Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3นวดแผนไทย นางทองพูน เพชรรัมย์

3นวดแผนไทย นางทองพูน เพชรรัมย์

Published by artaaa142, 2019-05-09 08:21:59

Description: 3นวดแผนไทย นางทองพูน เพชรรัมย์

Search

Read the Text Version

ภูมปิ ญั ญาศกึ ษา เรอื่ ง นวดแผนไทย ใส่ใจสุขภาพ โดย 1.นางทองพูน เพชรรัมย์ (ผถู้ ่ายทอดภูมปิ ญั ญา) 2.นางสาวสภุ าณไี ชยรตั น์ (ผูเ้ รียบเรยี งภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ) เอกสารภูมปิ ญั ญาศึกษานเี้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของการศกึ ษา ตามหลกั สตู รโรงเรียนผู้สงู อายุเทศบาลเมอื งวังนา้ เยน็ ประจา้ ปกี ารศกึ ษา 2561 โรงเรียนผ้สู ูงอายเุ ทศบาลเมืองวังนา้ เยน็ สังกดั เทศบาลเมืองวงั นา้ เยน็ จังหวดั สระแก้ว

ค้าน้า ภมู ิปัญญาชาวบา้ นของคนไทยเรานั้นมีอยู่จานวนมาก ล้วนแต่มีคุณค่าและมีประโยชน์ เป็นการบอกเล่าถึง วัฒนธรรมไทยได้เป็นอย่างดี แต่ปัจจุบันภูมิปัญญาเหล่าน้ัน กาลังสูญหายไปพร้อม ๆ กับชีวิตของคน ซึ่งดับสูญไป ตามกาลเวลา เทศบาลเมืองวังน้าเย็นได้เล็งเห็นคุณค่าและความสาคัญในเรื่องดังกล่าว จึงจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ ข้ึนเพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตตาบลวังน้าเย็นได้มารวมตัวกัน เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน ก่อนจบการศึกษา นักเรียนผู้สูงอายุทุกคนตอ้ งจัดทาภูมิปัญญาศึกษาคนละ 1 เรื่อง เพอ่ื เก็บไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา เป็นการสืบ ทอด มิใหภ้ มู ิปัญญาสญู ไป ภมู ิปญั ญาฉบบั นส้ี าเร็จได้ เพราะรับความกรุณาและการสนับสนุน จากท่านทั้งหลายเหล่านี้ไดแ้ ก่ นางสาว สุภาณี ไชยรัตน์ซ่ึงเป็นพี่เล้ียงให้คาปรึกษา แนะนาในการจัดทาภูมิปัญญา ได้ให้ความรู้และประสบการณ์ต่างๆ ในช่วงเวลาท่ีเรียนอยู่เป็นเวลา 2 ปี คณะกรรมการบริหารโรงเรียนผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและ ส่ิงแวดล้อมเทศบาลเมืองวังน้าเย็นทุกท่าน ที่ให้การดูแลและช่วยเหลือตลอดมา และที่สาคัญได้แก่ ท่านนายวนั ชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็น และ นายคนองพล เพ็ชรรื่น ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น ซึ่งเป็นผู้ก่อต้ัง โรงเรียนผ้สู ูงอายุ และใหก้ ารสนับสนุน ดูแลนักเรียนผ้สู ูงอายเุ ปน็ อยา่ งดี ขอขอบคุณทุกทา่ นไว้ ณ โอกาสนี้ ทองพนู เพชรรัมย์ สภุ าณี ไชยรตั น์ ผู้จดั ทา

ท่มี าและความส้าคัญของภูมปิ ัญญาศกึ ษา จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ท่ีวา่ “ประชาชนน่นั แหละ ทเี่ ขามคี วามรูเ้ ขาทางานมาหลายช่วั อายคุ น เขาทากันอย่างไรเขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้วา่ ตรงไหนควรทากสิกร รมเขาร้วู ่าตรงไหนควรเก็บรกั ษาไวแ้ ต่ที่เสยี ไปเพราะพวกไม่รู้เรื่องไม่ได้ทามานานแล้วทาให้ลืมว่าชวี ิตมันเป็นไปโดย การกระทาที่ถูกต้องหรือไม่” พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-ภูมิพลอดุลยเดชที่สะท้อนถึง พระปรีชาสามารถในการรับรู้และความเข้าใจหย่ังลึกท่ีทรงเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทยอย่างแท้ จริงพระองค์ทรง ตระหนักเป็นอย่างย่ิงว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นส่ิงที่ชาวบ้านมีอยู่แล้วใช้ประโยชน์เพื่อความอยู่รอดกันมายาวนาน ความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถ่ินซ่ึงความรู้ที่สั่งสมจากการปฏิบตั ิจริงในห้องทดลองทางสังคมเปน็ ความรู้ด้ังเดิมที่ ถูกค้นพบ มีการทดลองใช้แก้ไขดดั แปลงจนเป็นองค์ความรู้ที่สามารถแก้ปญั หาในการดาเนินชีวิตและถ่ายทอดสืบ ต่อกันมาภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาท่ีคนไทยทุกคนควรรู้ควรศึกษาปรับปรุงและพัฒนาให้สามารถ นาภูมิปัญญาท้องถ่ินเหล่านั้นมาแก้ไขปญั หาให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มชุมชนน้ัน ๆอย่าง แท้จริง การพัฒนาภูมิปัญญาศึกษานับเป็นส่ิงสาคัญต่อบทบาทของชุมชนท้องถิ่นที่ได้พยายามสร้างสรรค์เป็น น้าพักน้าแรงร่วมกันของผู้สูงอายุและคนในชุมชนจนกลายเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมประจาถิ่นท่ีเหมาะต่อการ ดาเนินชีวิตหรือภูมิปัญญาของคนในท้องถ่ินนั้นๆแต่ภูมิปัญญาท้องถิ่นส่วนใหญ่เป็นความรู้หรือเป็นสิ่งท่ีได้มาจาก ประสบการณ์หรือเป็นความเช่ือสืบต่อกันมาแต่ยังขาดองค์ความรู้หรือขาดหลักฐานยืนยันหนักแน่นการสร้างการ ยอมรับทเ่ี กดิ จากฐานภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นจงึ เป็นไปได้ยาก ดังนั้น เพ่ือให้เกิดการส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ินกระตุ้นเกิดความภาคภูมิใจใน ภูมิปัญญาของบุคคลในท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทยเกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่คนรุ่นหลัง โรงเรียนผ้สู งู อายเุ ทศบาลเมอื งวงั นา้ เย็นไดด้ าเนนิ การจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ในท้องถิ่นที่เน้นให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาตนเองให้มีความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพในอนาคต รวมท้ังสืบทอด ภูมิปัญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุที่ได้ส่ังสมมา เกิดจากการสืบทอดภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ โดย นกั เรยี นผสู้ ูงอายจุ ะเปน็ ผู้ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ และมีครูพ่ีเล้ียงซ่ึงเป็นคณะครูของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวัง น้าเย็นเป็นผู้เรียบเรียงองค์ความรู้ไปสู่การจัดทาภูมิปัญญาศึกษาให้ปรากฏออกมาเป็นรูปเล่มภูมิปัญญาศึกษา ใช้ เป็นส่วนหนึ่งในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนผู้สูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2560พร้อมทั้งเผยแพร่และ จัดเก็บคลังภูมิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพนั ธว์ ิทยาเพ่อื ให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเหล่าน้ีเกิดการ ถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลังสบื ต่อไป จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการผสมผสานองค์ ความรเู้ พ่ือยกระดับความรู้ของภมู ิปญั ญาน้ันๆเพ่ือนาไปสู่การประยุกต์ใช้และผสมผสานเทคโนโลยีใหม่ๆให้สอดรับ กบั วถิ ีชวี ิตของชุมชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพการนาภูมิปญั ญาไทยกลบั สู่การศึกษาสามารถส่งเสริมให้มีการถ่ายทอด ภูมิปญั ญาในโรงเรยี นเทศบาลมติ รสมั พนั ธ์วิทยาและโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวงั น้าเย็น เกิดการมีส่วนร่วมใน กระบวนการถ่ายทอด เชื่อมโยงความรู้ให้กับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในท้องถิ่น โดยการนาบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถในทอ้ งถน่ิ เข้ามาเป็นวิทยากรให้ความรู้ กับนักเรียนในโอกาสต่างๆหรือการที่โรงเรียนนาองค์ความรู้ในท้องถิ่นเข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการจัดการ เรยี นรู้ สิง่ เหล่าน้ีทาให้การพัฒนาภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ นาไปสูก่ ารสบื ทอดภูมปิ ัญญาศึกษา

เกิดความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรมนักเรียนผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของตนที่ได้ถ่ายทอดสู่คนรุ่น หลังให้คงอยู่ในท้องถ่ิน เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตประจาท้องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตคู่แผ่นดินไทย ตราบนานเท่านาน นยิ ามคา้ ศัพท์ในการจดั ทา้ ภมู ิปัญญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเรื่องที่ผู้สูงอายุเช่ียวชาญท่ีสุด ของ ผู้สูงอายุท่ีเข้าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น มาศึกษาและสืบทอดภูมิปัญญาใน รูปแบบต่าง ๆ มีการสืบทอดภูมิปัญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบที่ โรงเรียนผู้สูงอายุกาหนดข้ึนใช้เป็นส่วนหนึ่งในการจบหลักสูตรการศึกษาเพื่อให้ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุได้รับการ ถา่ ยทอดส่คู นรุ่นหลังและคงอยใู่ นท้องถิน่ ต่อไป ซ่ึงแบ่งภมู ปิ ัญญาศึกษาออกเปน็ 3 ประเภท ได้แก่ 1. ภูมปิ ญั ญาศกึ ษาที่ผ้สู ูงอายเุ ป็นผ้คู ิดคน้ ภมู ปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวติ ในเรอ่ื งท่เี ชี่ยวชาญทสี่ ุด ดว้ ยตนเอง 2. ภูมิปัญญาศึกษาท่ีผู้สูงอายุเปน็ ผู้นาภูมิปญั ญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต จนเกดิ ความเชย่ี วชาญ 3. ภูมิปัญญาศึกษาที่ผู้สูงอายุเป็นผู้นาภูมิปัญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช้ในการดาเนินชวี ิตโดยไม่มี การเปล่ียนแปลงไปจากเดิมจนเกิดความเช่ยี วชาญ ผถู้ า่ ยทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผสู้ งู อายุที่เขา้ ศกึ ษาตามหลกั สตู รของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้า เยน็ เป็นผู้ถา่ ยทอดภมู ิปัญญาการดาเนนิ ชวี ติ ในเร่อื งที่ตนเองเช่ียวชาญมากท่ีสุด นามาถ่ายทอดให้แก่ผู้เรียบเรียงภูมิ ปญั ญาท้องถนิ่ ได้จัดทาข้อมูลเป็นรูปเลม่ ภมู ปิ ญั ญาศึกษา ผู้เรียบเรียงภมู ิปัญญาท้องถ่ิน หมายถึง ผู้ที่นาภูมิปญั ญาในการดาเนินชวี ิตในเร่ืองที่ผู้สูงอายุเชี่ยวชาญ ทส่ี ุดมาเรยี บเรยี งเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร ศึกษาหาข้อมลู เพม่ิ เตมิ จากแหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ จดั ทาเป็นเอกสารรูปเล่ม ใช้ ชอ่ื ว่า “ภมู ปิ ญั ญาศึกษา”ตามรปู แบบทีโ่ รงเรียนผูส้ ูงอายเุ ทศบาลเมอื งวังนา้ เยน็ กาหนด ครูที่ปรึกษา หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าท่ีเป็นครูพ่ีเลี้ยง เป็นผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถ่ินปฏิบัติหน้าที่ เป็นผู้ประเมินผล เปน็ ผู้รับรองภูมิปญั ญาศึกษา รวมทั้งเป็นผู้นาภูมิปัญญาศึกษาเข้ามาสอนในโรงเรียนโดยบูรณา การการจัดการเรียนรู้ตามหลกั สตู รท้องถน่ิ ที่โรงเรียนจดั ทาขน้ึ ภมู ิปัญญาศึกษาเช่ือมโยงสู่สารานกุ รมไทยส้าหรบั เยาวชนฯ 1. ลกั ษณะของภูมิปญั ญาไทย ลกั ษณะของภมู ปิ ัญญาไทย มดี ังนี้ 1. ภูมิปญั ญาไทยมีลักษณะเป็นทง้ั ความรู้ ทกั ษะ ความเชือ่ และพฤตกิ รรม 2. ภูมิปญั ญาไทยแสดงถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และคนกับส่ิงเหนอื ธรรมชาติ 3. ภูมิปัญญาไทยเป็นองค์รวมหรือกจิ กรรมทกุ อยา่ งในวถิ ชี ีวติ ของคน

4. ภมู ิปัญญาไทยเปน็ เร่อื งของการแกป้ ญั หา การจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้ เพื่อความอยรู่ อดของบุคคล ชมุ ชน และสงั คม 5. ภูมปิ ัญญาไทยเป็นพืน้ ฐานสาคญั ในการมองชีวิต เป็นพน้ื ฐานความร้ใู นเรอ่ื งต่างๆ 6. ภูมปิ ัญญาไทยมลี ักษณะเฉพาะ หรอื มเี อกลกั ษณใ์ นตวั เอง 7. ภมู ปิ ญั ญาไทยมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรบั สมดุลในพฒั นาการทางสงั คม 2. คุณสมบัตขิ องภมู ปิ ญั ญาไทย ผู้ทรงภูมปิ ัญญาไทยเป็นผูม้ คี ณุ สมบตั ิตามท่กี าหนดไว้ อยา่ งน้อยดังต่อไปน้ี 1. เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพต่างๆ มีผลงานด้านการพัฒนาท้องถิ่น ของตน และได้รับการยอมรับจากบุคคลทั่วไปอย่างกว้างขวาง ทั้งยังเปน็ ผู้ที่ใช้หลักธรรมคาสอนทางศาสนาของตน เป็นเครื่องยดึ เหนยี่ วในการดารงวิถีชีวติ โดยตลอด 2.เป็นผู้คงแก่เรียนและหมั่นศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ผู้ทรงภูมิปัญญาจะเป็นผู้ที่หมั่นศึกษา แสวงหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอไม่หยุดน่ิง เรียนรู้ท้ังในระบบและนอกระบบ เป็นผู้ลงมือทา โดยทดลองทาตามท่ี เรียนมา อีกท้ังลองผิด ลองถูก หรือสอบถามจากผู้รู้อื่นๆ จนประสบความสาเร็จ เป็นผู้เช่ียวชาญ ซ่ึงโดดเด่นเป็น เอกลักษณ์ในแต่ละด้านอย่างชัดเจน เป็นที่ยอมรับการเปล่ียนแปลงความรู้ใหม่ๆ ท่ีเหมาะสม นามาปรับปรุงรับใช้ ชมุ ชน และสังคมอยเู่ สมอ 3. เป็นผู้นาของท้องถิ่น ผู้ทรงภูมิปญั ญาส่วนใหญ่จะเป็นผู้ท่ีสังคม ในแตล่ ะท้องถิ่นยอมรับให้เป็น ผู้นา ท้ังผู้นาที่ได้รับการแต่งต้ังจากทางราชการ และผู้นาตามธรรมชาติ ซ่ึงสามารถเป็นผู้นาของท้องถ่ินและ ชว่ ยเหลือผูอ้ น่ื ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 4.เป็นผู้ที่สนใจปัญหาของท้องถ่ิน ผู้ทรงภูมิปัญญาล้วนเป็นผู้ที่สนใจปัญหาของท้องถิ่น เอาใจใส่ ศึกษาปัญหา หาทางแก้ไข และช่วยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล้เคียงอย่างไม่ย่อท้อ จนประสบ ความสาเรจ็ เป็นท่ียอมรบั ของสมาชกิ และบุคคลท่วั ไป 5.เป็นผู้ขยันหมั่นเพียร ผู้ทรงภูมิปัญญาเป็นผู้ขยันหมั่นเพียร ลงมือทางานและผลิตผลงานอยู่ เสมอ ปรับปรงุ และพัฒนาผลงานใหม้ คี ุณภาพมากข้ึนอกี ท้ังมุ่งทางานของตนอย่างต่อเน่ือง 6. เปน็ นกั ปกครองและประสานประโยชน์ของท้องถ่ิน ผู้ทรงภูมิปญั ญา นอกจากเป็นผู้ท่ีประพฤติ ตนเปน็ คนดี จนเปน็ ท่ียอมรบั นบั ถือจากบคุ คลทว่ั ไปแล้ว ผลงานทท่ี ่านทายังถือวา่ มีคุณคา่ จงึ เป็นผทู้ ม่ี ที ัง้ \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เป็นผู้ประสานประโยชน์ให้บุคคลเกิดความรัก ความเข้าใจ ความเห็นใจ และมีความ สามัคคีกัน ซึง่ จะทาให้ทอ้ งถิน่ หรือสังคม มคี วามเจริญ มคี ณุ ภาพชีวิตสูงข้นึ กวา่ เดิม 7.มีความสามารถในการถา่ ยทอดความรูเ้ ปน็ เลิศ เมือ่ ผทู้ รงภูมปิ ัญญามีความรคู้ วามสามารถ และ ประสบการณเ์ ปน็ เลิศ มผี ลงานทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ผูอ้ ืน่ และบุคคลท่วั ไป ทั้งชาวบา้ น นกั วชิ าการ นกั เรยี น นิสิต/ นกั ศึกษา โดยอาจเข้าไปศกึ ษาหาความรู้ หรือเชญิ ท่านเหลา่ นัน้ ไป เปน็ ผถู้ ่ายทอดความรไู้ ด้ 8.เป็นผู้มีคู่ครองหรือบริวารดี ผู้ทรงภูมิปัญญา ถ้าเป็นคฤหัสถ์ จะพบว่า ล้วนมีคู่ครองที่ดีที่คอย สนับสนุน ช่วยเหลอื ใหก้ าลังใจ ใหค้ วามร่วมมือในงานที่ท่านทา ช่วยให้ผลิตผลงานที่มีคุณค่า ถ้าเป็นนักบวช ไม่วา่ จะเป็นศาสนาใด ต้องมีบรวิ ารทดี่ ี จึงจะสามารถผลติ ผลงานทมี่ คี ณุ ค่าทางศาสนาได้

