทอผ้าสาหรับไว้ใชท้ าเคร่ือง นุง่ ห่ม เชน่ ผา้ ขาวม้า ผ้าห่ม ผ้าถุง และนางบญุ จันทร์ กาสาวัง ไดถ้ ่ายทอดความรู้ด้านด้านทอผ้าให้กบั ลกู ๆ เช่นเดยี วกัน ดงั นน้ั การสบื ทอดความคดิ ความเชื่อ แบบแผนทางสงั คม จากคนรนุ่ เก่าสู่คนรุ่นใหม่ ด้วย ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินท่ีมอี ยู่ จงึ มีความสาคัญเปน็ อยา่ งยงิ่ ในการเสรมิ สรา้ ง และพฒั นาคณุ ภาพชีวิต รวมถงึ การดารงอยู่ของวัฒนธรรมในชุมชนใหล้ ูกหลานได้สืบทอดต่อไป วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีใช้ในการทอผ้า 1. ก่ี เปน็ เคร่ืองมือสาหรับทอผา้ ทาด้วยไม้ มี 4 เสา มหี นา้ ท่ใี นการขัดเส้นด้ายระหวา่ งด้ายพ่งุ และ ด้ายยนื ขัดกนั ไปมาจนเปน็ ผืนผ้า (คลา้ ยกับการจักสาน) เดิมเครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการทอผา้ คนไทยเรยี กว่า หกู ทอผา้ ต่อมาไดเ้ รยี กเคร่ืองมือทอผ้าทั้งหมดว่า กี่ โดยคาว่ากส่ี ันนิษฐานมาจากภาษาจีน ภาษาฮากกาซึ่งมคี วามหมาย วา่ เครือ่ ง ลักษณะของก่ี กีจ่ ะมีโครงสรา้ งเปน็ รปู ส่ีเหลี่ยมประกอบด้วย 4 หลักมีไมย้ ึดตัดกนั ซง่ึ เป็นแบบดง้ั เดิม ทีใ่ ช้ในอดีตและปจั จบุ ันเพราะกช่ี นิดนใ้ี ชท้ อผา้ ลวดลายต่างๆ ไดด้ กี ว่าชนดิ อ่ืนๆ ทีม่ า : https://zznice2555.wordpress.com
2. ฟมื เป็นเคร่ืองมือทอผา้ ที่ทามาจากไมป้ ระกอบด้วยซ่ีแนวตัง้ เรยี งกนั อยู่ในกรอบไม้สาหรบั กระทบ เสน้ ดา้ ยพงุ่ ให้จัดเปน็ ระเบยี บหากไม่มฟี ืมก็ไม่สามารถทอผ้าเป็นผืนไดโ้ ดยเฉพาะผา้ ที่มีความกว้างและเสน้ ด้าย ละเอยี ด ฟืมทอผ้าไหมจะมซี ี่ฟันถี่ ส่วนฟืมทอผ้าฝ้ายเส้นด้ายจะมีขนาดใหญจ่ ะเปน็ ฟึมที่ท่มี ซี ฟี่ ันห่างตามขนาด ของเส้นดา้ ย ในการทอผา้ ฟืมจะถูกร้อยดว้ ยดา้ ยยืนเขา้ ไปตั้งแตแ่ รกก่อนจะเรม่ิ ทอ เรียกว่า ร้อยรูฟมื ความตึง ของเส้นด้ายจะช่วยพยงุ นา้ หนักของฟืมเอาไว้ 3. เขาหูก คอื ส่วนท่ีใช้สอดด้ายเปน็ ด้ายยนื และแบ่งดา้ ยยืนออกเปน็ หมูๆ่ ตามต้องการ เพอื่ ท่จี ะพุ่ง กระสวยเข้าหากันได้สะดวก เขาหกู มีอยู่ 2 อนั แตล่ ะอนั เวลาสอดด้ายต้องสอดสลับกนั ไปเสน้ หน่งึ เวน้ เส้นหนึ่ง ทเ่ี ขาหูกจะมเี ชือกผูกแขวนไว้กับดา้ นบน โดยผูกเชอื กเสน้ เดียวสามารถจะเล่ือนไปมาได้สว่ นลา่ งผูกเชอื กตดิ กับ คานเหยยี บหรือตนี เหยียบไว้ เพื่อเวลาต้องการดงึ ด้ายใหเ้ ป็นช่องก็ใชเ้ ท้าเหยียบคานเหยียบน้ี คานเหยยี บจะ เป็นตัวดึงเขาหูกใหเ้ ลื่อนขนึ้ ลง