9.เป็นผู้มีปญั ญารอบรู้และเชี่ยวชาญจนได้รับการยกย่องวา่ เป็นปราชญ์ ผู้ทรงภูมิปญั ญา ตอ้ งเป็น ผู้มีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญ รวมทั้งสร้างสรรค์ผลงานพิเศษใหม่ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อสังคมและมนุษยชาติอย่าง ตอ่ เนื่องอยเู่ สมอ 3. การจดั แบง่ สาขาภูมปิ ญั ญาไทย จากการศึกษาพบว่า มีการกาหนดสาขาภูมิปัญญาไทยไว้อย่างหลากหลาย ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ และ หลักเกณฑ์ต่างๆ ท่ีหน่วยงาน องค์กร และนักวิชาการแตล่ ะท่านนามากาหนด ในภาพรวมภูมิปัญญาไทย สามารถ แบง่ ได้เป็น 10 สาขา ดังน้ี 1.สาขาเกษตรกรรมหมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และเทคนิคดา้ น การเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพ้ืนฐานคุณค่าดง้ั เดิม ซ่ึงคนสามารถพ่ึงพาตนเองในภาวการณ์ต่างๆ ได้ เช่น การทา การเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไร่นาสวนผสม และสวนผสมผสาน การ แก้ปญั หาการเกษตรดา้ นการตลาด การแก้ปญั หาดา้ นการผลิต การแก้ไขปญั หาโรคและแมลง และการรู้จักปรับใช้ เทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับการเกษตร เป็นต้น 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การรู้จักประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลิตผล เพ่ือ ชะลอการนาเขา้ ตลาด เพือ่ แก้ปญั หาดา้ นการบรโิ ภคอย่างปลอดภยั ประหยัด และเปน็ ธรรม อันเป็นกระบวนการที่ ทาให้ชุมชนท้องถ่ินสามารถพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดท้ังการผลิต และการจาหน่าย ผลิตผลทาง หัตถกรรม เช่น การรวมกลมุ่ ของกลุ่มโรงงานยางพารา กล่มุ โรงสี กลุม่ หัตถกรรม เปน็ ต้น 3. สาขาการแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกัน และรักษาสุขภาพของคนใน ชุมชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเอง ทางด้านสุขภาพ และอนามัยได้ เช่น การนวดแผนโบราณ การดูแล และรักษาสขุ ภาพแบบพนื้ บา้ น การดแู ลและรกั ษาสุขภาพแผนโบราณไทย เป็นต้น 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหมายถึง ความสามารถเกี่ยวกับการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท้ังการอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช้ประโยชน์จากคุณค่าของ ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม อย่างสมดุล และยงั่ ยนื เช่น การทาแนวปะการังเทียม การอนุรักษ์ปา่ ชายเลน การจัดการปา่ ตน้ นา้ และป่าชมุ ชน เป็นต้น 5. สาขากองทนุ และธุรกจิ ชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการสะสม และบริการ กองทนุ และธรุ กจิ ในชมุ ชน ทง้ั ทเี่ ปน็ เงนิ ตรา และโภคทรพั ย์ เพือ่ สง่ เสริมชีวิตความเปน็ อยขู่ องสมาชิกในชมุ ชน เช่น การจดั การเรอ่ื งกองทนุ ของชมุ ชน ในรูปของสหกรณอ์ อมทรัพย์ และธนาคารหมู่บา้ น เปน็ ตน้ 6. สาขาสวัสดิการหมายถึง ความสามารถในการจัดสวสั ดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของคน ให้เกิดความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เช่น การจัดต้ังกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของชุมชน การจัดระบบสวัสดกิ ารบริการในชุมชน การจัดระบบสง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชน เปน็ ตน้ 7. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางด้านศิลปะสาขาต่าง ๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทศั นศิลป์ คตี ศลิ ป์ ศิลปะมวยไทย เป็นต้น 8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานขององค์กรชุมชนต่างๆ ให้ สามารถพัฒนา และบริหารองค์กรของตนเองได้ ตามบทบาท และหน้าท่ีขององค์การ เช่น การจัดการองค์กรของ กลุ่มแมบ่ ้าน กลมุ่ ออมทรัพย์ กลุ่มประมงพ้ืนบา้ น เปน็ ต้น 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถงึ ความสามารถผลิตผลงานเก่ยี วกับดา้ นภาษา ท้ังภาษาถิ่น ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช้ภาษา ตลอดทั้งด้านวรรณกรรมทุกประเภท เช่น การจัดทา สารานุกรมภาษาถิน่ การปริวรรต หนังสือโบราณ การฟืน้ ฟกู ารเรียนการสอนภาษาถ่นิ ของท้องถ่นิ ต่าง ๆ

เปน็ ต้น 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์ และปรับใช้หลักธรรมคาสอน ทางศาสนา ความเช่ือ และประเพณีด้ังเดิมท่ีมีคุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ ให้บังเกิดผลดีต่อบุคคล และสิ่งแวดล้อม เช่น การถ่ายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพันธ์ของภูมิปัญญาไทยภูมิ-ปัญญาไทย สามารถสะท้อนออกมาใน 3 ลักษณะท่ีสมั พนั ธใ์ กล้ชิดกัน คือ 10.1 ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชดิ กันระหว่างคนกับโลก ส่ิงแวดลอ้ ม สัตว์ พืช และธรรมชาติ 10.2 ความสมั พันธข์ องคนกับคนอ่นื ๆ ท่อี ยู่ร่วมกันในสงั คม หรือในชมุ ชน 10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับส่ิงศักด์ิสิทธิ์ส่ิงเหนือธรรมชาติ ตลอดทั้งส่ิงที่ไม่สามารถสัมผัสได้ทั้งหลาย ท้ัง 3 ลักษณะน้ี คือ สามมิตขิ องเรื่องเดียวกัน หมายถึง ชวี ิตชุมชน สะท้อนออกมาถึงภูมิปญั ญาในการดาเนินชีวิตอย่างมี เอกภาพ เหมือนสามมุมของรูปสามเหลี่ยม ภูมิปัญญา จึงเป็นรากฐานในการดาเนินชีวิตของคนไทย ซึ่งสามารถ แสดงใหเ้ หน็ ได้อย่างชดั เจนโดยแผนภาพ ดงั นี้ ลักษณะภมู ิปัญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง คนกับธรรมชาตสิ ิ่งแวดลอ้ ม จะแสดงออกมาในลกั ษณะภูมิ ปัญญาในการดาเนินวิถีชีวิตข้ันพื้นฐานด้านปัจจัยสี่ ซึ่ง ประกอบดว้ ย อาหาร เครอื่ งนุ่งห่มทอ่ี ย่อู าศัย และยารักษา โรค ตลอดท้ังการประกอบอาชีพต่างๆ เป็นต้น ภูมิปัญญา ท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนอ่ืนในสังคม จะ แสดงออกมาในลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และนันทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดทั้ง การสอ่ื สารต่างๆ เปน็ ตน้ ภูมิปญั ญาที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกับ ส่งิ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ สิง่ เหนือธรรมชาติ จะแสดงออกมาในลกั ษณะของสิง่ ศักด์สิ ิทธ์ิ ศาสนา ความเชอ่ื ตา่ งๆ เป็นตน้ 4. คณุ ค่าและความสา้ คัญของภมู ิปญั ญาไทย คุณค่าของภูมิปัญญาไทย ไดแ้ ก่ ประโยชน์ และความสาคัญของภมู ิปัญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได้สร้างสรรค์ และสืบทอดมาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตสู่ปัจจุบัน ทาให้คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ท่ีจะร่วมแรง รว่ มใจสบื สานต่อไปในอนาคต เชน่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม ประเพณไี ทย การมีนา้ ใจ ศกั ยภาพใน การประสานผลประโยชน์ เป็นต้น ภมู ปิ ญั ญาไทยจึงมคี ุณคา่ และความสาคัญดงั นี้ 1. ภูมิปัญญาไทยชว่ ยสร้างชาติให้เปน็ ปึกแผ่น พระมหากษัตรยิ ์ไทยไดใ้ ชภ้ มู ปิ ญั ญาในการสร้างชาติ สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ประเทศชาติมา โดยตลอด ตัง้ แต่สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ดว้ ยพระเมตตา แบบพอ่ ปกครอง ลูก ผู้ใดประสบความเดือดร้อน ก็สามารถตรี ะฆัง แสดงความเดือดร้อน เพ่ือขอรับพระราชทานความช่วยเหลือ ทา ใหป้ ระชาชนมีความจงรักภักดีต่อพระองค์ ต่อประเทศชาติรว่ มกนั สรา้ งบา้ นเรอื นจนเจริญรุง่ เรอื งเปน็ ปึกแผ่น สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใช้ภูมิปัญญากระทายุทธหัตถี จนชนะข้าศึกศัตรูและ ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทยคืนมาได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน พระองค์ ทรงใช้ภูมิปัญญาสร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ และเหล่าพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใช้พระปรีชา

สามารถ แก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ้นภัยพิบัติหลายคร้ัง พระองค์ทรงมีพระปรีชา สามารถหลายด้าน แม้แต่ด้านการเกษตร พระองค์ได้พระราชทานทฤษฎีใหม่ให้แก่พสกนิกร ทั้งด้านการเกษตร แบบสมดุลและย่ังยืน ฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อม นาความสงบร่มเย็นของประชาชนให้กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎีใหม่\" แบ่งออกเป็น 2 ขั้น โดยเริ่มจาก ข้ันตอนแรก ให้เกษตรกรรายย่อย \"มีพออยู่พอกิน\" เป็นข้ันพื้นฐาน โดยการพัฒนาแหล่งน้า ในไร่นา ซ่ึงเกษตรกรจาเป็นท่ีจะต้องได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยราชการ มูลนิธิ และ หนว่ ยงานเอกชน ร่วมใจกนั พัฒนาสงั คมไทย ในข้ันที่สอง เกษตรกรต้องมีความเข้าใจ ในการจัดการในไร่นาของตน และมีการรวมกลุ่มในรูปสหกรณ์ เพ่ือสร้างประสิทธิภาพทางการผลิต และการตลาด การลดรายจ่ายด้านความ เปน็ อยู่ โดยทรงตระหนักถึงบทบาทขององค์กรเอกชน เมอื่ กลมุ่ เกษตรววิ ฒั น์มาข้นั ที่ 2 แล้ว ก็จะมศี ักยภาพ ในการ พัฒนาไปสู่ขั้นที่สาม ซึ่งจะมีอานาจในการต่อรองผลประโยชน์กับสถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองค์กรท่ีเป็น เจ้าของแหล่งพลังงาน ซึง่ เปน็ ปจั จัยหน่ึงในการผลติ โดยมีการแปรรูปผลติ ผล เชน่ โรงสี เพ่ือเพ่มิ มูลค่าผลิตผล และ ขณะเดียวกันมีการจัดต้ังร้านค้าสหกรณ์ เพ่ือลดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ บคุ คลในสงั คม จะเห็นไดว้ า่ มิได้ทรงทอดทงิ้ หลักของความสามคั คีในสงั คม และการจัดตั้งสหกรณ์ ซึ่งทรงสนับสนุน ให้กลุ่มเกษตรกรสร้างอานาจต่อรองในระบบเศรษฐกิจ จึงจะมีคุณภาพชีวิตท่ีดี จึงจัดได้ว่า เป็นสังคมเกษตรท่ี พัฒนาแล้ว สมดังพระราชประสงค์ที่ทรงอุทิศพระวรกาย และพระสติปัญญา ในการพัฒนาการเกษตรไทยตลอด ระยะเวลาแห่งการครองราชย์ 2. สรา้ งความภาคภมู ิใจ และศักดศ์ิ รี เกยี รติภูมิแกค่ นไทย คนไทยในอดีตที่มีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมาก เป็นที่ยอมรับของนานา อารยประเทศ เช่น นายขนมต้มเป็นนักมวยไทย ท่ีมีฝีมือเก่งในการใช้อวัยวะทุกส่วน ทุกท่าของแม่ไม้มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพม่าได้ถึงเก้าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม้ในปัจจุบัน มวยไทยก็ยังถือว่า เป็นศิลปะ ชั้นเย่ียม เป็นที่ นิยมฝึกและแข่งขันในหมู่คนไทยและชาวต่าง ประเทศ ปัจจุบันมีค่ายมวยไทยทั่วโลกไม่ต่ากว่า 30,000 แห่ง ชาวต่างประเทศท่ีได้ฝึกมวยไทย จะรู้สึกยินดีและภาคภูมิใจ ในการท่ีจะใช้กติกา ของมวยไทย เช่น การไหว้ครูมวยไทย การออก คาสั่งในการชกเป็นภาษาไทยทุกคา เช่น คาว่า \"ชก\" \"นับหน่ึงถึงสิบ\" เป็นต้น ถือเป็น มรดก ภูมิปัญญาไทย นอกจากน้ี ภูมิปัญญาไทยท่ีโดด เด่นยังมีอีกมากมาย เช่น มรดกภูมิปัญญาทาง ภาษาและ วรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการมาจนถึงปัจจุบัน วรรณกรรมไทยถือว่า เป็นวรรณกรรมที่มีความไพเราะ ได้อรรถรสครบทุกด้าน วรรณกรรมหลายเรื่องได้รับการ แปลเป็นภาษาต่างประเทศหลายภาษา ด้านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารที่ปรุงง่าย พืชที่ใช้ประกอบอาหารส่วน ใหญ่เป็นพืชสมุนไพร ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น และราคาถูก มี คุณค่าทางโภชนาการ และยังป้องกันโรคได้หลายโรค เพราะส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นพชื สมุนไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ใบมะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็น ตน้ 3. สามารถปรบั ประยุกต์หลักธรรมคาสอนทางศาสนาใชก้ ับวิถชี ีวติ ได้อยา่ งเหมาะสม คนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใช้ในวิถีชีวิต ได้ อย่างเหมาะสม ทาให้คนไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตน เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความอดทน ให้อภยั แกผ่ ้สู านึกผดิ ดารงวิถีชีวติ อยา่ งเรียบง่าย ปกติสุข ทาให้คนในชมุ ชนพง่ึ พากันได้ แม้จะอดอยากเพราะ แห้ง แลง้ แต่ไมม่ ีใครอดตาย เพราะพึง่ พาอาศัย กัน แบง่ ปันกันแบบ \"พริกบ้านเหนือเกลือบ้านใต้\" เป็นตน้ ท้ังหมดนี้สืบ

เนื่องมาจากหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา เป็นการใช้ภูมิปัญญา ในการนาเอาหลักขอพระพุทธศาสนามา ประยุกต์ใช้กับชวี ิตประจาวัน และดาเนินกุศโลบาย ด้านต่างประเทศ จนทาให้ชาวพุทธท่ัวโลกยกย่อง ให้ประเทศ ไทยเปน็ ผู้นาทางพุทธศาสนา และเป็น ท่ีตั้งสานักงานใหญ่องค์การพุทธศาสนิกสัมพนั ธ์ แห่งโลก (พสล.) อยู่เยื้องๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ องคมนตรี) ดารงตาแหน่งประธาน พสล. ต่อจาก ม.จ.หญงิ พนู พศิ มยั ดิศกุล 4. สรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งคนในสงั คม และธรรมชาตไิ ดอ้ ย่างย่ังยนื ภมู ิปัญญาไทยมีความเด่นชัดในเร่ืองของการยอมรับนับถือ และให้ความสาคัญแก่คน สังคม และ ธรรมชาติอย่างยิ่ง มีเครื่องช้ีที่แสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนมากมาย เช่น ประเพณีไทย 12 เดือน ตลอดท้ังปี ล้วน เคารพคุณค่าของธรรมชาติ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง เป็นต้น ประเพณีสงกรานต์เป็น ประเพณีที่ทาใน ฤดูร้อนซึ่งมีอากาศร้อน ทาให้ต้องการความเย็น จึงมีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาดบ้านเรือน และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม มีการแห่นางสงกรานต์ การทานายฝนว่าจะตกมากหรือน้อยในแต่ละปี ส่วนประเพณี ลอยกระทง คุณค่าอยู่ที่การบูชา ระลึกถึงบุญคุณของน้า ที่หล่อเล้ียงชีวิตของ คน พืช และสัตว์ ให้ได้ใช้ทั้งบริโภค และอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแม่น้า ลาธาร บูชาแม่น้าจากตัวอย่างข้างต้น ล้วนเป็น ความสัมพันธ์ระหวา่ งคนกับสังคมและธรรมชาติ ท้ังสนิ้ ในการรักษาป่าไม้ต้นน้าลาธาร ได้ประยุกต์ให้มีประเพณีการบวชป่า ให้คนเคารพส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม ยังความอุดมสมบูรณ์แก่ต้นน้า ลาธาร ให้ฟื้นสภาพกลับคืนมาได้มาก อาชีพ การเกษตรเปน็ อาชีพหลกั ของคนไทย ที่คานึงถึงความสมดลุ ทาแต่น้อยพออยู่พอกิน แบบ \"เฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน\" ของพอ่ ทองดี นันทะ เมื่อเหลือกิน ก็แจกญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน บ้านใกล้เรือนเคียง นอกจากนี้ ยังนาไปแลกเปลี่ยนกับ สิ่งของอย่างอื่น ท่ีตนไม่มี เมื่อเหลือใช้จริงๆ จึงจะนาไปขาย อาจกล่าวได้ว่า เป็นการเกษตรแบบ \"กิน-แจก-แลก- ขาย\" ทาใหค้ นในสงั คมได้ช่วยเหลือเก้อื กลู แบง่ ปนั กัน เคารพรกั นบั ถือ เป็นญาตกิ นั ทง้ั หม่บู ้าน จงึ อยูร่ ่วมกันอย่าง สงบสุข มีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น ธรรมชาติไม่ถูกทาลายไปมากนัก เน่ืองจากทาพออยู่พอกิน ไม่โลภมาก และไมท่ าลายทุกอยา่ งผดิ กับในปัจจุบัน ถือเป็นภูมิปัญญาทส่ี ร้างความ สมดุลระหวา่ งคน สงั คม และธรรมชาติ 5. เปล่ียนแปลงปรบั ปรุงได้ตามยคุ สมยั แม้ว่ากาลเวลาจะผ่านไป ความรู้สมัยใหม่ จะหลั่งไหลเข้ามามาก แต่ภูมิปัญญาไทย ก็สามารถ ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับยุคสมัย เช่น การรู้จักนาเครื่องยนต์มาติดต้ังกับเรือ ใส่ใบพัด เป็นหางเสือ ทาให้เรือ สามารถแล่นไดเ้ รว็ ข้นึ เรียกวา่ เรือหางยาว การรู้จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟื้นคืนธรรมชาตใิ ห้ อุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดิมที่ถูกทาลายไป การรู้จักออมเงิน สะสมทุนให้สมาชิกกู้ยืม ปลดเปล้ืองหน้ีสิน และจัด สวัสดิการแก่สมาชิก จนชุมชนมีความมัน่ คง เข้มแข็ง สามารถช่วยตนเองได้หลายร้อยหมู่บ้านทั่วประเทศ เช่น กลุ่ม ออมทรัพยค์ ีรีวง จังหวัดนครศรธี รรมราช จัดในรูปกองทนุ หมนุ เวียนของชุมชน จนสามารถช่วยตนเองได้ เม่ือป่าถูกทาลาย เพราะถูกตัดโค่น เพ่ือปลูกพืชแบบเด่ียว ตามภูมิปัญญาสมัยใหม่ ท่ีหวังร่ารวย แต่ในที่สุด ก็ขาดทุน และมหี นส้ี ิน สภาพแวดล้อมสญู เสยี เกดิ ความแหง้ แล้ง คนไทยจงึ คิดปลกู ป่า ท่ีกินได้ มีพืชสวน พืชป่าไม้ผล พืชสมุนไพร ซึ่งสามารถมีกินตลอดชีวิตเรียกว่า \"วนเกษตร\" บางพื้นที่ เม่ือป่าชุมชนถูกทาลาย คนใน ชุมชนก็รวมตวั กนั เป็นกลมุ่ รกั ษาปา่ ร่วมกันสร้างระเบียบ กฎเกณฑก์ ันเอง ให้ทุกคนถือปฏิบัตไิ ด้ สามารถรักษาป่า ได้อย่างสมบูรณ์ดังเดิม เม่ือปะการังธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไม่มีท่ีอยู่อาศัย ประชาชนสามารถสร้าง \"อูหยัม\" ขึ้น

เป็นปะการงั เทียม ใหป้ ลาอาศัยวางไข่ และแพรพ่ นั ธ์ใุ ห้เจรญิ เตบิ โต มจี านวนมากดงั เดิมได้ ถอื เป็นการใชภ้ ูมิปญั ญา ปรับปรงุ ประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ามยคุ สมัย สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ เล่มที่ 19 ใหค้ วามหมายของคาว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ของชาวบ้าน ซ่ึงได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ท่ีส่ังสมมาแต่ บรรพบุรุษ สบื ทอดจากคนรนุ่ หนึง่ ไปสคู่ นอีกรุน่ หนึ่ง ระหว่างการสบื ทอดมีการปรบั ประยกุ ต์ และเปลีย่ นแปลง จน อาจเกิดเปน็ ความรู้ใหมต่ ามสภาพการณ์ทางสงั คมวฒั นธรรม และ สิ่งแวดลอ้ ม ภูมิปญั ญาเป็นความรทู้ ่ปี ระกอบไปด้วยคณุ ธรรม ซงึ่ สอดคล้องกับวิถชี วี ิตดง้ั เดิมของชาวบ้านในวถิ ี ด้ังเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กัน การทามาหากิน การอยู่ ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรู้เป็นคุณธรรม เม่ือผู้คนใช้ความรู้นั้นเพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธ์ที่ดีเป็น ความสัมพันธ์ท่ีมีความสมดลุ ที่เคารพกันและกัน ไม่ทาร้ายทาลายกัน ทาให้ทุกฝ่ายทุกส่วนอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ ชุมชนด้ังเดิมจึงมีกฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกัน มีคนเฒ่าคนแก่เป็นผู้นา คอยให้คาแนะนาตักเตือน ตัดสิน และ ลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ้านเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้า ป่า เขา ข้าว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบ้านเคารพผู้หลักผู้ใหญ่ พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ทั้งที่มีชีวิตอยู่และล่วงลับไปแล้วภูมิปัญญาจึงเป็นความรู้ที่มี คุณธรรม เป็นความรู้ที่มีเอกภาพของทุกส่ิงทุกอย่าง เป็นความรู้ว่า ทุกส่ิงทุกอย่างสัมพันธ์กันอย่างมีความสมดุล เราจึงยกย่องความรู้ขั้นสูงส่ง อันเป็นความรู้แจ้งในความจริงแห่งชีวติ นี้ว่า \"ภูมิปัญญา\"ความคิดและการแสดงออก เพ่ือจะเข้าใจภูมิปัญญาชาวบ้าน จาเป็นตอ้ งเข้าใจความคิดของชาวบ้านเกี่ยวกับโลก หรือท่ีเรียกว่า โลกทัศน์ และ เกี่ยวกับชีวิต หรือท่ีเรียกว่า ชีวทัศน์ สิ่งเหล่านี้เป็นนามธรรม อันเก่ียวข้องสัมพันธ์โดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะต่างๆ ที่เป็นรูปธรรม แนวคิดเรื่องความสมดุลของชีวิต เป็นแนวคิดพ้ืนฐานของภูมิปัญญาชาวบ้าน การแพทยแ์ ผนไทย หรอื ท่เี คยเรยี กกนั ว่า การแพทยแ์ ผนโบราณนัน้ มหี ลักการวา่ คนมสี ขุ ภาพดี เมือ่ รา่ งกายมีความ สมดลุ ระหวา่ งธาตุทัง้ 4 คอื ดนิ น้า ลม ไฟ คนเจ็บไข้ได้ปว่ ยเพราะธาตขุ าดความสมดุล จะมีการปรับธาตุ โดยใชย้ า สมุนไพร หรือวิธีการอ่ืนๆ คนเป็นไข้ตัวร้อน หมอยาพื้นบ้านจะให้ยาเย็น เพื่อลดไข้ เป็นต้น การดาเนิน ชีวิตประจาวันก็เช่นเดียวกัน ชาวบ้านเช่ือว่า จะต้องรักษาความสมดุลในความสัมพันธ์สามด้าน คือ ความสัมพันธ์ กับคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านในชุมชน ความสัมพันธ์ท่ีดีมีหลักเกณฑ์ ท่ีบรรพบุรุษได้สั่งสอนมา เช่น ลูกควรปฏิบัติอย่างไรกับพ่อแม่ กับญาติพี่น้อง กับผู้สูงอายุ คนเฒ่าคนแก่ กับเพื่อนบ้าน พ่อแม่ควรเลี้ยงดูลูก อย่างไร ความเอ้ืออาทรต่อกันและกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกข์ยาก หรือมีปัญหา ใ ครมี ความสามารถพิเศษก็ใช้ความสามารถนั้นช่วยเหลือผู้อ่ืน เช่น บางคนเป็นหมอยา ก็ช่วยดูแลรักษาคนเจ็บป่วยไม่ สบาย โดยไม่คิดค่ารักษา มีแต่เพียงการยกครู หรือการราลึกถึงครูบาอาจารย์ท่ีประสาทวิชามาให้เท่าน้ัน หมอยา ต้องทามาหากนิ โดยการทานา ทาไร่ เลีย้ งสตั ว์เหมือนกับชาวบา้ นอื่นๆ บางคนมีความสามารถพิเศษดา้ นการทามา หากิน กช็ ว่ ยสอนลกู หลานใหม้ ีวิชาไปดว้ ย ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนในครอบครัว ในชุมชน มีกฎเกณฑ์เป็นข้อปฏิบัติ และข้อห้ามอย่างชัดเจน มีการแสดงออกทางประเพณี พิธีกรรม และกิจกรรมต่างๆ เช่น การรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ การบายศรีสู่ขวัญ เป็นต้น ความสมั พันธ์กบั ธรรมชาติ ผูค้ นสมยั กอ่ นพึง่ พาอาศยั ธรรมชาตแิ ทบทุกดา้ น ตั้งแต่อาหารการกิน เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่ อาศัย และยารักษาโรค วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยียังไม่พฒั นาก้าวหน้าเหมือนทุกวันน้ี ยังไม่มีระบบการค้าแบบ

สมัยใหม่ ไมม่ ตี ลาด คนไปจบั ปลาล่าสัตว์ เพื่อเปน็ อาหารไปวันๆ ตัดไม้ เพ่ือสร้างบา้ น และใชส้ อยตามความจาเปน็ เท่าน้ัน ไม่ได้ทาเพ่ือการค้า ชาวบ้านมีหลักเกณฑ์ในการใช้สิ่งของในธรรมชาติ ไม่ตัดไม้อ่อน ทาให้ต้นไม้ในป่าขึ้น แทนตน้ ท่ถี ูกตดั ไปไดต้ ลอดเวลาชาวบ้านยังไม่รูจ้ ักสารเคมี ไม่ใชย้ าฆ่าแมลง ฆ่าหญ้า ฆ่าสัตว์ ไม่ใชป้ ุ๋ยเคมี ใชส้ ่ิงของ ในธรรมชาติให้เกื้อกูลกนั ใชม้ ูลสัตว์ ใบไม้ใบ หญ้าทีเ่ นา่ เปอ่ื ยเป็นปยุ๋ ทาใหด้ นิ อุดมสมบรู ณ์ นา้ สะอาด และไม่เหอื ด แห้ง ชาวบ้านเคารพธรรมชาติ เช่ือว่า มีเทพมีเจ้าสถิตอยู่ในดิน น้า ป่า เขา สถานที่ทุกแห่ง จะทาอะไรต้องขอ อนุญาต และทาด้วยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบา้ นรู้คุณธรรมชาติ ท่ีไดใ้ ห้ชวี ิตแก่ตน พธิ ีกรรมต่างๆ ล้วน แสดงออกถึงแนวคิดดังกล่าว เช่น งานบุญพิธี ที่เก่ียวกับ น้า ข้าว ป่าเขา รวมถึงสัตว์ บ้านเรือน เคร่ืองใช้ต่างๆ มี พิธสี ูข่ วญั ข้าว สูข่ วญั ควาย สขู่ วญั เกวยี น ทางอีสานมพี ิธีแฮกนา หรือแรกนา เลยี้ งผีตาแฮก มีงานบุญบา้ น เพื่อเล้ียง ผี หรอื สิง่ ศกั ดิส์ ิทธป์ิ ระจาหมบู่ า้ น เปน็ ต้น ความสัมพันธ์กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ชาวบ้านรู้ว่า มนุษย์เป็นเพียงส่วนเล็กๆ ส่วนหน่ึง ของ จกั รวาล ซ่ึงเต็มไปดว้ ยความเร้นลับ มีพลัง และอานาจ ท่ีเขาไม่อาจจะหาคาอธิบายได้ ความเร้นลับดังกล่าวรวมถึง ญาติพี่น้อง และผู้คนที่ล่วงลับไปแล้ว ชาวบ้านยังสัมพันธ์กับพวกเขา ทาบุญ และราลึกถึงอย่างสม่าเสมอทุกวัน หรือในโอกาสสาคัญๆ นอกน้ันเป็นผีดี ผีร้าย เทพเจ้าต่างๆ ตามความเชื่อของแต่ละแห่ง ส่ิงเหล่านี้สิงสถิตอยู่ในส่ิง ตา่ งๆ ในโลก ในจักรวาล และอยบู่ นสรวงสวรรค์การทามาหากิน แม้วิถีชีวิตของชาวบ้านเมื่อก่อนจะดูเรียบง่ายกว่าทุกวันนี้ และยังอาศัยธรรมชาติ และแรงงาน เป็นหลัก ในการทามาหากิน แต่พวกเขาก็ต้องใช้สติปัญญา ท่ีบรรพบุรุษถ่ายทอดมาให้ เพื่อจะได้อยู่รอด ท้ังนี้ เพราะปัญหาต่างๆ ในอดีตก็ยังมีไม่น้อย โดยเฉพาะเมื่อครอบครัวมีสมาชิกมากขึ้น จาเป็นต้องขยายท่ีทากิน ต้อง หักร้างถางพง บุกเบิก พื้นที่ทากินใหม่ การปรับพ้ืนท่ีป้ันคันนา เพื่อทานา ซึ่งเป็นงานที่หนัก การทาไร่ทานา ปลูก พืชเลี้ยงสัตว์ และดูแลรักษาให้เติบโต และได้ผล เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้ความสามารถ การจับปลาล่าสัตว์ก็มี วิธีการ บางคนมีความสามารถมากรู้ว่า เวลาไหน ที่ใด และวิธีใด จะจับปลาไดด้ ีที่สุด คนที่ไม่เก่งก็ต้องใช้เวลานาน และไดป้ ลาน้อย การลา่ สัตว์ก็เชน่ เดยี วกนั การจัดการแหล่งน้า เพื่อการเกษตร ก็เป็นความรู้ความสามารถ ท่ีมีมาแต่โบราณ คนทา ง ภาคเหนอื รู้จักบริหารน้า เพ่ือการเกษตร และเพื่อการบรโิ ภคต่างๆ โดยการจัดระบบเหมอื งฝาย มกี ารจัดแบ่งปนั น้า กันตามระบบประเพณีท่ี สืบทอดกันมา มีหัวหน้าท่ีทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตามสัดส่วน และตาม พ้ืนท่ีทากิน นับเป็นความรู้ท่ีทาให้ชุมชนต่างๆ ที่อาศัยอยู่ใกล้ลาน้า ไม่ว่าต้นน้า หรือปลายน้า ได้รับการแบ่งปันน้า อย่างยตุ ิธรรม ทกุ คนไดป้ ระโยชน์ และอย่รู ว่ มกันอย่างสันติ ชาวบา้ นรจู้ กั การแปรรปู ผลิตผลในหลายรปู แบบ การถนอมอาหารให้กินได้นาน การดองการหมัก เช่น ปลารา้ น้าปลา ผกั ดอง ปลาเค็ม เน้อื เคม็ ปลาแหง้ เนอื้ แหง้ การแปรรูปข้าว ก็ทาไดม้ ากมายนับร้อยชนิด เช่น ขนมตา่ งๆ แต่ละพิธกี รรม และแตล่ ะงานบุญประเพณี มีข้าวและขนมในรูปแบบไม่ซ้ากัน ตั้งแต่ขนมจีน สังขยา ไป ถงึ ขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอ่ืนๆ ซ่ึงยังพอมีให้เห็นอยู่จานวนหน่ึง ในปัจจุบันส่วนใหญ่ปรับเปล่ียน มาเปน็ การผลติ เพอื่ ขาย หรอื เปน็ อตุ สาหกรรมในครวั เรอื น ความรู้เรื่องการปรุงอาหารก็มีอยู่มากมาย แต่ละท้องถ่ินมีรูปแบบ และรสชาติแตกต่างกันไป มี มากมายนับร้อยนับพันชนิด แม้ในชวี ิตประจาวัน จะมีเพียงไม่ก่ีอย่าง แต่โอกาสงานพิธี งาน เล้ียง งานฉลองสาคัญ จะมีการจัดเตรียมอาหารอย่างดี และพิถีพิถันการทามาหากินในประเพณีเดิมนั้น เป็นท้ังศาสตร์และศิลป์ การ