4. ไมก้ าพนั หรอื ไมแ้ กนมว้ นผา้ เปน็ ไมท้ ี่ใชส้ าหรบั มว้ นผ้าท่ีทอแล้ว ไม้แกนมว้ นผา้ มีขนาดความยาว เทา่ กบั ก่หี รือเท่ากับความกวา้ งของหน้าผ้าใชส้ าหรบั ม้วนผา้ ท่ีทอแลว้ ไว้อกี ส่วน ไม้แกนม้วนผ้านจ้ี ะเหลาเป็น เหลย่ี ม จะไดย้ ดึ ผา้ ที่ม้วนเกบ็ ไวไ้ ม่ให้ลน่ื 5. ไมข้ ่วย เป็นไมส้ าหรับคา้ ความกวา้ งของผ้าใหห้ นา้ ผา้ ตึงพอดีกบั ฟืม เพ่ือว่าจะไดส้ ะดวก เวลาทอ และเส้นดา้ ยตรงลายไมค่ ดไปคดมา และแยกเส้นด้ายพุ่งไมใ่ ห้พันกนั
6. อกั เป็นอปุ กรณ์ทีใ่ ช้กวักด้ายออกจากกง ทาด้วยไมค้ ล้ายหลอดด้ายใหญ่ เจาะรูตรงกลางปลาย ทงั้ 4 ด้านมีไมป้ ระกบสาหรับทาใหอ้ ักหมนุ อักใชก้ รอด้ายให้เป็นระเบียบก่อนจะสางเขา้ กงเพ่ือแยกเป็นปอย หรือเป็นใจ 7. กง เป็นอุปกรณก์ รอด้ายทางานร่วมกับอักเพือ่ เกบ็ ดา้ ยท่ีป่ันดแี ลว้ จากไนปัน่ ดา้ ยมาพันรวมกันท่กี ง ช่างปั่นด้ายจะนาเส้นดา้ ยมาตรฐานตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยอกี ครั้ง เพื่อกบั สว่ นที่เป็นปมหรอื เปน็ ขุย ดา้ ยที่ตดิ พนั กนั 8. หลาปัน่ ดา้ ย เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ปัน่ ดา้ ย หรอื กรอด้ายเข้าหลอดเพื่อนาไปทอเป็นผืนผ้า ลักษณะของ ไนจะเปน็ วงกลมตั้งระหวา่ งไม้ 2 อัน ทท่ี ามาจากไมเ้ น้ือแข็งมีเหล็กสอดเป็นคัน สาหรบั หมุนวงลอ้ สว่ นขาติด ตัง้ อยูบ่ นสว่ นหัวของของฐานท่ที าด้วยไม้ ท่อนไมย้ าวประมาณ 30 นิ้ว ส่วนปลายของท่อนไม้จะมีเหล็กในสอด
อยกู่ ับขาตงั้ โดยโพล่เหลก็ ในออกมา ไว้สาหรบั เป็นทีส่ วมของหลอดไมไ้ ผ่ ทาเปน็ ทก่ี รอด้าย และระหวา่ งวงล้อ จะมีสานพานทาด้วยเชือกโดยกมาหมนุ 9. กระสวย เปน็ อุปกรณ์ทีท่ ามาจากไม้เนื้อแขง็ ยาวประมาณ 1 ฟุต หวั ท้ายเรียวงอนตรงกลางเปน็ รอ่ งสาหรบั บรรจหุ ลอดดา้ ยพุ่งสอดไประหว่างชอ่ งว่างของเส้นด้ายยืน 10. หลอดด้าย นิยมทามาจากไม้เถาวัลย์ เรียกว่าเครือไส้ตัน จะมรี ูกลวงตลอดตัดเปน็ ท่อนๆ ท่อนละ ประมาณ 3 น้วิ อาจจะใชไ้ ม้อย่างอ่นื ก็ไดท้ ่ีมีรูตรงกลางเพื่อใช้ไมส้ อดต่อกบั กระสวย