เตรียมอาหาร การจัดขนม และผลไม้ ไม่ได้เป็นเพียงเพื่อให้รับประทานแล้วอร่อย แต่ให้ได้ความสวยงาม ทาให้ สามารถสัมผัสกับอาหารนั้น ไม่เพียงแต่ทางปาก และรสชาติของล้ิน แต่ทางตา และทางใจ การเตรียมอาหารเป็น งานศิลปะ ท่ีปรุงแต่ด้วยความตั้งใจ ใช้เวลา ฝีมือ และความรู้ความสามารถ ชาวบ้านสมัยก่อนส่วนใหญ่จะทานา เป็นหลัก เพราะเมื่อมีข้าวแล้ว ก็สบายใจ อย่างอ่ืนพอหาได้จากธรรมชาติ เสร็จหน้านาก็จะทางานหัตถกรรม การ ทอผ้า ทาเสื่อ เลี้ยงไหม ทาเครอ่ื งมือ สาหรับจบั สตั ว์ เครื่องมือการเกษตร และ อปุ กรณ์ต่างๆ ท่ีจาเปน็ หรือเตรียม พืน้ ท่ี เพ่อื การทานาคร้ังตอ่ ไป หัตถกรรมเป็นทรัพย์สิน และมรดกทางภูมิปัญญาที่ย่ิงใหญ่ที่สุดอย่างหน่ึงของบรรพบุรุษ เพราะ เป็นส่ือที่ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความเชื่อ และคุณค่าต่างๆ ท่ีสั่งสมมาแต่นมนาน ลายผ้าไหม ผ้า ฝ้าย ฝีมือในการทออย่างประณีต รูปแบบเครื่องมือ ท่ีสานด้วยไม้ไผ่ และอุปกรณ์ เครื่องใช้ไม้สอยต่างๆ เคร่ือง ดนตรี เครื่องเล่น สิ่งเหล่านี้ได้ถูกบรรจงสร้างข้ึนมา เพื่อการใช้สอย การทาบุญ หรือการอุทิศให้ใครคนหนึ่ง ไม่ใช่ เพ่ือการคา้ ขาย ชาวบา้ นทามาหากินเพียงเพ่ือการยังชีพ ไม่ได้ทาเพอ่ื ขาย มีการนาผลิตผลส่วนหน่ึงไปแลกส่ิงของท่ี จาเป็น ท่ีตนเองไม่มี เช่น นาข้าวไป แลกเกลือ พริก ปลา ไก่ หรือเส้ือผ้า การขายผลิตผลมีแต่เพียงส่วนน้อย และ เมื่อมีความจาเป็นต้องใช้เงิน เพื่อเสียภาษีให้รัฐ ชาวบ้านนาผลิตผล เช่น ข้าว ไปขายในเมืองให้กับพ่อค้า หรือขาย ให้กบั พอ่ คา้ ท้องถิ่น เช่น ทางภาคอสี าน เรียกวา่ \"นายฮ้อย\" คนเหล่าน้ีจะนาผลิตผลบางอย่าง เช่น ข้าว ปลาร้า ววั ควาย ไปขายในท่ีไกลๆ ทางภาคเหนือมพี อ่ ค้าวัวตา่ งๆ เป็นต้น แม้ว่าความรู้เร่ืองการค้าขายของคนสมัยก่อน ไม่อาจจะนามาใช้ในระบบตลาดเช่นปัจจุบันได้ เพราะสถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก แต่การค้าท่ีมีจริยธรรมของพ่อค้าในอดีต ที่ไม่ได้หวังแต่เพียงกาไร แต่คานึงถึงการช่วยเหลือ แบ่งปันกันเป็นหลัก ยังมีคุณค่าสาหรับปัจจุบัน นอกน้ัน ในหลายพ้ืนที่ในชนบท ระบบ การแลกเปลี่ยนส่ิงของยังมีอยู่ โดยเฉพาะในพ้ืนที่ยากจน ซ่ึงชาวบ้านไม่มีเงินสด แต่มีผลิตผลต่างๆ ระบบการ แลกเปล่ยี นไมไ่ ดย้ ึดหลักมาตราช่ังวดั หรือการตรี าคาของส่ิงของ แตแ่ ลกเปล่ียน โดยการคานึงถึงสถานการณ์ของผู้ แลกท้ังสองฝ่าย คนท่ีเอาปลาหรือไก่มาขอแลกข้าว อาจจะได้ข้าวเป็นถัง เพราะเจ้าของข้าวคานึงถึงความจาเป็น ของครอบครวั เจ้าของไก่ ถ้าหากตรี าคาเป็นเงิน ข้าวหนง่ึ ถงั ย่อมมคี า่ สงู กว่าไก่หนึ่งตวั การอย่รู ่วมกนั ในสงั คม การอยู่ร่วมกันในชุมชนดั้งเดิมน้ัน ส่วนใหญ่จะเป็นญาติพ่ีน้องไม่กี่ตระกูล ซ่ึงได้อพยพย้ายถิ่นฐานมาอยู่ หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได้ท้ังชุมชน มีคนเฒ่าคนแก่ท่ีชาวบ้านเคารพนับถือเป็นผู้นาหน้าที่ของผู้นา ไม่ใช่การส่ัง แต่เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา มีความแม่นยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวิต ตัดสินไกล่เกล่ีย หากเกิดความขดั แย้ง ช่วยกันแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ท่ีเกดิ ข้ึน ปัญหาในชุมชนกม็ ีไมน่ อ้ ย ปญั หาการทามาหากิน ฝนแล้ง น้าท่วม โรคระบาด โจรลักวัวควาย เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีปัญหาความขัดแย้งภายในชุมชน หรือระหว่างชุมชน การละเมิดกฎหมาย ประเพณี ส่วนใหญ่จะเป็นการ \" ผิดผี\" คือ ผีของบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้สร้างกฎเกณฑ์ต่างๆ ไว้ เชน่ กรณที ีช่ ายหนุม่ ถูกเนอ้ื ต้องตัวหญงิ สาวทีย่ ังไมแ่ ตง่ งาน เป็นต้น หากเกิดการผิดผีขึ้นมา ก็ต้องมีพิธีกรรมขอขมา โดยมีคนเฒ่าคนแก่เป็นตัวแทนของบรรพบุรุษ มีการวา่ กล่าวส่ังสอน และชดเชยการทาผิดน้ัน ตามกฎเกณฑ์ที่วาง ไว้ ชาวบ้านอยู่อย่างพ่ึงพาอาศัยกัน ยามเจ็บไข้ได้ป่วย ยามเกิดอุบัติเหตุเภทภัย ยามท่ีโจรขโมยวัวควายข้าวของ การช่วยเหลือกันทางานท่ีเรียกกันว่า การลงแขก ท้ังแรงกายแรงใจที่มีอยู่ก็จะแบง่ ปนั ช่วยเหลือ เอื้ออาทรกัน การ

แลกเปลี่ยนสิ่งของ อาหารการกิน และอื่นๆ จึงเกี่ยวข้องกับวิถีของชมุ ชน ชาวบ้านช่วยกันเก็บเก่ียวข้าว สร้างบ้าน หรอื งานอ่ืนทต่ี ้องการคนมากๆ เพื่อจะได้เสรจ็ โดยเรว็ ไม่มกี ารจ้าง กรณีตัวอย่างจากการปลูกข้าวของชาวบ้าน ถ้าปีหน่ึงชาวนาปลูกข้าวได้ผลดี ผลิตผลท่ีได้จะใช้เพ่ือการ บริโภคในครอบครวั ทาบุญท่ีวัด เผ่อื แผ่ใหพ้ นี่ ้องที่ขาดแคลน แลกของ และเก็บไว้ เผ่ือว่าปีหน้าฝนอาจแล้ง น้าอาจ ทว่ ม ผลิตผล อาจไมด่ ีในชมุ ชนตา่ งๆ จะมผี ้มู คี วามรู้ความสามารถหลากหลาย บางคนเก่งทางการรกั ษาโรค บางคน ทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเลี้ยงสัตว์ บางคนทางด้านดนตรีการละเล่น บางคนเก่งทางด้านพิธีกรรม คน เหล่าน้ีต่างก็ใช้ความสามารถ เพ่ือประโยชน์ของชุมชน โดยไม่ถือเป็นอาชีพ ท่ีมีค่าตอบแทน อย่างมากก็มี \"ค่าครู\" แต่เพยี งเลก็ นอ้ ย ซ่งึ ปกตแิ ล้ว เงนิ จานวนนัน้ ก็ใช้สาหรับเครื่องมือประกอบพธิ ีกรรม หรือ เพื่อทาบุญที่วดั มากกวา่ ที่หมอยา หรอื บุคคลผู้นัน้ จะเกบ็ ไวใ้ ชเ้ อง เพราะแทท้ ี่จริงแลว้ \"วิชา\" ทคี่ รถู า่ ยทอดมาให้แก่ลกู ศิษย์ จะต้องนาไปใช้ เพ่ือประโยชน์แก่สังคม ไม่ใช่เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว การตอบแทนจึงไม่ใช่เงินหรือสิ่งของเสมอไป แต่เป็นการ ช่วยเหลอื เก้ือกูลกนั โดยวธิ กี ารต่างๆดว้ ยวิถชี ีวติ เช่นนี้ จงึ มีคาถาม เพอื่ เปน็ การสอนคนรุ่นหลังว่า ถ้าหากคนหน่ึงจับ ปลาช่อนตัวใหญ่ได้หนึ่งตัว ทาอย่างไรจึงจะกินได้ทั้งปี คนสมัยนี้อาจจะบอกว่า ทาปลาเค็ม ปลาร้า หรือเก็บรักษา ด้วยวิธีการต่างๆ แต่คาตอบท่ีถูกต้อง คือ แบ่งปันให้พี่น้อง เพ่ือนบ้าน เพราะเมื่อเขาได้ปลา เขาก็จะทากับเรา เช่นเดียวกัน ชีวิตทางสังคมของหมู่บา้ น มีศูนย์กลางอยู่ท่ีวดั กิจกรรมของส่วนรวม จะทากันท่ีวัด งานบุญประเพณี ตา่ งๆ ตลอดจนการละเล่นมหรสพ พระสงฆ์เป็น ผ้นู าทางจติ ใจ เป็นครูทีส่ อนลกู หลานผชู้ าย ซ่ึงไปรับใชพ้ ระสงฆ์ หรือ \"บวชเรยี น\" ทง้ั นี้เพราะก่อนนย้ี งั ไมม่ ีโรงเรียน วัดจงึ เปน็ ท้ังโรงเรยี น และหอประชุม เพ่ือกจิ กรรมต่างๆ ตอ่ เมอ่ื โรงเรยี นมขี นึ้ และแยกออกจากวัด บทบาทของวดั และของพระสงฆ์ จึงเปลีย่ นไป งานบุญประเพณีในชุมชนแต่ก่อนมีอยู่ทุกเดือน ต่อมาก็ลดลงไป หรือสองสามหมู่บ้านร่วมกันจัด หรือ ผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกัน เช่น งานเทศน์มหาชาติ ซึ่งเปน็ งานใหญ่ หมู่บา้ นเล็กๆ ไม่อาจจะจัดได้ทุกปี งานเหล่านี้มี ท้ังความเชอ่ื พิธีกรรม และความสนุกสนาน ซงึ่ ชุมชนแสดงออกร่วมกัน ระบบคุณคา่ ความเช่ือในกฎเกณฑ์ประเพณี เป็นระเบียบทางสังคมของชมุ ชนดง้ั เดิม ความเช่ือนี้เป็นรากฐานของระบบ คุณค่าต่างๆ ความกตัญญูรู้คุณต่อพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ความเมตตาเอ้ืออาทรต่อผู้อ่ืน ความเคารพตอ่ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ใน ธรรมชาติรอบตวั และในสากลจกั รวาล ความเชือ่ \"ผ\"ี หรือส่งิ ศกั ดิส์ ิทธ์ใิ นธรรมชาติ เป็นทมี่ าของการดาเนินชีวิต ท้ังของส่วนบุคคล และของชุมชน โดยรวมการเคารพในผีปู่ตา หรือผีปู่ย่า ซึ่งเป็นผีประจาหมู่บ้าน ทาให้ชาวบ้านมีความเป็นหนึ่งเดียวกั น เป็น ลูกหลานของปู่ตาคนเดียวกัน รักษาป่าท่ีมีบ้านเล็กๆ สาหรับผี ปลูกอยู่ติดหมู่บ้าน ผีป่า ทาให้คนตัดไม้ด้วยความ เคารพ ขออนุญาตเลือกตัดต้นแก่ และปลูกทดแทน ไม่ท้ิงส่ิงสกปรกลงแม่น้า ด้วยความเคารพในแม่คงคา กินข้าว ดว้ ยความเคารพ ในแมโ่ พสพ คนโบราณกนิ ข้าวเสรจ็ จะไหวข้ ้าว พธิ ีบายศรีสู่ขวญั เป็นพิธีรื้อฟ้ืน กระชับ หรือสร้างความสัมพันธ์ระหวา่ งผู้คน คนจะเดินทางไกล หรือกลับ จากการเดินทาง สมาชิกใหม่ ในชมุ ชน คนปว่ ย หรอื กาลังฟ้ืนไข้ คนเหล่านีจ้ ะได้รับพธิ สี ูข่ วญั เพ่อื ให้เป็นสิริมงคล มี ความอยู่เยน็ เปน็ สุข นอกน้นั ยงั มพี ิธสี บื ชะตาชวี ิตของบุคคล หรอื ของชุมชน

นอกจากพิธีกรรมกับคนแล้ว ยังมีพิธีกรรมกับสัตว์และธรรมชาติ มีพิธีสู่ขวัญข้าว สู่ขวัญควาย สู่ขวัญ เกวียน เป็นการแสดงออกถึงการขอบคุณ การขอขมา พิธีดังกล่าวไม่ได้มีความหมายถึงว่า ส่ิงเหล่านี้มีจิต มีผีในตัว มันเอง แต่เป็นการแสดงออก ถึงความสัมพันธก์ ับจติ และส่ิงศกั ด์สิ ทิ ธิ์ อนั เปน็ สากลในธรรมชาตทิ ัง้ หมด ทาให้ผู้คนมี ความสัมพันธ์อันดีกับทุกสิ่ง คนขับแท็กซี่ในกรุงเทพฯ ที่มาจากหมู่บ้าน ยังซ้ือดอกไม้ แล้วแขวนไว้ที่กระจกในรถ ไม่ใช่เพ่ือเซ่นไหว้ผีในรถแท็กซ่ี แต่เป็นการราลึกถึงส่ิงศักด์ิสิทธิ์ ใน สากลจักรวาล รวมถึงที่สิงอยู่ในรถคันนั้นผู้คน สมยั กอ่ นมีความสานกึ ในข้อจากดั ของตนเอง รู้วา่ มนุษย์มีความออ่ นแอ และเปราะบาง หากไม่รักษาความสัมพันธ์ อันดี และไม่คงความสมดลุ กบั ธรรมชาติรอบตัวไว้ เขาคงไมส่ ามารถมชี วี ิตได้อย่างเปน็ สขุ และยนื นาน ผคู้ นทวั่ ไปจึง ไม่มีความอวดกล้าในความสามารถของตน ไม่ท้าทายธรรมชาติ และสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน และ รักษากฎระเบยี บประเพณีอยา่ งเคร่งครัด ชีวิตของชาวบ้านในรอบหนึ่งปี จึงมีพิธีกรรมทุกเดือน เพื่อแสดงออกถึงความเชื่อ และความสัมพันธ์ ระหว่างผู้คนในสังคม ระหว่างคนกับธรรมชาติ และระหว่างคนกับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิต่างๆ ดังกรณีงานบุญประเพณีของ ชาวอสี านทีเ่ รียกวา่ ฮตี สบิ สอง คอื เดือนอา้ ย (เดือนท่ีหนึ่ง) บญุ เข้ากรรม ให้พระภิกษุเข้าปริวาสกรรมเดือนย่ี (เดือน ท่ีสอง) บุญคูณลาน ให้นาข้าวมากองกันที่ลาน ทาพิธีก่อนนวด เดือนสาม บุญข้าวจี่ ให้ถวายข้าวจ่ี (ข้าวเหนียวป้ัน ชุบไข่ทาเกลือนาไปย่างไฟ)เดือนสี่ บุญพระเวส ให้ฟังเทศน์มหาชาติ คือ เทศน์เร่ืองพระเวสสันดรชาดก เดือนห้า บุญสรงน้า หรือบุญสงกรานต์ ให้สรงน้าพระ ผู้เฒ่าผู้แก่ เดือนหก บุญบัง้ ไฟ บูชาพญาแถน ตามความเช่ือเดิม และ บุญวิสาขบูชา ตามความเชื่อของชาวพุทธ เดือนเจ็ด บุญซาฮะ (บุญชาระ) ให้บนบานพระภูมิเจ้าท่ี เล้ียงผีปู่ตา เดือนแปด บุญเข้าพรรษา เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน ทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้ญาติพี่น้องผู้ล่วงลับ เดือนสิบ บุญ ขา้ วสาก ทาบุญเชน่ เดือนเกา้ รวมใหผ้ ีไมม่ ีญาติ (ภาคใต้มพี ิธีคลา้ ยกัน คือ งานพธิ ีเดอื นสิบ ทาบญุ ใหแ้ กบ่ รรพบุรุษผู้ ลว่ งลับไปแล้ว แบง่ ข้าวปลาอาหารสว่ นหนงึ่ ให้แก่ผีไม่มญี าติ พวกเดก็ ๆ ชอบแยง่ กนั เอาของที่แบ่งให้ผีไม่มีญาติหรือ เปรต เรยี กวา่ \"การชงิ เปรต\") เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา เดือนสิบสอง บญุ กฐนิ จดั งานกฐิน และลอยกระทง ภูมิปัญญาชาวบ้านในสังคมปัจจุบันภูมิปัญญาชาวบ้านได้ก่อเกิด และสืบทอดกันมาในชุมชนหมู่บ้าน เมื่อ หมู่บ้านเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับสังคมสมัยใหม่ ภูมิปญั ญาชาวบ้านก็มีการปรับตัวเช่นเดยี วกัน ความรู้จานวนมาก ได้สูญหายไป เพราะไม่มีการปฏิบัติสืบทอด เช่น การรักษาพ้ืนบ้านบางอย่าง การใช้ยาสมุนไพรบางชนิด เพราะ หมอยาท่ีเกง่ ๆ ไดเ้ สียชวี ิต โดยไม่ไดถ้ ่ายทอดให้กับคนอ่นื หรือถ่ายทอด แต่คนตอ่ มาไม่ได้ปฏบิ ัติ เพราะชาวบ้านไม่ นิยมเหมือนเมอ่ื ก่อน ใชย้ าสมัยใหม่ และไปหาหมอ ทโี่ รงพยาบาล หรอื คลินกิ ง่ายกว่า งานหันตถกรรม ทอผ้า หรอื เคร่ืองเงิน เคร่ืองเขิน แม้จะยังเหลืออยู่ไม่น้อย แต่ก็ไดถ้ ูกพัฒนาไปเป็นการค้า ไม่สามารถรักษาคุณภาพ และฝีมือ แบบดัง้ เดมิ ไวไ้ ด้ ในการทามาหากนิ มกี ารใช้เทคโนโลยที ันสมยั ใชร้ ถไถแทนควาย รถอีแต๋นแทนเกวียน การลงแขกทานา และปลูกสร้างบ้านเรือน ก็เกือบจะหมดไป มีการจ้างงานกันมากข้ึน แรงงานก็หายาก กวา่ แตก่ ่อน ผ้คู นอพยพยา้ ยถ่ิน บ้างก็เข้าเมอื ง บ้างก็ไปทางานที่อ่นื ประเพณีงานบุญ ก็เหลือไม่มาก ทาได้ก็ต่อเม่ือ ลกู หลานท่ีจากบา้ นไปทางาน กลับมาเย่ียมบา้ นในเทศกาลสาคญั ๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ เขา้ พรรษา เปน็ ตน้ สังคมสมัยใหม่มีระบบการศึกษาในโรงเรียน มีอนามัย และโรงพยาบาล มีโรงหนัง วิทยุ โทรทัศน์ และ เคร่ืองบันเทิงต่างๆ ทาให้ชีวิตทางสังคมของชุมชนหมู่บ้านเปล่ียนไป มีตารวจ มีโรงมีศาล มีเจ้าหน้าท่ีราชการฝ่าย ปกครอง ฝ่ายพัฒนา และอื่นๆ เข้าไปในหมู่บ้าน บทบาทของวัด พระสงฆ์ และคนเฒ่าคนแก่เร่ิมลดน้อยลงการทา

มาหากนิ กเ็ ปลย่ี นจากการทาเพื่อยงั ชพี ไปเป็นการผลิตเพ่ือการขาย ผู้คนตอ้ งการเงิน เพื่อซ้ือเครื่องบริโภคตา่ งๆ ทา ให้สิ่งแวดล้อม เปล่ียนไป ผลิตผลจากป่าก็หมด สถานการณ์เชน่ น้ีทาให้ผู้นาการพัฒนาชุมชนหลายคน ท่ีมีบทบาท สาคัญในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เริ่มเห็นความสาคัญของภูมิปัญญาชาวบ้าน หน่วยงานทาง ภาครัฐ และภาคเอกชน ให้การสนับสนุน และส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ประยุกต์ และค้นคิดสิ่งใหม่ ความรู้ ใหม่ เพื่อประโยชนส์ ขุ ของสังคม

ความเปน็ มาและความสา้ คัญของการนวดแผนไทยใสใ่ จสขุ ภาพ ปจั จุบันการนวดแผนไทยเป็นท่ีแพร่หลายในประเทศไทยและต่างชาติเปน็ อย่างมาก เน่ืองจากประชาชน ให้ความใส่ใจสุขภาพมากย่ิงข้ึนและนิยมกันมากโดยเฉพาะการนวดเพ่ือผ่อนคลายสุขภาพ การนวดแผนไทย เป็น ศาสตร์แขนงหน่ึงท่ีเป็นศาสตร์แห่งการบาบดั และรักษาโรคอีกแขนงหนึ่งหนึ่งของการแพทย์ไทยอีกด้วย โดยการ นวดแผนไทย จะเน้นในลักษณะการกด การคลึง การบบี การดัด การดึง และอบประคบการประคบสมุนไพร การ อบสมุนไพร รวมทั้ง กายบริหารฤๅษีดัดตน ก็จัดเป็นองค์ความรู้ในวิชาการนวดไทยด้วยโดยมีหลักฐานมาจาก ประเทศอนิ เดีย แตไ่ มป่ รากฏหลักฐานชดั เจน ผู้คนในสังคมในปจั จุบนั ล้วนมีเม่ือยล้าจากการทางาน จากความเครียดและจากสิ่งแวดล้อมต่าง การนวด แผนไทยทางออกหนง่ึ ท่สี ามารถช่วยผ่อนคลายความเม่อื ยลา้ ซึ่งตระหนักให้คุณค่าและความรขู้ องการนวดแผนไทย มีความสาคญั ต่อสุขภาพในเปน็ ส่วนหนงึ่ ของการกิจวัตรประจาวันในทุกวนั (เจนวทิ ย,์ 2544) การนวดไทย หรือหัตถเวชกรรมไทย เป็นศาสตร์และศิลป์อีกแขนงหนึ่งที่สาคัญ ของหลักวิชาการแพทย์ แผนไทย ในการต่อสู้กับโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ การนวดไทยในปัจจุบัน เป็นภูมิปัญญาไทย ที่ได้ผ่านการบูรณาการ ร่วมกับองค์ความรู้ ของศาสตร์การแพทย์ ในระบบการแพทย์อ่ืนๆ จนพัฒนาเป็นการนวดไทย ที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว และไดร้ ับการยอมรบั อย่างกว้างขวาง ทัง้ ในประเทศ และในระดับนานาชาติ การนวดตามหลักวิชาการแพทย์แผนไทยเป็นการนวด เพ่ือบาบัดรักษา และเพ่ือผ่อนคลายการนวดไทย อาจแบ่งตามวัตถุประสงค์ได้เป็น 2 ประเภท คือ การนวดเพ่ือผ่อนคลาย และการนวดเพื่อบาบัดรักษา การนวด เพือ่ ผอ่ นคลาย เป็นการนวด เพ่ือส่งเสริมสุขภาพ ทาให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ส่วนการนวดเพ่ือบาบัดรักษา เป็นการ นวดเพ่ือวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ ในการบาบัดโรค หรอื รกั ษา (ทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki)

ขน้ั ตอนการนวดแผนไทยใสใ่ จสุขภาพ การศึกษาเร่อื งการนวดแผนไทย เป็นการตระหนกั ใหเ้ หน็ คณุ ค่าและความรู้ ผู้ศกึ ษาได้ศกึ ษาเอกสารและ งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ งโดยเรียงลาดับตามหวั ขอ้ ดังน้ี 1. แนวคดิ เกยี่ วกบั การนวดไทย 2. แนวคิดเกย่ี วกับความรู้ 3. แนวคิดเก่ียวกับการเห็นคุณค่าของการนวดแผนไทย 4. แนวคิดเกยี่ วกับคณุ คา่ ตนเอง (ที่มา : https://portal.weloveshopping.com/blog/10357/thai-massage-2) 1. แนวคิดเก่ียวกบั การนวดแผนไทย การนวดแผนไทย เป็นภูมิปัญญาแขนงหน่ึงในด้านการดูแลสุขภาพคนไทยซ่งึ มีมาต้ังแต่สมัยโบราณเป็น เป็นวิธีการรักษาของศาสตร์แพทย์แผนไทยซึ่งเกิดจากการสังเกตหรือจดจา การแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับตนเองหรือ คนในครอบครัวซึ่งมีอาการเจ็บป่วย หรือเม่ือยล้า จากการทางาน การนวดเป็นการเรียนรู้จากสัญชาติญาณมีการ พัฒนาและส่ังสมจนเกิดเป็นทฤษฎีท่ีมีการสืบทอด ความรู้ จากรุ่นสู้รุ่น โดยการบอกเล่า บันทึก และการจดจาจน เกดิ เปน็ ความเชยี่ วชาญ 2.แนวคิดเก่ียวกับความรู้ การวัดความรู้การวัดความรู้เป็นการวัดความสามารถในการระลึกเรื่องราวข้อเท็จจริงหรือประสบการณ์ ต่าง ๆ หรือเป็นการวัดการระลึกประสบการณ์เดิมท่ีบุคคลได้รับคาสอน การบอกกล่าวการฝึกฝนของผู้สอน รวมท้ังจากตาราจากส่ิงแวดล้อมตา่ ง ๆ ด้วยคาถามวดั ความรู้การวัดความรู้และความถนัดสามารถให้เป็นคะแนน ไดเ้ ท่านน้ั ส่วนมากนยิ มใช้แบบทดสอบซึง่ แบบทดสอบน้ีเป็นเครือ่ งมือประเภทข้อเขียนท่นี ิยมใชก้ ันทวั่ ๆ ไปมี 3 ประเภท (บุญธรรม กจิ ปรีดาบริสทุ ธิ์, 2551) ไดแ้ ก่ 2.1แบบทดสอบความเรียง (Essay test) เป็นแบบที่กาหนดคาถามให้ผู้ตอบเรียบเรียงคาตอบเอง โดย เรียบเรียงความรู้ ความเข้าใจ และความคิดเห็น แล้วเขียนคาตอบเองตามที่ถนัด ซึ่งใช้เวลามาก นิยมใช้ในการ สารวจเบื้องต้น 2.2แบบทดสอบแบบตอบส้นั (Short Answer test) เปน็ แบบท่กี าหนดคาถามให้ และกาหนดใหต้ อบสัน้ ๆ โดยผู้ตอบต้องหาคาตอบเอง โดยทั่วไปมี 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ 2.2.1 แบบข้อคาถามสมบูรณ์ (Completion) รูปแบบการถามจะใช้ประโยคที่มีเน้ือหา สมบูรณ์ แตใ่ ห้ตอบสัน้ ๆ เพียงคาเดยี วหรอื วลีเดียว

2.2.2แบบข้อความไม่สมบรู ณ์ (Incomplete Statement) รูปแบบการถามจะใชป้ ระโยคท่ีเป็น ข้อความไม่สมบูรณ์ และเว้นชอ่ งวา่ งใหเ้ ตมิ คาหรอื วลีลงไป 2.2.3แบบเติมคาท่ีมีความสัมพันธ์ รูปแบบน้ีจะต้ังประโยคด้วยประโยคหลักแล้วตามด้วยคาหรือ ข้อความย่อยๆ เวน้ ให้หาคาตอบเติม โดยคาตอบตอ้ งสมั พันธก์ ับข้อความย่อยทีก่ าหนดให้ 2.3แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Item) เป็นแบบที่กาหนดให้ทั้งคาถามและคาตอบ ผตู้ อบจะตอ้ งเลือกตอบตามคาตอบที่กาหนดให้ ลักษณะเดน่ อยู่ที่ผู้ตอบจะต้องใช้เวลาส่วนมากในการอา่ นและคิด สว่ นการตอบใช้เวลาน้อย การตรวจและการวิเคราะหท์ าไดง้ ่ายและสะดวก จึงนิยมใชท้ ว่ั ไป มีหลายชนิดไดแ้ ก่ 2.3.1 แบบสองตัวเลือก มีลักษณะเป็นแบบถูกผิดเป็นหลัก ใช้ถามข้อเท็จจริง และวัดความรู้ในระดับ ความจา ในการสร้างแบบทดสอบแบบสองตัวเลือก ค าตอบที่กาหนดให้จะต้องถูกหรือผิดจริง ข้อคาถามจะต้อง ชัดเจน ไม่มปี ระโยคปฏเิ สธ ใชป้ ระโยคสนั้ มีเนือ้ ความเดียว 2.3.2แบบหลายตัวเลือก เป็นแบบที่กาหนดคาตอบให้มากกว่า 2 คาตอบ ซึ่งมีตัง้ แต่ 3 -5 คาตอบ จากคาตอบท่ีกาหนดใหผ้ ู้ตอบจะต้องเลือกตอบเพยี งคาตอบเดยี ว ซ่ึงอาจจะเป็นแบบที่เลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียง คาตอบเดียวหรือเลือกคาตอบท่ีผิดก็ได้ ในการถามคาถามจะต้องเขียนคาถามให้ชัดเจน ถามปัญหา หลักเพียง ปัญหาเดียว แต่ละคาถามเป็นอิสระต่อกัน เพื่อหลีกเลี่ยงการแนะคาตอบในข้ออื่น และข้อคาถามไม่ควรเป็น ประโยคปฏเิ สธ สรปุ ได้ว่าความรู้ประกอบดว้ ยความสามารถในการรับรู้ของบุคคลในข้อเท็จจริงหรือเร่ืองราวต่างๆ ท่ี ได้รับจากการศึกษาและการถ่ายทอด จนกลายเป็นประสบการณ์โดยยึดหลักวิชาการ ส่วนมากจะเป็นทฤษฎีมี กฎเกณฑ์เป็นข้อเทจ็ จรงิ เฉพาะดา้ น เกยี่ วพันกนั เป็นระบบ เชอื่ มโยงซง่ึ กนั และกนั 3. ความหมายของการนวดแผนไทยและคุณคา่ ของการนวด เปน็ การตรวจประเมินวินิจฉัยโรค การป้องกันโรค สง่ เสรมิ และฟน้ื ฟสู ุขภาพ ด้วยการกด การคลงึ การบบี การจับ การดัด การดึง การประคบ การอบ ซง่ึ เป็นศลิ ปะการนวดไทย การนวดไทยมีวัตถุประสงคเ์ พ่ือการบาบดั โรค ซึง่ ว่าเปน็ การประกอบโรคศิลปะอยา่ งไรก็ตาม การนวดแผนไทยมีหลายแงม่ มุ ดังนี้ การนวดแผนไทย เกิดจากการที่คนเรามีอาการปวดเม่ือยหรือเจ็บป่วย ฉะน้ันผู้ใกล้ชิดมักจะลูบ บีบนวด ทาให้อาการเหล้านั้นบรรเทาลงได้ ต่อมาเริ่มมีการสังเกตเห็นผลของการบีบนวด จึงเกิดการเก็บรักษาไว้เป็น ประสบการณ์ จนกลายมาเป็นการสืบทอดต่อๆ มาจากรุ่นสู่ไปสู่ทฤษฎีที่ซับซ้อน พร้อมท้ังมีการบันทึก และ ถ่ายทอดจากรุ่นสูร่ ุ่น การนวดแผนไทยเป็นศาสตรแ์ หง่ การถ่ายทอดความรัก โดยจะส่งผ่านมือจากการนวดผนู้ วดสามารถรับรู้ถึง ความอ่อนโยน จากผนู้ วด ทาให้สามารถบรรเทาอาการเจบ็ ปวดได้(มานพ ประภาษานนท์, 2549) 3.1ประเภทของการนวดแผนไทย การนวดแผนไทยสามารถจาแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ การนวด แผนไทยแบบราชสานกั กบั การนวดแผนไทยแบบเชลยศักด์ิ (ทม่ี า: https://sites.google.com/site/khorngkarnwdphaenthiy)

3.1.1 การนวดแผนไทยแบบราชสานกั หมายถึง การนวดเพือ่ ถวายพระมหากษัตริย์และเจ้านาย ข้ันสูง กา รนวกแบบราชสานักพิจารณาถึงคุณสมบัติผู้เรียนอย่างประณีตและมีการสอนแบบมีข้ันตอน และมารยาทในการ นวด 3.1.2 การนวดแบบเชลยศึก หมายถึง การนวดแบบสามัญชน มีการสืบทอดและฝึกฝนแบบการนวดตาม วัฒนธรรมท้องถ่ิน ซึ่งเหมาะสมสาหรับชาวบา้ นจะนวดกันเองโดยมีการนวดโดยสองมือและมีอวัยวะอน่ื ร่วมดว้ ยใน ปจั จุบนั จึงเปน็ ท่ีร้จู กั และแพร่หลายในสงั คมไทย 3.2 รูปแบบการนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ แบ่งตามวัตถุประสงค์การนวดได้ 2 แบบคือ การนวดเพ่ือ สุขภาพ และการนวดไทยเพอ่ื บาบัด 3.2.1การนวดแผนไทยเพ่ือสุขภาพ จะทาการนวดให้กับคนปกติที่ไม่ได้มีอาการเจ็บป่วย เพียงแค่มี อาการปวดเมอื่ ยหรอื ออ่ นล้าเทา่ น้ัน จุดประสงค์ของการนวดเพ่ือการผ่อนคลายลดอาการตงึ เครียดทั้งร่างการและ จิตใจ ทกุ คนสามารถนวดได้โดยไมม่ อี ันตราย 3.2.2 การนวดบาบัดโรค จะเป็นการนวดท่ีใช้กับการบาบัดโรคง่ายๆทีม่ ีอาการไมร่ นุ แรงนกั เช่น โรค ปวดหลงั ปวดเมอ่ื ย 3.3 ลกั ษณะของการนวดแผนไทย เป็นลักษณะของการนวดแผนไทยท่ีใช้แรงนวดในการนวดเพื่อใหไ้ ด้ผลที่ ต้องการแบ่งออกเป็น 2 แบบ คอื 3.4 การใชแ้ รงกดโดยตรง เป็นแรงกดท่เี กิดจากการกดด้วยมอื หรอื น้วิ หัวแม่มือ และน้ิวอ่นื ๆ 3.4.1 การนวดด้วยนวิ้ หวั แม่มือ เปน็ การใช้นิว้ หวั แมม่ อื กดลงตามสว่ นตา่ งๆของรา่ งกายเพือ่ ชว่ ย ให้กลา้ มเนอ้ื คลายตัว ใหเ้ ลือดถกู ขบั ออกจากหลอดเลือดบริเวณทถ่ี กู กดชว่ั คราว และเมอื่ ถอนมือขึ้นไปทาให้เลือด มาเลี้ยงบริเวณนัน้ มากขน้ึ ทาใหบ้ รเิ วณน้ันมเี ลอื ดไหลเวยี นมากขึน้ การบบี จะชว่ ยกระตนุ้ กลา้ มเน้ือลดอาการตงึ และเพ่ิมเลือดไหลเวียนไปส้เู นือ้ เยือ่ สาหับการกดผ้นู วดควรระมดั ระวงั การใชน้ ้าหนักในการกดมากเกินไป 3.4.1.1การกดด้วยนิ้วหัวแม่มือเดียว เป็นการใชน้ ว้ิ หัวแมม่ อื กดลงไปบรเิ วณท่ตี ้องการ นวดโดยเริ่มจากนา้ หนกั ทีเ่ บาและคอยๆเพิม่ แรงขน้ึ เร่ือยๆ 3.4.1.2 การกดดว้ ยน้วิ แมม่ อื เป็นการใชน้ วิ้ แม่มือทงั้ สอง กดลงในบรเิ วณทต่ี ้องการโดย ลกั ษณะการวางน้ิวอาจทาได้หลายวธิ ี 3.4.1.3 การกดฝ่ามือ มหี ลายวิธี เช่น การกดดว้ ยฝ่ามอื เดียวเปน็ การกดทใี่ ชใ้ นการนวด 3.4.2 การกดดว้ ยฝ่ามอื มีหลายวิธี เชน่ การกดดว้ ยฝ่ามือเดีย่ วเปน็ การกดท่ีใชใ้ นการนวดบรเิ วณ กว้างสามารถเพ่มิ แรงกดั (ที่มา : YesSpaThailand.com) 3.4.3 การคลงึ และการนวดเป็นการใชน้ ิ้วหัวมือมือ น้วิ มอื ข้อควรระวัง คือ หากคลึงโดยใช้แรงท่ี มากจนเกินไป อาจทาใหเ้ ส้นเลอื ดฉีดขาดหรือทาให้เส้นเลือดอกั เสบได้ 3.4.4 การบีบ เปน็ การจับกลา้ มเนื้อให้เตม็ ฝ่ามือและออกแรงบบี โดยใชแ้ รงท่ีพอเหมาะแล้ว ปล่อยและเคลอ่ื นย้ายเพอ่ื บีบกล้ามเนอ้ื มดั ตอ่ ไป เปน็ การชว่ ยการไหลเวียนโลหิตยังกลา้ มเนอ้ื ชว่ ยลดการเกรง็ ของ กล้ามเนอ้ื

3.4.5 การตบ ทบุ สับ เป็นการออกแรงในการกระตุ้นกลา้ มเน้อื แบบเปน็ จงั หวะ การตบตี เปน็ การใช้ฝา่ มือโดยทาโค้งเล็กนอ้ ย หรอื กามอื ไว้ หลวมๆ ควา่ มือลงเอาส้นมือและหลังนิว้ ทง้ั ส่ตี ี แตอ่ อกแรงเฉพาะ ข้อมือเท่านน้ั โดยสลบั กันท้ังสองมือ ทาใหเ้ กิดการไหลเวยี นของเลอื ด การสับและการทบุ ควรทากอ่ นกนั ทงั้ สองมอื ควรทาก่อนการนวด แบบไลแ่ ละแบบบีบเพอื่ กล้ามเนอื้ คลายอาหารตงึ ตวั 3.4.6 การเขยา่ ส่ัน เปน็ การใช้นวิ้ หัวแม่มือและนว้ิ อ่นื อีกสน่ี ว้ิ ของแตล่ ะมอื บีบกล้ามเนอื้ เนื้อของผู้ ถูกนวดยกขึน้ พรอ้ มเขยา่ ไปมา 3.4.7 การกดด้วยอวัยวะอ่นื ๆ เชน่ การกดด้วยศอก การกดด้วยเขา่ และการกดสะโพก เป็นวิธกี าร ทชี่ ่วยเพิม่ แรงกดของผ้นู วด โดยการใชศ้ อกนัน้ เหมาะสาหรบั ผู้ถกู นวด 3.4.8 การเหยยี บ การยันเปน็ การขนึ้ ไป เหยยี บบริเวณลาตวั ของถูกนวดซึง่ เปน็ ทีท่ าใหอ้ าจเกดิ อนั ตรายไดต้ ่อกระดูกสนั หลังตอ่ กระดูกสันหลงั หรือกระดกู ซ่ีโครง (ทมี่ า:NetworkHerbsแหล่งเรยี นรขู้ อ้ มลู สมนุ ไพรไทย) 3.5 การใชแ้ รงทางอ้อม 3.5.1 การดงึ เป็นออกแรงเพ่ือทีจ่ ะยืดเสน้ เอน็ ของกลา้ มเนอ้ื หรือพังผดื ของขอ้ ต้อท่หี ดส้นั เข้าไป เพือ่ ให้ส่วนเอ็นทาหน้าที่ตามปกติในการดงึ อาจะไดเ้ สยี งลนั่ ในข้อมือ และหลงั จากน้นั สามารถทางานได้ปกติ(กรม พัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก, 2547) 3.5.2 การบดิ เป็นการออกแบบเพ่ือหมนุ ขอ้ ต่อหรอื กล้ามเนื้อทาให้เกิดอาการบาดเจบ็ หรืออกั เสบ 3.5.3 การดัด เป็นการออกแบบเพ่ือให้ขอ้ ตอ่ มีการติด สามารถเคล่ือนไหวได้ ในการดดั ตอ้ งมีความ ระมดั ระวงั เกดิ อาการเจ็บหรอื เคลด็ ได้เน่อื งจากใช้แรงออกคอ่ นข้างรุนแรง จาเปน็ ต้องมคี วามระมดั ระวังสงู เก่ียวกับ อาการบาดเจ็บทเี่ กดิ ขึ้นจากการบบี นวด (ทม่ี า:https://sites.google.com/site/khorngkarnwdphaenthiy)

3.6 ผลของการนวดแผนไทยต่อระบบของร่างกาย 3.6.1 ผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด การนวดแผนไทยมผี ลทาให้การขยายตัวของหลอดเลือด มีปฏิกริ ยิ าตอบสนองตอ่ รา่ งกายทาให้ปรมิ าณของเลือดไหลเวยี นกลบั เข้าไปสู่รา่ งกายเพ่มิ มากข้ึน และมีการขยาย ของหลอดเลือดและความดนั โดยตรงและสนับสนนุ ให้เสน้ เลอื ดขยายตวั มีการไหลเวียนโลหิตทีม่ ากขึ้นทาใหก้ าร ขนส่งสารอาหารและออกซิเจนเขา้ สเู้ ซลล์อยา่ งมีประสิทธิภาพมาขึ้นอีกดว้ ย 3.6.2 ผลต่อระบบน้าเหลอื งและระบบภูมิคมุ้ กนั ของรา่ งกาย คอื การชว่ ยสง่ เสริมให้การไหลเวียน น้าเหลอื งได้รับแรงดนั ซึ่งมากจากการบบี จังหวะของกล้ามเนือ้ แรงดนั จากการเปลีย่ นแปลงในการไหลเวยี น น้าเหลอื ง 3.6.3 ผลตอ่ ระบบผวิ หนัง การนวดแผนไทยการเพม่ิ อณุ หภูมขิ องผวิ หนงั ทาให้ผวิ หนงั รบั ความ อบอุน่ และช่วยลดความเครียดได้ ทาใหผ้ วิ มีสขุ ภาพท่ีดี กระตุ้นต่อมไขมนั และต่อมเหงือ่ 3.6.4 ผลต่อระบบประสาทและตอ่ มไร้ทอ่ มกี ารนวดแผนไทยช่วยในการกระตุน้ หลง่ั สารโดปามนี ซงึ่ ช่วยในการลดภาวะเครยี ดและภาวะวติ กกังวล 3.6.5 ผลตอ่ ระบบกล้ามเน้ือ การนวดแผนไทยมผี ลตอ่ ระบบกลา้ มเนื้ออย่างเหน็ ได้ชัด โดยเฉพาะ ในผู้ท่ีมีการออกกาลังกายน้ัน การนวดจะช่วยในการขจดั ของเสียทีต่ กค้างอยา่ งเหน็ ได้ชัดตามกลา้ มเน้อื มัดตา่ งๆ เชน่ ช่วยในกล้ามเนอ้ื คลายตัวลง ปวดเมื่อยลดลง ปอ้ งกันการเกดิ เสน้ ตึง ลดความเหนอื่ ยเมื่อยลา้ และการนวด ไทยยงั ช่วยใหก้ ลา้ มเน้อื คงรปู ได้สดั สว่ น นอกจากน้ีการยวดชว่ ยทดแทนการออกกาลังกายได้บางส่วนและช่วยให้ กล้ามเนือ้ ไม่ลบี เลก็ อีกดว้ ย 3.6.6 ผลต่อระบบเนือ้ เย่ือเกย่ี วพนั การนวดแผนไทยช่วยลดการสรา้ งแผลเป็นนนู แข็งของ เน้ือเย่อื และ ช่วยลดการตดิ แนน่ ของการเกดิ แผลเป็นกลา้ มเนอื้ และข้อ ชว่ ยลดอาการเปน็ พงั ผดื และเพิ่มการ เคล่อื นไหวของข้อมากขน้ึ 3.6.7 ผลตอ่ ระบบหายใจ การนวดแผนไทยจะชว่ ยใหอ้ ตั ราการหายใจลดลง เพราะการนวดเปน็ การกระตนุ้ ตอบสนองของการผอ่ นคลาย ชว่ ยใหก้ ลา้ มเนอื้ หวั ใจนั้นมีความสามารถในการหดตัว ชว่ ยใหก้ ารทางาน ของปอดดีขนึ้ ชว่ ยลดอาการหายใจลาบากและการจับหดื ของโรคหดื หอบ 3.6.8 ผลตอ่ ระบบทางเดนิ อาหาร การนวดแผนไทยจะกระต้นุ การทางานของระบบทางเดนิ อาหาร ได้แก่ กระเพาะอาหารและลาไส้ ทาใหเ้ กดิ การบบี ตัวของกระเพาะอาหารลาไส้ ทาใหเ้ จรญิ อาหารมากข้ึน และนอกจากนก้ี ารนวดนน้ั ยงั ชว่ ยในการขับลมและอาการทอ้ งผกู เนือ่ งจากมีการนวดบริเวณหน้าทอ้ งอกี ดว้ ยซึง เปน็ การเพ่ิมการไหลเวียนของลาไส้ (ท่มี า:https://th.wikipedia.org/wiki/)

3.6.9 ประโยชน์ของการนวดแผนไทย การนวดแผนไทยจะประโยชนใ์ นการช่วยลดการเกร็งตัวของ กล้ามเนื้อ เพมิ่ ระบบการไหลเวียนโลหิตและน้าเหลอื งกระตนุ้ ระบบประสาท เพิม่ ประสิทธิภาพของระบบทางเดิน หายใจ ฟน้ื ฟสู ภาพของระบบกล้ามเนอื้ ระบบไหลเวยี นโลหิตและระบบประสาท และทาใหร้ สู้ ึกผอ่ นคลาย 3.7 ข้อควรระวังในการนวดแผนไทย มขี ้อควรระวงั ในการรบั บริการนวดแผนไทยได้แกไ่ มค่ วรนวดหลัง รบั ประทานอาหารอิ่มใหมๆ่ ควรนวดหลังรับประทานอาหาร 30 นาที ไม่ควรนวดเม่อื มอี าการฟกชา้ ตามผิวหนงั หรือมอี าการอักเสบซ้าซอ้ น และต้องระมัดระวัง กรณผี ู้สูงอายุมโี รคประจาตวั บางอย่าง เชน่ เบาหวาน โรคความ ดันโลหติ สูง ผูท้ ป่ี ระสบอบุ ัตเิ หตใุ หมๆ่ ควรไดร้ บั การช่วยเหลือขั้นตน้ และตรวจวินจิ ฉัยภาวะแทรกซ้อนต่างๆ หาก เกนิ ความสามารถควรสง่ ต่อการรกั ษาให้กับแพทยแ์ ผนปจั จุบนั 3.8 ขอ้ ควรปฏบิ ัติหลังการนวดแผนไทย ภายหลังจากการรบั บรกิ ารนวดแผนไทย ผู้รับบริการควรมีการปฏิบตั ติ นดงั นี้ งดอาหารแสลง เช่น อาหารมัน อาหารทอด หนอ่ ไมข้ า้ วเหนยี วเครื่องในสัตว์ เบียร์ของหมักดอง ห้ามสลัด บีบ ดัด สว่ นที่มีอาการปวด ให้ออกก าลงั กายเฉพาะโรคตามคาแนะนา 3.9 โรคทห่ี า้ มทาการนวดแผนไทยการนวดแผนไทยมขี อ้ หา้ มในการรับหรือให้บรกิ ารไดแ้ ก่มีไขส้ ูงเกิน 38.5 องศาเซลเซยี ส โรคผวิ หนังที่มีการติดเชอ้ื โรคติดตอ่ ทกุ ชนิด เช่น วัณโรคไขห้ วัดใหญ่โรคไข้พษิ ไข้กาฬ งูสวัด เริม บริเวณทเ่ี ป็นมะเรง็ เพราะอาจทาใหม้ ะเรง็ กระจายตวั อบุ ัตเิ หตทุ ่ีกระทบสมองและไขสันหลงั ภายใน 24 ช่วั โมง ความผดิ ปกตขิ องระบบหลอดเลือดหรือการแขง็ ตัวของเลอื ด การตดิ เชื้อของรา่ งกายกระดกู หกั ท่ียงั ตดิ ไมแ่ ขง็ แรง การบาดเจบ็ หรอื เลือดออกที่เพ่งิ เป็นใหม่ๆ บรเิ วณที่เป็นแผล แผลเปดิ และบรเิ วณที่อกั เสบหรอื เป็นฝีบริเวณทถี่ กู ไฟไหม้ นา้ ร้อนลวก 3.10 การประคบสมุนไพร การประคบสมนุ ไพรคอื การใช้สมุนไพรหลายอย่างมาหอ่ รวมกัน เปน็ ลกู ประคบ ส่วนใหญ่เป็นสมุนไพรที่มนี ้ามนั หอมระเหยโดยนามาน่งึ ใหร้ ้อน ใชป้ ระคบ บริเวณทป่ี วดหรือเคลด็ ขดั ยอก ซึ่งนา้ มนั หอมระเหยเม่อื ถกู ความรอ้ นจะระเหยออกมาความร้อนจากลูกประคบจะช่วยกระต้นุ การไหลเวียนโลหิตดขี ึ้น และ ยังมสี าระสาคัญจากสมนุ ไพรบางชนดิ ทซี่ ึมเขา้ ทางผวิ หนัง ช่วยรกั ษาอาการเคลด็ ขัด ยอกและลดปวดได้ (ทมี่ า:https://www.pobpad.com/) 3.11วิธกี ารประคบสมุนไพร มีกระบวนการและขน้ั ตอนดังนี้ 3.11.1จดั ท่าคนไขใ้ ห้เหมาะสม เชน่ นอนหงาย น่ัง นอนตะแคงขนึ้ อยกู่ บั ตาแหน่งทีจ่ ะทาการประคบ สมุนไพร 3.11.2 นาลกู ประคบท่ีไดร้ บั ความรอ้ นไดท้ ี่แล้วมาประคบบรเิ วณทต่ี อ้ งการประคบซึ่งกอ่ นประคบต้องมีการทดสอบ ความร้อนของลกู ประคบ โดยการแตะทท่ี ้องแขนหรอื หลังมอื กอ่ น 3.11.3 ในการวางลกู ประคบบนผิวหนังคนไขโ้ ดยตรงในช่วงแรกๆ ตอ้ งทาด้วยความเร็วไม่วางแชน่ านๆ เพราะ คนไข้จะทนความร้อนไมไ่ ด้มาก

3.12ประโยชน์ของการประคบสมนุ ไพรได้แก่ บรรเทาอาการปวดเม่อื ย ชว่ ยลดอาการบวม อักเสบของ กล้ามเนื้อเอน็ ขอ้ ตอ่ หลังลดอาการเกรง็ ของกลา้ มเน้อื ช่วยใหเ้ นอ้ื เยอื่ พงั ผดื ยืดตวั ออกมาลดการติดขดั ของขอ้ ตอ่ ลดอาการปวด และชว่ ยเพ่ิมการไหลเวียนของเลอื ด 3.13 ข้อควรระวังในการใช้ลกู ประคบสมุนไพร 3.13.1 ห้ามใช้ลูกประคบทร่ี อ้ นเกนิ ไป โดยเฉพาะกับบริเวณผิวหนงั อ่อนๆ หรอื บรเิ วณทีเ่ คยเป็น แผลมากอ่ น ถา้ ตอ้ งการใช้ควรมีผา้ ขนหนรู องกอ่ นหรือรอจนกว่าลูกประคบจะคลายความร้อนลงจากเดมิ 3.12.2 ควรระวังเป็นพเิ ศษในผู้ป่วยเบาหวาน อมั พาต เด็กและผ้สู งู อายุเนื่องจากกลมุ่ บุคคลดังกล่าว ความรสู้ กึ ตอบสนองต่อความร้อนช้าอาจจะทาใหผ้ ิวหนงั ไหมพ้ องได้ง่ายถ้าต้องการใช้ควรใชล้ ูกประคบทีอ่ นุ่ 3.12.3 ไม่ควรใช้ลูกประคบสมนุ ไพรในกรณที ม่ี ีแผลการอักเสบซ่ึงมอี าการปวดบวม แดง รอ้ น ในชว่ ง 24 ช่ัวโมง แรกของการอกั เสบ เพราะอาจจะทาให้มีการบวมมากข้ึน 10.3.4 หลงั จากประคบสมนุ ไพรแล้ว ไม่ควรอาบนา้ ทันที เพราะจะไปชะล้างตัวยาออกจากผิวหนงั และอุณหภมู ขิ องร่างกายปรบั เปล่ยี นไม่ทนั อาจจะทาให้เปน็ ไขไ้ ด้ 3.13 วธิ เี ก็บรักษาลกู ประคบ 3.13.1ลูกประคบสมนุ ไพรทที่ าในแต่ละคร้งั สามารถเกบ็ ไวใ้ ช้ซ้าได3้ -5 วัน 10.4.2 ควรเกบ็ ลกู ประคบ ไว้ในต้เู ยน็ จะทาใหเ้ ก็บได้นานข้นึ 3.13.2 ถา้ ลูกประคบแหง้ ก่อนใชค้ วรพรมด้วยน้าหรือเหล้าขาว 3.13.3 ถา้ ลกู ประคบท่ีใช้ไม่มีสีเหลอื งหรือสอี อ่ นลงแสดงวา่ จะใชไ้ ม่ได้ผลควรเปลี่ยนลูกประคบใหม่(ถวลั ย์มาศจรัล, 2548) (ที่มา:ร้านThipNuad Thai ทิพยน์ วดไทย) 4. แนวคิดเกย่ี วกบั การใหค้ ณุ คา่ ตนเอง คาว่า \"การเหน็ คุณคา่ ตนเอง\" ตรงกบั ภาษาอังกฤษวา่ \"self esteem\" ในบางครงั้ จะมีผูใ้ ชค้ าว่า การ ตระหนกั ในคุณค่าตนเอง การนบั ถอื ตนเอง ความภาคภูมใิ นในตนเอง ค่าเชือ่ มน่ั ในตนเองหรอื การรู้สกึ เหน็ คุณค่า ในตนเอง เปน็ ต้น 4.1 ความหมายของการเหน็ คณุ ค่าตนเอง ได้มผี ู้ใหค้ วามหมายไวห้ ลากหลายดงั นี้การเห็นคุณคา่ ตนเอง เปน็ การพจิ ารณาและประเมนิ คุณคา่ ของบุคคลตามความรสู้ ึกและทัศนคตทิ ่บี คุ คลมีตอ่ ตนเอง ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นถงึ การยอมรบั หรือไม่ยอมรบั ตนเองและแสดงให้เหน็ ถึงขอบเขตความเชอื่ ท่ีบคุ คลมีต่อการมคี วามสามารถการมี ความสาคัญ การประสบความสาเรจ็ และความมคี ณุ ค่าในตนเอง (Coopersmith,1981) การเหน็ คุณคา่ ตนเอง หมายถึงการประเมินตนเองภายในอันเปน็ ลกั ษณะซึ่งกาหนดว่าบุคคลเห็นคุณค่าของตน และมคี วามเชอ่ื ในตนเอง มากน้อยเพียงใด พจิ ารณาวา่ ตนเองสามารถเข้ากนั ได้กบั โลกของตนเองอยา่ งเหมาะสมเพียงใด และคดิ ว่าตนเอง สามารถทาอะไรไดห้ รอื ทาอะไรไมไ่ ดซ้ ่งึ ส่งผลกระทบอย่างมากตอ่ ความสาเรจ็ ในการดาเนินชวี ิตของแต่ละบคุ คล

(Cornfield,1998, อา้ งในวพิ าพร บญุ วงษ,์ 2551) การเหน็ คุณค่าตนเอง เป็นการตระหนักถึงความมีคณุ คา่ นา่ ยก ยอ่ งของตนเองในดา้ นตา่ งๆอันเปน็ สง่ิ ท่ที าใหบ้ ุคคลเกิดความสขุ และสามารถรบั มอื กับสิ่งทท่ี ้าทายในชวี ติ ได้ (Branden, 1998, อ้างในกนกวรรณ อบเชย, 2550) การเหน็ คณุ ค่าในตนเอง เป็นการประเมินตนเอง ว่าตนเองเปน็ อย่างไร ถ้าประเมินว่าตนเองไร้คา่ ก็จะมี ความภาคภมู ิใจในตนเองตา่ า แตถ่ า้ ประเมนิ วา่ มคี วามสามารถกจ็ ะร้สู กึ ภาคภมู ิใจในตนเองหรอื มีการเห็นคุณค่าใน ตนเองสูง (Bandura,1986, อา้ งในปฏญิ ญา แกล้วทนงค,์ 2552) การเห็นคณุ คา่ ตนเอง เป็นทศั นคตทิ บี่ คุ คลมตี ่อ ตนเองในดา้ นบวกหรอื ลบอย่างใดอย่างหน่ึงดังนนั้ การทีบ่ คุ คลหน่งึ มกี ารเหน็ คณุ ค่าตนเองอยู่ในระดับสงู จะหมายถงึ การท่บี คุ คลคดิ วา่ เขาเปน็ คนที่มีคณุ คา่ มเี กยี รติ มคี วามพึงพอใจในตนเอง ซึง่ ตรงกันข้ามกับบุคคลทมี่ กี ารเห็น คุณค่าในตนเอง 25 ต่าจะหมายถงึ คนทข่ี าดความเคารพตนเอง ปฏิเสธตนเอง คิดวา่ ตนเองไมม่ ีคณุ ค่า ขาดความพงึ พอใจในตนเอง มคี วามรสู้ ึกว่าตนเองด้อย ขาดบางสิง่ บางอย่างไมเ่ ท่าเทียมกับผู้อ่นื (Rosenberg,1979,อา้ งในดวง พรจนั ทรศร,ี 2555) จากความหมายทีก่ ลา่ วมาผศู้ กึ ษาไดส้ รุปความหมายการเหน็ คุณคา่ ตนเองไดด้ งั นี้ การเหน็ คุณคา่ ตนเอง หมายถึงการประเมนิ คณุ ค่าตามความรสู้ ึกและทัศนคติของตนเองซึ่งแสดงใหเ้ ห็นถึงการยอมรับตนเอง การเห็นจดุ แข็งของตนเอง ความภาคภมู ใิ จในตนเองและการนับถือตนเองประกอบด้วย 4 ดา้ น คอื การเห็นความสาคัญตนเอง การเห็นอานาจตนเองการเหน็ ความสามารถตนเองและการเหน็ คณุ ความดีตนเอง 4.2 ความสาคัญของการเหน็ คณุ คา่ ตนเอง มผี ศู้ กึ ษาความสาคญั ของการเหน็ คณุ คา่ ตนเองดงั นี้การเหน็ คุณค่าตนเองเป็นความตอ้ งการพืน้ ฐานของมนุษย์เปน็ สิ่งสาคัญทท่ี าใหช้ ีวิตมีความสขุ และประสบความสาเรจ็ การ เหน็ คุณคา่ ตนเองเปรียบไดก้ ับภมู ิคุม้ กันของรา่ งกายผู้ท่ีมกี ารเห็นคุณค่าตนเองสูง จะมีความเขม้ แข็ง สามารถ แก้ปัญหาได้ดจี ดั การกับความกงั วลและความเครียดที่เกิดขน้ึ ไดห้ ากพบกับ ความล้มเหลวก็ไม่ทอ้ แทม้ พี ลังต่อสู้กับ อุปสรรคต่าง ๆ อนั เขา้ มาในชีวติ ไดห้ ากมีความทุกข์เกดิ ขน้ึ กจ็ ะไม่จมอยใู่ นความทกุ ข์นนั้ นานเกินไป ส่วนผทู้ ่มี ีการ เห็นคณุ คา่ ตนเองต่า มกั จะแก้ปญั หาไดไ้ มด่ ีล้มแลว้ ลกุ ขึ้นยากขาดพลังทีจ่ ะตอ่ สเู้ มอื่ มคี วามทุกข์ความกงั วลความ เศรา้ จะจมอยูก่ บั ความร้สู ึกดงั กล่าวนาน ฟ้ืนตวั ยาก(อุมาพร ตรังคสมบตั ิ,2543) กงั วลความเศร้าจะจมอยูก่ บั ความรู้สึกดงั กล่าวนาน ฟ้นื ตัวยาก(อมุ าพร ตรังคสมบตั ,ิ 2543) การเหน็ คณุ คา่ ตนเองเป็นปจั จยั ทส่ี าคญั ย่งิ ในการปรบั ตวั ทางอารมณส์ ังคม และการเรียนรสู้ าหรับเดก็ การเห็นคุณค่าตนเองนบั ว่ามี คณุ คา่ สูงย่ิง เพราะเป็นพื้นฐานการมองชีวิต ความสามารถทางดา้ นสงั คมและอารมณบ์ ุคคลทเ่ี หน็ คุณคา่ ตนเองสงู จะสามารถเผชิญกับอปุ สรรคที่ผา่ นเข้ามาในชวี ติ สามารถยอมรับสถานการณท์ ี่ทาใหต้ นเองรู้สึกผดิ หวังและท้อแท้ ใจดว้ ยความเช่ือมนั่ ในตนเองด้วยความหวังและความกลา้ หาญ จงึ เป็นบุคคลทปี่ ระสบผลสาเรจ็ มีความสุข สามารถ ดาเนินชวี ติ ตามท่ีตนปรารถนาไดอ้ ย่างด(ี จันทร์ฉาย พทิ ักษศ์ ริ กิ ุล,2543) การเหน็ คณุ คา่ ตนเอง เป็นกระบวนการท่ี เกิดขึ้นภายในจติ ใตส้ านึกทีละเลก็ ละน้อย เรมิ่ ต้งั แต่วัยทารกเดก็ ทีไ่ ด้การเลยี้ งดูอย่างถูกตอ้ งจะสง่ ผลใหม้ ีความ ภาคภูมใิ จและเหน็ คุณคา่ ตนเองในระดับสงู ทาใหเ้ ติบโตเปน็ ผู้ใหญ่ทีม่ คี วามเช่ือมั่นในตนเอง รกั และนบั ถือตนเอง มี วุฒิภาวะด้านความคิดและอารมณ์ดตี ลอดจนการปฏิสมั พนั ธ์กบั ผู้อื่นไดด้ ี(ชนฐั ชารเ์ ขยี วชอุ่ม, 2549) จากที่ ความสาคญั ทก่ี ลา่ วมา สรปุ ได้วา่ การเหน็ คณุ ค่าตนเองมคี วามสาคญั อย่างยง่ิ ในการปรบั ตวั ทางอารมณส์ งั คมและ การเรยี นรสู้ าหรับผปู้ ว่ ย เพราะเป็นพน้ื ฐานของการมองชวี ิตความสามารถทางดา้ นสงั คมและอารมณ์เกดิ จากการ เห็นคณุ ค่าตนเอง บคุ คลทีเ่ ห็นคุณคา่ ตนเองสูง จะสามารถเผชิญกับปญั หาและสามารถปรับพฤติกรรมใหเ้ หมาะสม กับตนเองและอาการป่วยท่ีเกิดข้นึ และมีความ สามารถดารงชวี ติ ได้อย่างมีความสุขตามที่ตนปรารถนา บุคคลทเี่ ห็น คุณค่าตนเอง รวู้ า่ ตนเองมคี ุณคา่ มกั จะมีการประเมินตนเองในด้านดแี ต่ถา้ บคุ คลใดทม่ี คี วามรูส้ กึ ว่าไม่มีใครสนใจ ไม่ไดร้ ับการยอมรบั หรอื ทาอะไรแล้วไม่ประสบความสาเร็จ

4.3 แนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กยี่ วข้องกบั การเหน็ คณุ ค่าตนเองผู้ศกึ ษาได้ทบทวนแนวคดิ เกย่ี วกับการเหน็ คณุ คา่ ตนเอง จากทฤษฎกี ารเหน็ คณุ ค่าตนเองของนกั วชิ าการหลายท่านดังนี้ 3.1 การเหน็ คณุ คา่ ตนเองตามแนวคิด ของโรเซนเบรก์ (Rosenberg) มีแนวคิดดงั น้ี การเห็นคุณคา่ ตนเองเป็นทัศนคตทิ บี่ คุ คลมตี อ่ ตนเองในด้านบวกหรือ ดา้ นลบอย่างใดอย่างหน่ึง ดงั น้นั การท่ีบคุ คลหนึ่งมกี ารเห็นคณุ คา่ ตนเองอยู่ในระดับสูงจะหมายถึงการท่ีบคุ คลคดิ วา่ เขาเป็นคนท่มี ีคณุ คา่ มีเกยี รตมิ คี วามพึงพอใจในตนเอง ซ่ึงตรงข้ามกบั บุคคลทมี่ ีการเหน็ คณุ คา่ ในตนเองต่าหมายถงึ คนท่ีขาดความเคารพตนเอง ปฏิเสธตนเองคิดวา่ ตนเองไม่มีคณุ คา่ ขาดความพึงพอใจในตนเองมีความรู้สกึ ว่าตนเอง ดอ้ ยขาดบางสิง่ บางอย่างไม่เทา่ เทียมกบั ผูอ้ นื่ ซึง่ ในการศึกษาเกยี่ วกบั อตั มโนทัศนโ์ ดยแยกพิจารณาเปน็ 2 มติ คิ อื อัตตะในการกาหนดร(ู้ cognitive self) เปน็ เรอ่ื งของความรู้ความเขา้ ใจทีบ่ คุ คลมีต่อตนเอง จากการท่บี ุคคลเปน็ เจ้าของตาแหนง่ สถานภาพภายในโครงสร้างสังคมท่บี ุคคลอาศัยหรอื เป็นสมาชิกอยู่ ทาใหบ้ ุคคลแต่ละคนมี เอกลักษณเ์ ปน็ ของตนเองเชน่ เป็นพอ่ แม่ เพอ่ื น ครูตรวจเปน็ ตน้ เอกลักษณท์ ี่บคุ คลไดจ้ ากสงั คมนสี้ ามารถทาให้ บุคคลรวู้ ่าเขาเปน็ ใครคนอน่ื เป็นใครการรบั รูน้ าไปสอู่ ตั มโนทัศนข์ องบคุ คลโดยอัตตะท่ีเกดิ ขน้ึ ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การ ประเมนิ บุคคลและอัตตะในดา้ นการประเมนิ (evaluative self) เปน็ การอธบิ ายตนเองของบคุ คลซง่ึ ไดม้ าจากการ ท่บี ุคคลนาตนเองไปประเมินกบั สิ่งอน่ื หรอื คนอน่ื เพอื่ ทจ่ี ะทาใหบ้ ุคคลร้สู ึกวา่ เขามคี ณุ คา่ หรอื มีความภาคภูมใิ จใน ตนเองสงู หรือต่าอย่างไรการประเมินตนเองของบคุ คลในแนวสงั คมวิทยาส่วนใหญจ่ ะอยใู่ นเรื่องของการเหน็ คุณค่า ในตนเอง โดยจะพบว่าการทบี่ คุ คลรสู้ กึ ต่อตนเองในเรือ่ งการเห็นคุณค่าในตนองอย่างไรก็จะนาไปสู่พฤติกรรม เช่นนน้ั 4.4การเห็นคณุ ค่าตนเองตามแนวคิดของมาสโลว(์ Maslow) มาสโลวไ์ ด้ศกึ ษาเกีย่ วกบั ความต้องการของ มนษุ ยพ์ บว่า มนุษย์ทกุ คนในสังคมมีปรารถนาที่จะไดร้ บั ความสาเรจ็ ดว้ ยตวั ของตวั เอง มกี ารประเมนิ คา่ ความสาเรจ็ ของงานไวส้ ูง ทัง้ ยังมีการเหน็ คณุ ค่าในตนเอง ต้องการทจ่ี ะให้ผ้อู ืน่ ยอมรบั นับถือในความสาเรจ็ ของตน ถา้ ความ ต้องการนี้ไดร้ ับการตอบสนองจนพอใจกจ็ ะทาให้บคุ คลนั้นมีความรูส้ ึกวา่ ตนเองมีคุณคา่ มีความสามารถและมี ประโยชน์ต่อสังคม แตถ่ ้าความตอ้ งการนถ้ี กู ขดั ขวางจะทาให้เกดิ ความรสู้ กึ วา่ มีปมดอ้ ยเสยี หน้าหรอื เสยี การเหน็ คณุ คา่ ในตนเองการเห็นคณุ คา่ ในตนเองแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทแรกการเหน็ คณุ ค่าในตนเองการ ยอมรับนับถือและการประเมนิ คา่ ของตนเอง ซงึ่ ประกอบด้วยปจั จัยตา่ งๆ ได้แกค่ วามตอ้ งการ 27 ความเข้มแขง็ (strength) ผลสัมฤทธ(์ิ achievement) ความสามารถที่เพยี งพอสาหรับการกระทาสิ่งต่างๆ (adequacy) ความ เชี่ยวชาญ และความสามารถ(mastery and competence) ความเช่ือมั่น (confidence) ความมีอสิ รเสรแี ละ ความเปน็ ไทแก่ตนเอง (independence and freedom) และประเภททส่ี อง การไดร้ บั การเหน็ คณุ ค่าจากผ้อู ื่น เปน็ ความตอ้ งการมชี ่ือเสยี งหรือเกียรตยิ ศ ตาแหนง่ ความรุ่งเรอื ง มอี านาจเหนือผอู้ ืน่ ไดร้ บั การยอมรบั และความ สนใจมีความสาคญั มศี ักดศิ์ รหี รือเป็นทีน่ ่าชมเชยของผูอ้ ื่น 4.5การเห็นคณุ ค่าตนเองตามแนวคิดของคูเปอรส์ มทิ (Coopersmith, 1981) มแี นวคิดวา่ การเหน็ คุณคา่ ในตนเอง เปน็ กระบวนการตัดสนิ คุณคา่ จากการตรวจสอบตนเองดว้ ยผลงานตามความสามารถและคณุ ลักษณะ ต่างๆ นามาเปรยี บเทยี บกับมาตรฐานและคา่ นยิ มส่วนบุคคลแลว้ ตดั สินออกมาเปน็ คณุ คา่ ของตน ความรูส้ กึ ตอ่ ตนเองอาจเปน็ ไปโดยรตู้ ัว หรือไม่รู้ตัวก็ไดแ้ ต่จะแสดงใหเ้ ห็นได้ดว้ ยลักษณะท่าทางหรือการแสดงออกทาง พฤตกิ รรมภายนอกการเหน็ คณุ ค่าตนเองจะเกดิ ขึน้ จากการมปี ระสบการณ์ในเรื่องความสาเรจ็ และการกระทาสิ่ง ตา่ งๆ ได้บรรลตุ ามเปา้ หมายสง่ ผลให้ได้รับคาชมเชยจากพ่อแมห่ รอื คนอ่นื ๆเป็นการสะสมความพึงพอใจตอ่ ตนเอง ขน้ึ มาจนกลายเป็นความรสู้ กึ เช่อื ถึงความสามารถทจ่ี ะกา้ วไปใหถ้ ึงคุณคา่ ท่ีได้ตัง้ ไว้ถ้าทาได้สาเรจ็ กจ็ ะเกดิ ความ ภาคภูมใิ จและเหน็ คุณคา่ ตนเองในทีส่ ดุ คูเปอร์สมิท ได้กล่าวถึงคุณลักษณะพืน้ ฐานของการเหน็ คุณค่าในตนเองซง่ึ บคุ คลใช้เปน็ สงิ่ ตัดสินว่าตนประสบความสาเรจ็ มอี ยู่ 4 ประการ ดังน้ี

4.5.1 การเหน็ ความสาคญั ตนเอง เปน็ วถิ ีทางท่บี ุคคลรู้สกึ เกี่ยวกบั การถูกยอมรับการมคี ณุ ค่าอยา่ ง เหมาะสม ตนยงั เปน็ ทรี่ ักของบคุ คลอน่ื มีประโยชน์และเปน็ สว่ นหน่ึงของครอบครวั และสงั คม 4.5.2 การเหน็ อานาจตนเอง เป็นอิทธพิ ลท่ีบคุ คลมตี อ่ ชวี ิตตนเองและต่อเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ รอบตวั มีความเชือ่ มนั่ ใน อานาจการกระทาของตนว่าจะกอ่ ให้เกิดผลตามท่ีตอ้ งการและมคี วามสามารถเพยี งพอในการกระทาส่งิ ต่างๆ ให้ บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ทต่ี ้องการ 4.5.3การเหน็ ความสามารถตนเอง เป็นวิธีการพจิ ารณาถึงความสาคญั โดยการกระทาให้สาเรจ็ ตาม เปา้ หมาย สามารถเผชิญอุปสรรคต่างๆ ท่ีผา่ นเข้ามาในชีวิตดว้ ยความมั่นใจปรบั ตัวได้ดีใชก้ ลไกการป้องกนั ตนเอง น้อยและสามารถดารงชีวิตร่วมกับผู้อนื่ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 4.5.4 การเหน็ คุณความดตี นเอง เปน็ การปฏบิ ัติตัวสอดคลอ้ งกบั ศลี ธรรมจริยธรรมค่านยิ ม และวฒั นธรรม ประเพณสี ามารถรับรคู้ ณุ คา่ ของตนตามความเปน็ จริง มองโลกในแง่ดพี อใจในชวี ติ ทเี่ ป็นอยมู่ กี ารแสดงออกของ ความคิดที่ดีและถูกต้องเหมาะสมตามท านองคลองธรรม ในการศึกษาครัง้ นี้ ผศู้ กึ ษาได้เลือกแนวคดิ การเห็นคุณค่าตนเองของ คูเปอร์สมิท มาเป็นกรอบแนวคิด เนื่องจากต้องการศกึ ษาการเหน็ คณุ ค่าตนเองโดยเน้นทกี่ ระบวนการตัดสินใจของบคุ คลที่เกดิ จากมมุ มองภายใน ตนเองเท่านั้น ซง่ึ มคี ุณลักษณะทใ่ี ช้ในการตัดสนิ ความสาเรจ็ ของตนเองซึ่งมอี ยู่ 4 ด้านคอื การเหน็ ความสาคัญ ตนเอง การเห็นอานาจตนเอง การเหน็ ความสามารถตนเอง และการเห็นคุณความดีตนเอง 4.6 ลกั ษณะของบุคคลทม่ี กี ารเหน็ คุณคา่ ตนเอง คเู ปอรส์ มิท (Coopersmith, 1981)กล่าวถงึ ลกั ษณะของ บุคคลที่มีการเหน็ คุณคา่ ตนเองไวด้ ังนี้ 4.6.1 ลักษณะของผ้ทู ี่เหน็ คณุ คา่ ตนเองสูง เปน็ คนทีม่ คี วามเชอ่ื ม่นั ในตนเอง ไมค่ อ่ ยเครียดหรอื วิตก กงั วล มคี วามรสู้ กึ มนั่ คง ปลอดภัยสงู มองตนเองว่าเปน็ บคุ คลทมี่ ีคา่ มีความสาคัญแก่การเคารพนบั ถอื ไมถ่ กู กระทบกระเทอื นจากการตัดสิน การวจิ ารณห์ รอื การตาหนิของบคุ คลอน่ื ได้ง่ายใช้กลไกในการปอ้ งกันตนเองน้อย ยอมรับความจริง มคี วามตั้งใจจริงทจ่ี ะทางานให้ประสบความสาเร็จไม่ทอ้ แท้ง่าย มีความสขุ กบั ชีวิตของตนเอง มี ความคดิ สร้างสรรคท์ ม่ี ปี ระโยชน์มีความกระตือรือรน้ ในการทาสิง่ ตา่ งๆ กลา้ ทางานท่ที า้ ทาย โดยรวมๆแล้วจะมี ความสขุ และใชช้ วี ิตได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกวา่ ผ้ทู ม่ี ีการเห็นคุณค่าในตนเองต่า 4.6.2 ลกั ษณะของผทู้ เ่ี ห็นคณุ คา่ ตนเองต่า จะไมม่ คี วามเชือ่ มั่นในตนเอง ร้สู กึ วา่ ตนเองไรค้ า่ ไมม่ ี ความสามารถ มีข้อบกพร่อง มคี วามวิตกกังวลสงู มคี วามเครียดสูงเม่ือต้องเผชิญกบั ปญั หาที่ไมเ่ คยเจอมากอ่ น ไม่มี ความพยายามท่ีจะเอาชนะต่ออปุ สรรคตา่ งๆมักท้อแทง้ า่ ย หลีกเลยี้ งการแกไ้ ขปญั หา ไม่มคี วามยดื หยนุ่ จะยึดตดิ อย่กู ับสิ่งท่รี ู้จักหรอื เคยชิน เพ่ือความรสู้ กึ ปลอดภยั มักใช้กลไกในการป้องกันตนเอง เป็นบคุ คลลกั ษณะเก็บกดหรอื บคุ คลท่ีเหน็ คณุ ค่าตนเองตา่ บางคนอาจใช้การปกป้องคุณคา่ ตนเอง (defensive self-esteem) ทาให้มีพฤตกิ รรม ม่นั ใจมากเกนิ ไปและบางคร้ังก้าวร้าว 4.7การสรา้ งเสรมิ การเห็นคุณค่าตนเองแนวทางการสรา้ งเสริมการเห็นคณุ ค่าตนเองประกอบดว้ ย 4 อย่าง (Coopersmith, 1981) ดงั น้ี 4.7.1 การได้รับการยอมรบั นับถอื จากบคุ คลสาคญั รอบข้าง 4.7.2 การประสบความสาเรจ็ ในชวี ิตตามสถานภาพของตนในสงั คม โดยมีปัจจยั ย่อยดังน้คี ือ 5.2.1การ มีอทิ ธิพลและการควบคุมผอู้ ่นื ไดซ้ ง่ึ แสดงถงึ ความมอี านาจ 4.7.3 การได้รับการยอมรับ ความสนใจความรกั ใครซ่ งึ่ ทาให้ตนรสู้ กึ วา่ มคี วามสาคัญ 4.7.4 การเป็นบุคคลทมี่ ศี ีลธรรมตามมาตรฐานของสังคมซง่ึ แสดงถงึ การเปน็ บุคคลทีม่ ีคณุ งามความดี นา่ เช่ือถอื ศรทั ธา

4.7.2 การประสบความสาเร็จตามความมุ่งหวงั ซง่ึ แสดงถงึ การมคี วามสามารถ 5.3 ความพยายามท่จี ะ ให้ได้มาในส่ิงทตี่ นตอ้ งการซึง่ เป็นส่ิงที่มีคณุ คา่ และสาคัญ 4.8 ขอบเขตของความสามารถที่จะวัดผลกระทบต่อบคุ คลความวิตกกังวลเพอ่ื ให้เกิดสภาวะสมดลุ จะเห็น ได้วา่ การเห็นคณุ คา่ ตนเองเป็นพลังงานสาคัญอยา่ งหน่ึงใน การผลักดันให้บุคคลก้าวเข้าสู่ความสาเรจ็ ในชีวติ และ อาจกล่าวไดว้ ่าเปน็ ดัชนีบ่งช้ตี วั หนึ่งของทักษะชีวิตและการมีสขุ ภาพจติ ท่ดี ี 4.9 เทคนคิ ในการพฒั นาการเห็นคุณคา่ ตนเอง (Coopersmith, 1981) มีดงั น้ี 4.9.1 การยอมรับความรูส้ กึ ของบคุ คลตามความเปน็ จรงิ จะชว่ ยให้สามารถถ่ายทอดความรูส้ ึกออกมา โดยเฉพาะการยอมรบั ความรสู้ กึ ทางลบ ความรู้สึกกลวั ความร้สู ึกขัดแย้งและความรสู้ ึกปฏิเสธของบุคคลเป็นสิ่งท่มี ี ประโยชน์ต่อการแสดงความรู้สกึ ของบุคคลในขณะนัน้ 4.9.2 ยอมรับความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลในการเผชญิ ปัญหากบั วิธีการแกป้ ญั หาทีแ่ ตกตา่ งกันควร ทาความเขา้ ใจในวิธกี ารแก้ปญั หาและให้โอกาสแต่ละบุคคลในการแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ ปัญหาทตี่ อ้ งเผชิญอยู่ แลว้ นอกจากนก้ี ารไดฝ้ ึกเลอื กวธิ ีการแกป้ ัญหาเองนัน้ ทาใหค้ น้ พบวา่ ยงั มวี ิธกี ารทเ่ี หมาะสมอีกหลายอยา่ งทอ่ี าจจะ เลอื กใช้ 4.10 หลีกเล่ยี งสง่ิ ท่ที าให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงอยา่ งรุนแรงและกะทนั หนั กับบคุ คล ซง่ึ จะทาใหบ้ คุ คลเกดิ ความรูส้ ึกไมม่ น่ั ใจ ดงั นัน้ เมอ่ื มีการเปลย่ี นแปลงเกดิ ขึ้นควรแจ้งให้ทราบลว่ งหน้าอยา่ งชดั เจนและในทนั ทแี ละถ้า เป็นไปไดไ้ มค่ วรใหม้ กี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งกะทนั หนั เกดิ ขึ้น 4.11 การมตี ัวแบบทีด่ แี ละมปี ระสทิ ธภิ าพในการเผชญิ ปัญหา เนื่องจากตัวแบบมอี ิทธิพลต่อความรสู้ กึ ม่นั คงของบุคคล ตัวแบบจงึ ควรมีความเช่ือม่ันและให้การสนบั สนนุ บคุ คลใหส้ ามารถใชศ้ กั ยภาพท่ีมีอยู่เผชญิ ปัญหา อยา่ งมนั่ ใจและให้กาลังใจวา่ บุคคลสามารถทจี่ ะประสบความสาเรจ็ ได้ในการเผชิญปัญหาด้วยตนเอง 4.12 การชว่ ยให้บุคคลพฒั นาข้นั ตอนการแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรคโ์ ดยใหไ้ ด้ระบายความขุ่นมัวซ่ึงเป็น โอกาสให้ได้ค่อยๆ เข้าใจความยุ่งยากในตนเอง ช่วยลดระดับความเครยี ด จากนนั้ จะคอ่ ยๆใสใ่ จกับความรู้สกึ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตนเอง 4.13 ความคาดหวงั ท่สี ูงเกินความเปน็ จรงิ จะส่งผลให้บคุ คลเกดิ ความเครียดวติ กกงั วลมากกว่าจะหาวิธี แก้ปญั หาและจะเปน็ การท าลายความรู้สกึ เหน็ คุณคา่ ตนเองเมือ่ บคุ คลไดร้ ับประสบการณด์ ังกล่าวข้างต้น ไมว่ า่ ด้านใด จะเป็นเพยี งด้านเดียวหรอื หลายดา้ นก็ตาม จะส่งผลให้บุคคลนัน้ เหน็ คุณคา่ ตนเองเพ่มิ ข้ึนและจะทาให้ คุณลักษณะในดา้ นต่างๆของบคุ คล อนั ได้แก่ ความมุ่งม่นั ความเจริญสว่ นบุคคล การมใี จกว้าง ความไวว้ างใจ การ กล้าเผชญิ ความคดิ สร้างสรรค์ การแสดงออก ความกล้าหาญ การปราศจากอคติ ความเสยี สละ การกลา้ เสีย่ งการ ทดลองทาสิ่งใหม่ และความเป็นเอกภาพเพม่ิ ขึ้นอีกดว้ ย และนน่ั เปน็ สิง่ แสดงให้เห็นวา่ เกดิ การพฒั นาความรสู้ ึกเห็น คณุ คา่ ตนเองข้นึ ในตวั บคุ คลน้ัน

ภาคผนวก - ประวตั ผิ จู้ ดั ท้าภูมิปญั ญาศกึ ษา - ภาพประกอบ

ประวตั ผิ ถู้ า่ ยทอดภูมิปญั ญา ช่อื : นางทองพนู เพรชรมั ย์ เกดิ : - มกราคม 2478อายุ 83 ปี ภูมิลา้ เนา : ตาบลหนองมะเขือ อาเภอเมืองพล จงั หวัดขอนแกน่ ท่ีอยปู่ จั จุบนั : บ้านเลขท่ี - หมู่ 1 ตาบลวังน้าเยน็ อาเภอวังนา้ เย็น จังหวดั สระแก้ว สถานภาพ: โสด การศกึ ษา: ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปัจจบุ ัน ประกอบอาชีพ:รับจ้างทว่ั ไป ประวัติผู้เรยี บเรยี งภมู ิปญั ญาศึกษา ชือ่ : นางสาวสุภาณี ไชยรตั น์ เกดิ : 7 กันยายน 2532 อายุ 29 ปี ภูมิลา้ เนา: 73 /1 ถนน จงกลนธิ ารณ์ ตาบลในเมือง อาเภอเมอื งอุบลราชธานี จังหวัดอบุ ลราชธานี 34000 ทอี่ ยูป่ จั จุบนั : 73 /1 ถนน จงกลนธิ ารณ์ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองอบุ ลราชธานี จงั หวดั อุบลราชธานี 34000 สถานภาพ: โสด การศึกษา: ศิลปะศาสตร์บณั ฑติ สาขา ภาษาอังกฤษและการสอื่ สาร มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี ปัจจบุ ันประกอบอาชีพ : รบั ราชการครู

ภาพประกอบการจัดท้าภมู ปิ ัญญาศึกษา เรือ่ งนวดแผนไทย ใสใ่ จสขุ ภาพ

การนวดคลงึ ศรี ษะ การนวดบรเิ วณบา่ หรอื ไหล่ การนวดบรเิ วณด้านหลัง

การนวดบริเวณขา การนวดหลงั ขา คณุ ปา้ เปยี หรือ นางทองพูน เพชรรมั ย์

เอกสารอ้างองิ นวดแผนไทย. [ออนไลน์].สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี : 8 ธันวาคม 2561. เขา้ ถึงไดจ้ าก :https://th.wikipedia.org/wiki/ การนวดแผนไทย. การบวดแผนไทย. [ออนไลน์].สบื คน้ เม่ือวันที่ : 8 ธนั วาคม 2561. เข้าถงึ ไดจ้ าก : 2561Thesis.swu.ac.th/ swuthesis/spo_Coa/Chamma_p.pdf. การนวดแผนไทย. [ออนไลน์].สบื คน้ เมื่อวนั ที่ : 13ธนั วาคม 2561.เขา้ ถึงไดจ้ าก : Digital_collect.lib. buu.ac.th/dcms/files/53910943/chapter2.pdf. การนวดแผนไทย. [ออนไลน์].สบื คน้ เมอื่ วันที่ : 13 ธันวาคม 2561. เขา้ ถงึ ได้จาก : www.ssruir.sssru.ac.th /bitstream/ssruir/2961/019-53.pdf. การนวดแผนไทย. [ออนไลน์].สบื คน้ เม่อื วันท่ี : 21 ธนั วาคม 2561. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : www.library.rmutt. ac.th/?p=13576. การนวดแผนไทย. [ออนไลน์].สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ : 22ธนั วาคม 2561. เข้าถึงได้จาก : www.yesspathailand .comนวดแผนไทย-นวดแผนโบราณ/วธิ กี ารนวดแผนโบราณhtml. การนวดแผนไทย. [ออนไลน์].สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี : 22ธนั วาคม 2561. เข้าถึงไดจ้ าก : www.siamarcheep .com>นานาสาระ. การนวดแผนไทย. [ออนไลน์].สืบค้นเมื่อวันที่ : 22 ธันวาคม 2561. เข้าถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia. org/wiki/. การนวดแผนไทย. [ออนไลน์].สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ : 22 ธันวาคม 2561. เข้าถงึ ได้จาก : https://sites.google .com/site/khorngkarnwdphaenthiy