11. ไม้เหยยี บหูก มีลักษณะเปน็ ไมก้ ลมๆ ยาวประมาณ 1.50-2.00 เมตร สอดกับเชอื กทีผ่ กู โยงจาก ดา้ นลา่ งของเขาลงมาทาเปน็ ช่องไว้เพ่อื ให้เขาขึ้นลงในกรณเี ปลีย่ นสีของเสน้ ด้ายกเ็ หยยี บไม้น้ี ไมเ้ หยยี บหูกจะ มีจานวนเทา่ กับฟมื
12. ไมห้ าบหกู เปน็ ไม้ทีส่ อดร้อยกบั เชอื กทีผ่ ูกเข้ากบั ดา้ นบนเพื่อใหย้ ึดตดิ กับก่ี ไม้หาบหกู จะมีอนั เดยี วไมว่ า่ จะใช้ฟมื 2 เขา 3 เขา หรือ 4 เขา 13. ไม้นั่งทอผา้ หรอื ไมน้ ั่งตาหู ทามาจากไม้กระดาน สาหรับน่งั ตาหกู
ขัน้ ตอนการทอผา้ พน้ื บ้าน (ตาหกู ) 1. การคน้ หูก เปน็ การนาเสน้ ดา้ ยมารอ้ ยเขา้ กับเขาหูก จากน้นั นาเส้นดา้ ยมาร้อยเขา้ กบั รูฟมื อีกครั้ง โดยการรอ้ ยผ่านช่องฟนั หวีแตล่ ะช่องทุกชอ่ ง สอดเขา้ ในห่วงเส้นด้วยทรี่ อ้ ยเขา้ ชอ่ งฟนั หวเี พือ่ ทาการขึง เสน้ ด้ายให้ตงึ จนครบตามจาหลังและจดั เรยี งเสน้ ดา้ ยให้เรียบรอ้ ย เมื่อคน้ หกู แลว้ จะต่อเสน้ ดา้ ยที่ค้นและตัด ปลายแล้วเขา้ กับไสห้ ูกที่ตดิ อยกู่ ับเขาหูกและฟืมทค่ี น้ ทอผ้าผนื ทีแ่ ล้วเหลือคา้ งไว้กับฟืมและเขาหกู จะเรียก ขน้ั ตอนน้วี ่า การสบื หูก โดยทาการผูกปลายเสน้ ด้ายจากไส้หูกอนั ใหม่เขา้ กับปลายเสน้ ไหมจากไส้หูกเดมิ ท่ีตดิ อย่กู บั เขาหูกทลี ะคู่ เรยี งลาดับกอ่ นหลงั ของเสน้ ไหมให้ถูกตอ้ ง โดยสงั เกตลาดบั จากการขดั กนั ของเสน้ ไหมที่ทา ไว้ ผกู ทีละคู่ไปเรื่อย ๆ จนหมด หากผูกขา้ มเสน้ จะมเี ส้นไหมเหลอื อยู่ หากผกู ผิดลาดบั เวลาทอจะพุ่งกระสวย ไม่ได้ 2. การติดตั้งหูก เมอื่ คน้ เครือหกู เสร็จแล้ว จะทาการติดต้ังหูกและฟมื เขา้ กับกท่ี อผ้าทเ่ี ตรยี มไว้ โดย ทาการดึงหรือค่อยจับฟนั หวใี หค้ อ่ ย ๆ เล่อื นออกจากจุดรอยต่อทีเ่ สน้ ยืนมาต่อกบั ฟนั หวี จากน้นั ใหใ้ ชเ้ ส้นดา้ ย มาทอขัดเอาไวเ้ พอื่ จะดงึ เรียงความสมา่ เสมอของเสน้ ไหมยืน ซ่งึ เปน็ การขนึ้ กีท่ อผา้ ที่เรียบร้อยพร้อมท่จี ะทา การทอผ้าได้
3. กรอดา้ ยใสห่ ลอดเล็ก 4. นาด้ายทกี่ รอแลว้ มาใสใ่ นกระสวย 5. สบั เขาหูก โดยใช้ส้นเทา้ เหยยี บคานอนั ท่ี 1 เพอ่ื รง้ั เขาขดั ที่ 1 ลง ซึง่ จะดึงด้ายยนื กลุม่ ที่ 1 ตาม ลงมาด้วย สว่ นเขาที่ 2 ก็จะยกเสน้ ดา้ ยยืนกลมุ่ ท่ี 2 ขึน้ เกดิ เปน็ ช่องวา่ งระหว่างเสน้ ดา้ ยกล่มุ ที่ 1 และกลุ่มท่ี 2
6. พงุ่ กระสวยด้ายพ่งุ เข้าไปในชอ่ งว่างด้ายยนื จากด้านขวาไปทางด้านซ้ายมือ สอดเข้าไปสานขัดกนั กบั ดา้ ยยนื 7. กระทบฟมื หรือฟนั หวเี พื่ออดั เส้นไหมพุง่ ให้ขดั กันเป็นเส้นตรง โดยใชฟ้ ืมกระแทกเสน้ ด้าย 1-2 ครง้ั สับเขาใชป้ ลายเท้าเหยยี บคานอันที่ 2 เขาขัดที่ 2 จะรง้ั เส้นดา้ ยยนื กลุ่มท่ี 2 ลงและเขาขัดท่ี 1 จะดึงเส้นไหมยนื กลุ่มท่ี 1 ข้ึน เปิดเปน็ ช่องระหว่างเสน้ ไหมทงั้ 2 กลุม่ อีกครั้ง แตต่ าแหนง่ ของเส้นด้ายกลมุ่ ที่ 2 ซ่ึงเดมิ อยขู่ ้างบน จะเปลี่ยนลงลา่ ง สลบั กลับขั้นบน
8. พงุ่ กระสวย การพุง่ กระสวยจะย้อนกลับเข้าไปในช่องดา้ ยยืนจากด้านซา้ ยกลบั มาด้านขวาแลว้ ใชม้ อื ขวารับกระสวยเสน้ ด้ายพุ่งกจ็ ะสอดเขา้ ไปสานขดั กนั กบั ด้ายยืน 9. กระทบฟืมหรือฟันหวอี ีกครง้ั อดั ด้ายพุง่ ให้ชดิ กันแน่นเป็นเส้นตรงอกี คร้ัง การสลบั เขาหูก และพุ่ง กระสวยกลับไปมา และกระแทกฟืมหรอื ฟันหวหี ลายๆ ครัง้ จะปรากฏเป็นผนื ผ้าขน้ึ สว่ นสสี ันของเนอ้ื ผา้ ข้ึนอยู่ กบั สขี องด้ายยนื และดา้ ยพุ่ง ถ้าใช้สตี ่างกนั ก็จะเกิดเป็นสีสวยงาม
10. การมว้ นผา้ เก็บ เมื่อทอผา้ ได้จานวนหนง่ึ แลว้ จะต้องมีการม้วนผ้าเก็บเขา้ กบั ไม้กาพนั หรอื แกน มว้ นผา้ ก่อนมว้ นผา้ เก็บจะมีการปรบั เส้นด้ายยนื ใหห้ ย่อนก่อนแล้วจึงม้วนผา้
ผลติ ภณั ฑจ์ ากภมู ิปัญญาศกึ ษา การทอผา้ พน้ื บ้าน (ตาหูก) นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ผลติ ภัณฑ์ คาอธบิ าย 1. ผ้าขาวม้า ใช้วธิ กี ารทอลายขดั ลวดลายสว่ นใหญเ่ ป็นลาย ตาราง ใช้สีสด เช่น สีชมพู สีเขยี ว สนี ้าเงนิ และสีสม้ นยิ มใช้ในชีวติ ประจาวนั เนอ่ื งจากในชุมชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตร สามารถเปน็ ของฝาก หรอื เป็นผ้าอาบนา้ ผใู้ หญ่ในวันสงกรานต์ หรือวันสาคญั ๆ ต่างๆ ได้เปน็ อย่างดี 2. ผ้าขาวม้า ใชว้ ธิ กี ารทอลายขัดลวดลายสว่ นใหญ่เป็นลาย ตาราง ใช้สีสด เช่น สีชมพู สเี ขยี ว สีนา้ เงนิ และสีสม้ นยิ มใช้ในชีวิตประจาวันเนือ่ งจากในชุมชนสว่ นใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตร สามารถเป็นของฝาก หรอื เปน็ ผ้าอาบน้าผู้ใหญ่ในวนั สงกรานต์ หรอื วันสาคัญๆ ตา่ งๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี ผลิตภณั ฑ์ คาอธิบาย 3. ผ้าขาวม้า ใชว้ ิธีการทอลายขัดลวดลายส่วนใหญ่เป็นลาย ตาราง ใช้สสี ด เช่น สีชมพู สเี ขยี ว สีนา้ เงนิ และสสี ้ม นิยมใช้ในชวี ิตประจาวนั เนือ่ งจากในชมุ ชนสว่ นใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตร สามารถเปน็ ของฝาก หรอื เป็นผา้ อาบนา้ ผู้ใหญ่ในวนั สงกรานต์ หรือวนั สาคญั ๆ ตา่ งๆ ได้เป็นอยา่ งดี
4. ผา้ ขาวม้า ใชว้ ิธีการทอลายขัดลวดลายสว่ นใหญเ่ ป็นลาย ตาราง ใช้สสี ด เช่น สชี มพู สีเขียว สนี ้าเงิน และสีส้ม นิยมใช้ในชวี ิตประจาวันเนือ่ งจากในชมุ ชนสว่ นใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตร สามารถเปน็ ของฝาก หรอื เป็นผ้าอาบน้าผใู้ หญ่ในวันสงกรานต์ หรอื วนั สาคัญๆ ตา่ งๆ ได้เป็นอย่างดี 5. ผา้ สะโหรง่ ใชว้ ธิ ีการทอลายขัดลวดลายสว่ นใหญ่เป็นลาย ตารางขนาดใหญ่ ใชส้ สี ด เชน่ สชี มพู สเี ขยี ว สนี ้า เงนิ และสสี ้ม เชน่ เดยี วกับผา้ ขาวมา้ นยิ มใช้กับผู้สงู สูงอายุทเ่ี ปน็ เพศชาย เปน็ ของฝาก หรือเปน็ ผ้า อาบนา้ ผู้ใหญใ่ นวันสงกรานต์ 6. ที่นอน ใช้วิธีการทอขัดลายตารางขนาดใหญ่ ใช้สสี ด เชน่ สีชมพู สีเขียว สีนา้ เงนิ และสสี ้ม สาหรับตดั เย็บเป็น ทีน่ อนใช้ในครอบครวั 6. ทนี่ อน ใชว้ ิธกี ารทอขดั ลายขวางขนาดใหญ่ ใช้สีสด เชน่ สชี มพู สเี ขยี ว สีน้าเงนิ และสีส้ม สาหรบั ตัดเย็บเป็น ทน่ี อนใช้ในครอบครัว
ผลติ ภณั ฑ์ คาอธิบาย 8. ผ้าไหมมัดหมี่ ใช้วิธกี ารมัดหมเี่ ส้นด้ายพุง่ ทาจากเสน้ ไหม ลักษณะโครงสร้างของลายเป็นรปู สเี่ หลี่ยมขนม เปียกปนู วถิ คี นไทยจะนยิ มใส่ไปงานบญุ งาน แต่งงาน งานบวช โดยเฉพาะคนไทยในชนบท จะนามาใส่ในชีวติ ประจาวนั เน่อื งจากสะดวกในการ สวมใส่ และเพื่อเป็นการอนุรักษก์ ารแต่งกายแบบ ไทยๆ ด้วย 9. ผา้ ไหมมัดหมี่ ใช้วธิ กี ารมัดหมเ่ี สน้ ด้ายพุง่ ทาจากเส้นไหม ลกั ษณะโครงสร้างของลายเป็นรปู สเ่ี หลีย่ มขนม เปยี กปนู วถิ คี นไทยจะนยิ มใส่ไปงานบุญ งานแต่งงาน งานบวช โดยเฉพาะคนไทยในชนบท จะนามาใส่ใน ชวี ติ ประจาวันเนือ่ งจากสะดวกในการสวมใส่ และ เพื่อเปน็ การอนรุ กั ษ์การแต่งกายแบบไทยๆ ดว้ ย 11. ผา้ ไหมมัดหม่ี ใช้วิธีการมดั หมี่เสน้ ด้ายพุ่ง ทาจากเส้นไหม ลกั ษณะของลวดลายเปน็ ลายโบราณทรี่ บั การสืบ ทอดต่อๆ กันมาจากร่นุ หนึ่งสู่รุน่ หนงึ่ โดยการทา ตามแบบลวดลายของผา้ เกา่ ที่มีเหลืออยู่ในชุมชน เพือ่ อนรุ ักษ์ลวดลายด้งั เดมิ ไว้ วถิ ีคนไทยจะนิยมใส่ ไปงานบุญ งานแต่งงาน งานบวช โดยเฉพาะคน ไทยในชนบท จะนามาใส่ในชีวิตประจาวันเนื่องจาก สะดวกในการสวมใส่ และเพื่อเปน็ การอนุรักษ์การ แตง่ กายแบบไทยๆ ด้วย
ประวตั ิผถู้ ่ายทอดภูมิปญั ญา ชือ่ : นางบญุ จนั ทร์ กาสาวัง เกิด : เกดิ ปี 2489 อายุ 72 ปี ภมู ิลาเนา : อาเภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแกน่ ทอี่ ยู่ปจั จบุ นั : 16 หมู่ 7 ต.วังน้าเยน็ อ.วังน้าเยน็ จ.สระแก้ว สถานภาพ : แต่งงานกับนายเชน กาสาวงั (ปจั จุบนั เสยี ชวี ิตแล้ว) มีบตุ ร 7 คน 1. นางบวั พัน ศรบี รุ นิ ทร์ 2. นางกัณฐกิ า ชว่ ยนา 3. นายประเสริฐ กาสาวงั 4. นายบุญเกดิ กาสาวงั (เสียชีวติ แล้ว) 5. นายเชิดชัย กาสาวัง 6. นายไพเดช กาสาวัง 7. นางณัชชา กาสาวัง สถานภาพ ปัจจบุ ัน หม้าย ปัจจุบนั ประกอบอาชีพ : ทาไร่-ทานา ประวตั ิผเู้ รยี บเรยี งภูมิปัญญาศึกษา ชื่อ: นางสาวอนั ธิกา อาทร เกิด : อายุ 40 ปี ภมู ลิ าเนา : อาเภอวฒั นานคร จงั หวัดสระแก้ว ทอ่ี ยู่ปจั จุบัน: 230 หมู่ 9 ต.วงั น้าเย็น อ.วงั นา้ เย็น จ.สระแกว้ สถานภาพ : โสด การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑิตย์ ปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช ปรญิ ญาโท มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช ปัจจบุ ันประกอบอาชพี : ขา้ ราชการครู โรงเรยี นเทศบาลมิตรสมั พันธว์ ทิ ยา สงั กัดเทศบาลเมอื งวงั นา้ เยน็
บรรณานกุ รม กิตติคุณวฒั นะ จทู ะวิภาต, ผ้าทอกับชวี ิตคนไทย, มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย์, 2555. หนา้ 26-36. ทรงพล ตว่ นเทศ, การศึกษาภูมิปญั ญาการทอผ้าพน้ื เมืองของคนไทยเชือ้ สายคร่ัง, มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ, หน้า 19-35. สาวติ รี สวุ รรณสถติ ย,์ สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั เลม่ 20 พ.ศ. 2539 หน้า 1-10. สานกั วิทยบรกิ าร มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี, ภมู ปิ ัญญาการทอผ้า,http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/ sompornrat {Online}. {Accessed : 19/12/2561}. อุปกรณ์การทอผา้ ไหมและหน้าท่ีของอุปกรณ์, https://sites.google.com/site/wwwphamaicom/ home {Online}. {Accessed : 20/12/2561}.
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: