Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NECTEC36TH-Booklet-resize

NECTEC36TH-Booklet-resize

Published by Walailak Kpc, 2022-08-01 07:28:58

Description: NECTEC36TH-Booklet-resize

Search

Read the Text Version

5 TanRabad-REPORT แอปพลเิ คชนั หลกั ทนั ระบาดรายงาน เวบ็ แอปพลเิ คชนั ทส่ี นบั สนนุ การสรา งรายงานการระบาดของไขเ ลอื ดออก ชดุ ซอฟตแ วร และดัชนีทางกีฏวิทยาที่มีการใชง านอยูเปน ประจาํ ในรปู กราฟ ตาราง และแผนที่ บนพน้ื \"ทนั ระบาด\" ฐานของขอ มลู สะสมหรอื ตอ เนอ่ื ง ขอมลู ใน ภาพรวมหรือเชิงเปรียบเทียบ และอางอิง พน้ื ทแี่ ละระดบั พนื้ ทต่ี ามความรบั ผดิ ชอบของ หนว ยงานตน สงั กดั และชวงเวลาท่ีสนใจ TanRabad-SURVEY TanRabad-WATCH TanRabad-BI ทันระบาด ชวยลดขั้นตอนที่ยุงยาก ซบั ซอ น และพฒั นารปู แบบการดำเนนิ การ ทันระบาดสํารวจ แอปพลิเคชันท่ีสนับสนุน ทนั ระบาดตดิ ตาม เวบ็ แอปพลเิ คชนั ทนี่ าํ เสนอ ทนั ระบาดวเิ คราห เวบ็ แอปพลเิ คชนั ทส่ี นบั สนนุ เฝา ระวังโรคไขเลือดออกเชิงรกุ การบันทึกขอมูลการสํารวจลูกน้ํายุงลาย สถานการณร ะบาดของโรคไขเ ลอื ดออกและ การสรา งรายงานเชงิ วเิ คราะหท เ่ี กย่ี วขอ งกบั ระบพุ กิ ดั สถานทที่ ที่ าํ การสาํ รวจ และรายงาน ดัชนีทางกีฏวิทยาแบบเรียลไทม ในรูปแบบ การระบาดของโรคไขเ ลอื ดออกและดชั นที าง สนบั สนนุ การวเิ คราะหข อ มลู การเกดิ โรค คาดัชนีทางกีฏวิทยาภายหลังการสํารวจฯ แผนท่ี และตาราง โดยอางอิงขอมูลระบาด กฏี วทิ ยาตามมมุ มองทสี่ นใจ รวมกับขอมูลปจจัยเสี่ยงตาง ๆ แบบ ส้ินสุด พรอมจัดเก็บขอมูลบน Cloud เพ่ือ วทิ ยาจากกองระบาดวทิ ยา ขอ มลู การสาํ รวจ เรียลไทม ที่มีมาตรฐานวิชาการและ สนบั สนนุ การนาํ ขอ มลู ไปใชป ระโยชนต อ ลกู นาํ้ ยงุ ลายจากทนั ระบาดสาํ รวจ และพนื้ ท่ี เปนแนวทางเดียวกันท้งั ประเทศ ตามความรบั ผดิ ชอบของหนว ยงานตน สงั กดั TanRabad-QUALITY ทำใหการปองกันโรคไขเลือดออก มีประสิทธิภาพ แจงเตือนพื้นที่เสี่ยง ทันระบาดคุณภาพ เว็บแอปพลิเคชันที่ และดำเนินการควบคุมโรคไดตรงเปา สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของ มากขึ้น สงผลใหสามารถลดจำนวน ขอ มลู สาํ รวจลกู นาํ้ ยงุ ลาย โดยอา งองิ ตาม ผปู วยโรคไขเ ลอื ดออก และผลกระทบ พื้นท่ีความรับผิดชอบของหนวยงานตน ที่จะเกิดกับประชาชน สงั กดั

ทันระบาด ภาคเจาหนาที่ “การตอยอด สู… รูทัน ภาคประชาชน ขอมูล 'ทันระบาด' ดร.นัยนา สหเวชชภณั ฑ นักวจิ ยั ทมี วิจยั “รูท นั ” ชวยใหป ระชาชนสามารถเขาถึง สู แอปพลิเคชนั 'รทู ัน' การจาํ ลองและระบบขบั เคลอื่ นดว ยขอ มลู หรือรับการแจงเตือนขอมูลขาวสาร (DSS) เนคเทค สวทช. เลา วา ท่ีสงผลกระทบตอสุขภาพไดอยาง เพอ่ื สง ตรงขอ มลู สะดวก และ รวดเร็ว จากแหลงขอมูลท่ี ถงึ ภาคประชาชน จากความรวมมือของ เนคเทค สวทช. มคี วามนา เชอ่ื ถอื ระดบั ประเทศ เพอ่ื เตรยี ม สรา งความตระหนกั รู และกรมควบคมุ โรค ในการวจิ ยั และพฒั นา รบั มอื กบั ปญ หาทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในการใชช วี ติ และการมสี ว นรว ม “ชดุ ซอฟตแ วรท ันระบาด”เพื่อสนับสนุน ประจาํ วนั และไดร บั ความเสย่ี งนอ ยทส่ี ดุ ก า ร เ ฝ  า ร ะ วั ง ก า ร ร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค ในการ ลดปว ย ลดกระจาย ไ ข  เ ลื อ ด อ อ ก ใ ห  กั บ ภ า ค เ จ  า ห น  า ท่ี ลดภยั รา ยจากไขเ ลอื ดออก “ สาธารณสขุ ซงึ่ มกี ารนาํ ไปใชง านกวา 6 ป มีผูใชงานท่ัวประเทศกวา 7,500 ราย ใหไ ดอ ยา งสมั ฤทธผิ์ ล และสามารถสรา งผลกระทบเชงิ เศรษฐกจิ และสงั คมไดค อ นขา งสงู ดร.นยั นา สหเวชชภณั ฑ ปจ จบุ นั เปน ยคุ ของ Digital Disruption “รทู นั ” แจง เตอื นสถานการณค วามเสยี่ ง นักวจิ ยั ทมี วจิ ัยการจําลอง เนคเทค สวทช. และ กรมควบคุมโรค ดา นสขุ ภาพ ณ ตาํ แหนง ปจ จบุ นั และพนื้ ที่ และระบบขบั เคล่อื นดว ยขอ มลู จงึ มแี นวคดิ ในการตอ ยอด \"ทนั ระบาด\" ทส่ี นใจแบบเรยี ลไทม ไมว า จะเปน การแพร เนคเทค สวทช. ไปสภู าคประชาชน ภายใตแ อปพลเิ คชนั ระบาดของไขเ ลอื ดออก สถานการณฝ นุ ที่ชื่อวา “รูทัน” หรือ แอปฯ ส่ือสาร PM 2.5 ดชั นคี วามรอ นทน่ี าํ ไปสโู รคลมแดด ความเส่ียงดานสุขภาพ เพื่อสราง และโควดิ -19 และพรอ มขยายผลสคู วาม ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก รู  แ ล ะ ก า ร มี ส  ว น ร  ว ม เสยี่ งดา นสขุ ภาพอน่ื ๆ ตอ ไปในอนาคต ในการลดปวย ลดกระจาย ลดภัยราย จากไขเลือดออกใหไดอยางสัมฤทธิ์ผล

15% Lorem ipsum Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Lorem ipsum 42%สำหรบั ด้านแพลLaoตmreฟemt,อcipoรsnusม์ mecกdteoลtluoาerrงsitของประเทศ เนคเทคมองย้อนaไdปipถiscึงinคg eำliถt. าม ณ จุดเริม่ ต้น ของการทำเกษตรกรรม คอื 78% Lorem ipsum จะปลกู อะไรLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. ปลกู ที่ไหน 21% และปLoลreูกmอipยsา uงmไร Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer แน่นอนเร่มิ ต้นadมipีisยci่อngมelมit.ีชัยไปกวา่ ครึ่ง แต่เมอื่ ไมม่ ี “ข้อมลู ” การเริม่ ตน้ ทำเกษตรกรรมส่วนใหญ่ มกั เปน็ การปลกู ตาม ๆ กัน แม้จะไดป้ ริมาณและคณุ ภาพผลผลติ ไมต่ รงตามทค่ี าดหวังไวก้ ็ตาม แพลตฟอรม บรหิ าร จดั การปญ หาเมอื งและเพ่อื ใหไ้ ด้คำตอบทีถ่ กู ตอ้ ง แมน่ ยำ ในมุมมองระดบั ประเทศ จงึ เกิดการบรู ณาการข้อมูลภาครัฐดา้ นการเกษตร สรา งแผนทเี่ กษตรเพอ่ื การจัดการเชงิ รุก หรือ Agri-Map ขน้ึ

ตอนนี้ไม่ว่าเมอื งไหนในโลกตา่ งก็ตงั้ เป้าสู่การเปน็ Traffy Fondue ‘Smart City’ นวตั กรรม Smart City เมอื งทผี่ านการพัฒนา จบปญ หาเมอื งในแพลตฟอรม เดยี ว ใหต อบโจทยค วามตอ งการของผูอยูอ าศัย ผู้บริหารเมืองและชุมชนยุคใหม่ทั่วโลก ได้มีการนำเทคโนโลยี เพอื่ ให้ประชาชนมีคุณภาพชีวติ ทดี่ ขี น้ึ อยา่ งยง่ั ยนื สารสนเทศมาพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรและสนับสนุน แตเ่ มอื่ หันกลบั มามองประเทศไทยในชว่ งเวลานี้ ชุมชนท้องถิ่น เพื่อการบริหารจัดการที่เป็นระบบ คุ้มค่า การจะกาวสู Smart City คงไมใชเ ร่อื งงาย และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน หากการแจงความตองการ เนคเทค สวทช. ไดว ิจัยและพฒั นา หรือปญหาเกีย่ วกบั เมอื งใหผดู ูแลรบั ผดิ ชอบ แพลตฟอรม “Traffy Fondue” ยงั ทำไดย าก เสยี เวลา และเสยี คาใชจ า ย เพอ่ื การบริหารและแกไ ขปญหา เมืองและชมุ ชน จากการผสานการทำงานของ 2 เทคโนโลยหี ลกั คอื Geographical Information System (GIS) ซงึ่ เป็นเทคโนโลยี เพ่อื การจดั เก็บรายละเอียดขอ้ มูล ตำแหนง่ และรปู ภาพ ของสถานที่ และเทคโนโลยี AI ซง่ึ ทำหน้าทีป่ ระมวลผลข้อมลู Big Data ออกมาเปน็ ขอ้ มูลทพ่ี รอ้ มใช้งาน รวมถึงมแี พลตฟอรม์ ให้ประชาชนทวั่ ไปใช้งานไดง้ า่ ย ซง่ึ เปน็ จุดแขง็ ของ Traffy Fondue ที่ทำใหส้ ามารถประยกุ ตใ์ ชง้ านแพลตฟอร์ม เพอื่ สง่ เสริมการเป็น Smart City ในด้านอน่ื ๆ ใหก้ ับประเทศไดอ้ ีกหลากหลาย

Traffy Fondue เปน แพลตฟอรม ใชง านงา ย สําหรับปญหาเมืองที่ประชาชนสามารถ ในสวนของเทศบาลและ อบต. ลาสุด ตัวกลางระหวางประชาชนกับ ไมมคี า ใชจ าย แจง ผา น Traffy Fondue มี 16 ดา นหลกั ทีมผูพัฒนาระบบไดจัดเตรียมพื้นท่ี หนวยงานที่ดูแลรับผิดชอบ ไมตอ งเปดเผยตัวตน ทั้งหมดเอาไวอํานวยความสะดวกใน คอื ไฟฟา /แสงสวา ง ประปา จราจร/รถยนต ก า ร ด ํ า เ นิ น ง า น ใ ห  แ ก  ภ า ค รั ฐ เ ป  น ที่ ทําหนาท่ีรับแจงปญหา (Ticketing ถนน ทางเทา ระบบส่ือสาร กล่ิน เสียง เรียบรอยแลว เจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของ System) ผานแอปพลิเคชันไลน ซึ่งมี ความสะอาด ความปลอดภัย ตนไม สามารถขออนุมัติผานทางไลนเพื่อ ระบบแชตบอต (Chatbot) หรือระบบ สาธารณะ อาคารชาํ รดุ วสั ดชุ าํ รดุ หอ งประชมุ เขา ใชง านไดโ ดยไมต อ งดําเนนิ การสรา ง ตอบอตั โนมตั ใิ นการสอบถามรายละเอยี ด ระบบปรับอากาศ และสัตว ขอบเขตพ้ืนที่ท่ีดูแล ของปญหาและขอมูลตางๆ ที่จําเปน อาทิ ตําแหนงท่ีตั้งและภาพถายของ ห า ก จุ ด ท่ี เ กิ ด เ ห ตุ ยั ง ไ ม  มี ห น  ว ย ง า น ที่ หลังจากลงทะเบียนเปนผูดูแลแลว ปญ หา รบั ผดิ ชอบลงทะเบยี นไวใ น Traffy Fondue เจาหนาท่ีสามารถตรวจสอบการรับ ระบบจะดําเนนิ การแจง ใหผ แู จง เหตรุ บั ทราบ แจงปญหาจากประชาชน และ รายงาน จากน้ัน AI จะทําหนาที่วิเคราะหปญหา โดยอตั โนมัติ เพื่อใหผแู จงดําเนินการแจง สถานะพรอมรายละเอียดในการแกไข นั้น ๆ แลวจัดสงขอมูลใหหนวยงานที่ ปญหาที่เกดิ ขนึ้ ผา นชองทางอื่นๆ ตอไป ปญ หาแตล ะขน้ั ตอนเขา สรู ะบบฐานขอ มลู รับผิดชอบแบบเรียลไทม โดยผูดูแล ไดแบบเรียลไทม ระบบจะดําเนินการ รับผิดชอบปญหาสามารถสงรายงาน Traffy Fondue ใชงานงาย ไมมี หน่วยงานผู้ดูแลรับผิดชอบอาคาร สงขอมูลใหผูแจงปญหาไดรับทราบ ความคืบหนาการแกไขใหประชาชน คาใชจายและไมตองเปดเผยตัวตน สถานที่หรือเมืองทั้งภาครัฐและเอกชน โดยอัตโนมัติ เพื่อใหผูแจงสามารถ รับทราบผานระบบดวยเชนกัน เพียงประชาชนเขาแอปพลิเคชันไลน สามารถใชบ้ รกิ ารระบบ Traffy Fondue ติ ด ต า ม ก า ร แ ก  ไ ข แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม แลวเพ่ิมเพ่ือน ID @traffyfondue เพอ่ื รบั แจง้ ปญั หาไดโ้ ดยไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย พงึ พอใจในการดาํ เนนิ งานของเจา หนา ที่ หรือคลิก https://lin.ee/nwxfnHw ได ก็จะสามารถพิมพแจงปญหาไดทันที เพียงเพิ่มเพื่อน ID @fonduemanager ที่หนาแชต เชน พิมพแจงวา ‘พบปญหา แล้วดำเนินการสร้างพื้นที่ที่ดูแลและ ท้ังนี้ Traf fy Fondue ยังมีระบบ ถนนชาํ รดุ ’ หรอื ‘ไดก ลน่ิ สารเคม’ี เปน ตน กำหนดขอบเขตความรับผิดชอบของ Dashboard ใหเ จา หนา ท่ี ผบู งั คบั บญั ชา หน่วยงาน ก็จะสามารถเริ่มดำเนินการ และผูบริหารทั้งระดับทองถิ่น ภูมิภาค ระบบจะสอบถามรายละเอียดที่จําเปน รับแจ้งปัญหาได้ทันที และประเทศ ใชตรวจสอบภาพรวม เพม่ิ เตมิ โดยอตั โนมตั ิหลงั จากแจง ปญ หา ปญ หาทไ่ี ดร บั แจง สถานะการดาํ เนนิ งาน แลว ผูแจงสามารถติดตามการแกไข แกไ ขปญ หา ความรวดเรว็ ในการทาํ งาน ปญหาของเจาหนาท่ีไดผานหนาแชต รวมถึงความพึงพอใจจากผูแจง เพื่อ เดิม รวมถึงประเมินความพึงพอใจใน ใชเปนฐานขอมูลในการสรุปผลการ การแกไขปญหาไดอีกดวย ดําเนินงานเปดเผยความโปรงใสในการ ทํางาน รวมถึงใชในการบริหารงาน ท้ังระดับหนวยงานและระดับภาพรวม ประเทศ

Traffy Fondue “นอกจากเรื่องความสะดวก จบปญ หาเมอื ง ในแพลตฟอรม เดยี ว รวดเร็วในการดาํ เนินงานของ เจาหนา ที่แลว ดร.วสันต ภัทรอธิคม หัวหนา Traffy Fondue ไมไดมีดีแค “ ที ม วิ จั ย ร ะ บ บ ข น ส  ง แ ล ะ จ ร า จ ร ก า ร รั บ แ จ  ง ป  ญ ห า ห ลั ก ข อ ง ส่ิงหนงึ่ ทท่ี ีมวจิ ัย อัจฉริยะ เนคเทค สวทช. เมืองท่ีครอบคลุมถึง 16 ดาน ใหค วามสาํ คัญไมแพก นั เลาวา แตดวยการออกแบบระบบใหมี ความยดื หยุน สงู จงึ สามารถปรบั คือ ปจจุบันมีหนวยงานที่ใช Traffy เปลี่ยนรูปแบบการทํางานของ Fondue ในการรับแจงปญหาแลว TraffyFondueใหส อดคลอ งกับ ‘ความย่ังยืน เปนจํานวนมาก ซ่ึงลาสุด เนคเทค สถานการณหรอื ความตอ งการ ของแพลตฟอรม ’ ส ว ท ช . ไ ด  รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น ง บ ของผูรับแจงไดอีกดวย ป ร ะ ม า ณ จ า ก ก อ ง ทุ น วิ จั ย แ ล ะ จึงไดอ อกแบบให พฒั นากิจการกระจายเสยี ง กจิ การ ด  ว ย จุ ด แ ข็ ง ทั้ ง ห ม ด น้ี ท ํ า ใ ห  Traffy Fondue โทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม Traffy Fondue เปนผลงาน จดั เก็บขอมลู และประมวลผล เพื่อประโยชนสาธารณะ (กทปส.) ท่ีไดรับรางวัลระดับชาติมาแลว การทํางานผานระบบคลาวด โดยสาํ นกั งานคณะกรรมการกจิ การ หลายรางวลั อาทิ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน สามารถขยายพืน้ ที่จดั เก็บ แ ล ะ กิ จ ก า ร โ ท ร ค ม น า ค ม แ ห  ง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ขอ มูล รวมถึงพฒั นา ชาติ (กสทช.) สําหรับขยายผลการ ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ความฉลาดใหกบั ระบบ ใชง าน Traffy Fondue ไปสเู ทศบาล ประเภทหน่วยงานภาครัฐ จาก ประมวลผลไดอ ยูเสมอ และ อบต. ท่ัวประเทศ ภายใน 2 ป เวที “รางวลั นวตั กรรมแหง่ ชาติ ขางหนา เพ่อื หนุนเสรมิ การยกระดับ ปี 2564” ระบบจงึ มคี วามพรอ ม ประเทศไทยสูการเปน Smart City ในการใหบ รกิ ารระยะยาว และรางวัลผลงานวิจยั แห่งชาติ ทม่ี ผี ลกระทบสงู ปี 2565 ระดบั ดี ดร.วสันต ภัทรอธิคม จากเวที “Prime Minister’s TRIUP Award for Research หัวหนาทีมวจิ ยั ระบบขนสง Utilization with High Impact และจราจรอจั ฉรยิ ะ เนคเทค สวทช. 2022” เนื้อหาและภาพประกอบจาก: Traffy Fondue นวัตกรรม Smart City จบปัญหาเมืองในแพลตฟอร์มเดียว. (2565). เข้าถึงจาก https://www.nstda.or.th/home/news_post/traffy-fondue-smart-city/

15% Lorem ipsum Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Lorem ipsum 42%สำหรับด้านแพลLaoตmreฟemt,อcipoรsnus์มmecกdteoลtluoาerrงsitของประเทศ เนคเทคมองย้อนaไdปipถiscงึ inคg eำliถt. าม ณ จดุ เริ่มต้น ของการทำเกษตรกรรม คอื 78% Lorem ipsum จะปลกู อะไรLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. ปลกู ทไ่ี หน 21% และปLoลreกู mอipยsา uงmไร Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer แนน่ อนเริม่ ตน้ adมipีisยci่อngมelมit.ชี ัยไปกวา่ คร่งึ แตเ่ มือ่ ไม่มี “ขอ้ มูล” การเร่ิมตน้ ทำเกษตรกรรมส่วนใหญ่ “มวิ เทอรม-เฟสเซนซ”มักเป็นการปลูกตาม ๆ กัน แมจ้ ะได้ปรมิ าณและคุณภาพผลผลิต ไม่ตรงตามท่คี าดหวังไว้กต็ าม (µTherm- FaceSense)และเพอื่ ใหไ้ ดค้ ำตอบท่ีถกู ต้อง แม่นยำ ในมมุ มองระดับประเทศ จึงเกดิ การบูรณาการขอ้ มลู ภาครฐั ด้านการเกษตร สรา งแผนทเี่เกคษรตอ่ืรเงพอ่ืวกดั ารอจณุัดกาหรภเชมงิู รอิ ุกจั ฉรยิ ะ หรอื Agri-Map ขนึ้

วกิ ฤตไวรสั โควดิ -19 (COVID-19) “มวิ เทอรม-เฟสเซนซ” ทำใหผ้ คู้ นหันมาใสใ่ จอุณหภมู ิร่างกาย (µTherm-FaceSense) ของตนมากขึ้น เครอ่ื งวดั อณุ หภมู อิ จั ฉรยิ ะ ดวยอณุ หภมู ิรา งกาย ในสถานการณ์ COVID-19 การตรวจวดั อณุ หภมู กิ ลายเปน็ ดา่ นแรก เปน หน่ึงในสญั ญาณสำคัญ ก่อนก้าวเข้าสถานที่ใด ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานที่ที่มีผู้คน ท่ีบง ชก้ี ารติดเชือ้ COVID-19 พลกุ พลา่ นจงึ มจี ดุ คดั กรองเบอ้ื งตน้ พรอ้ มดว้ ยเครอ่ื งวดั อณุ หภมู ิ รวมถงึ โรคติดตอรา ยแรงอกี มากมาย หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น เครื่องอินฟาเรดเทอร์โมมิเตอร์ แบบยิงหน้าผาก ซึ่งมีความแม่นยำเป็นที่ยอมรับในการตรวจ เช่น โรคไขห้ วดั ใหญ่ คัดกรองและราคาถูก แต่ตรวจวัดได้ครั้งละหนึ่งคนเท่านั้น โรคทางเดนิ หายใจรุนแรงเฉียบพลัน ทำให้การแปลผลล่าช้า และไม่สามารถรักษาระยะห่างกับอีกฝ่าย โรคไข้สมองอักเสบ โรคมาลาเรีย ได้มากนักซึ่งมีความเสี่ยงในการแพร่เชื้อสู่บุคคลที่ทำการ ตรวจวัด หรอื การใชก้ ลอ้ งถา่ ยภาพความรอ้ น (Thermal Imaging และ โรคไขเ้ ลือดออก เป็นต้น Camera) ที่ใช้ ณ ท่าอากาศยาน ห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ แม้ว่า จะสามารถวัดอุณหภูมิได้หลายคนพร้อมกันและมีความแม่นยำ ค่อนข้างดี แต่มีราคาสูง จากประสบการณ์การทำวิจัย พัฒนา และวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยีอินฟราเรดกว่าสิบปี เนคเทค สวทช.พัฒนาระบบ ตรวจอณุ หภมู อิ จั ฉรยิ ะเพอ่ื กา้ วขา้ มขอ้ จำกดั ตา่ ง ๆ โดยใชก้ ลอ้ ง ตรวจจบั ความรอ้ นสแกนใบหนา้ ไดค้ รง้ั ละหลายคนพรอ้ มกนั อยา่ ง แม่นยำ รู้ผลภายใน 0.1 วินาที จากระยะห่าง 0.5-1.5 เมตร สามารถวเิ คราะหแ์ ละประมวลผลไดภ้ ายในตวั เครอ่ื งนอกจากนี้ยัง รองรับการเชื่อมต่อผา่ นเครอื ขา่ ยการสื่อสาร และจัดเก็บข้อมูล ผ่านระบบ IoT ในราคาทีเ่ ขา้ ถงึ ได้

“มิวเทอรม -เฟสเซนซ” “มวิ เทอรม -เฟสเซนซ” รนุ ใหมล า สดุ นี้ คุณสมบตั ิ (µTherm-FaceSense) ได้ต่อยอดจากทรัพย์สินทางปัญญา เดมิ ของทมี วจิ ยั และผนวกระบบคดั กรอง ตรวจจับใบหน้าและวัดค่า “มิวเทอรม-เฟสเซนซ” (µTherm อณุ หภูมิบคุ คลโดยไมส่ ัมผสั ทสี่ ามารถ อุณหภูมิถูกต้อง แม่นยำ -FaceSense) หรือ ระบบตรวจวัด จับตำแหน่งของบุคคลแบบอัตโนมัติ ภายใน 0.1 วินาที อณุ หภมู ใิ บหนา้ แบบไมส่ มั ผสั ทลี ะหลาย (Automatic Human Detection) บคุ คลและการรบั สง่ ขอ้ มลู ผา่ นเครอื ขา่ ย เชอ่ื มตอ่ กบั ระบบการสอ่ื สารและเชอ่ื มโยง ตรวจวัดอุณหภูมิครั้งละ การสื่อสาร ซึ่งต่อยอดผนวกจุดแข็ง ขอ้ มลู ผา่ นระบบ IoT สามารถวดั อณุ หภมู ิ หลายบุคคลพร้อมกัน และปรับปรุงข้อจำกัดของมิวเทอร์ม ร่างกายผ่านการสแกนใบหน้าครั้งละ ในระยะห่างสูงสุด 1.5 เมตร ในอดีต ด้วยความสนับสนุนจาก หลายคนแบบอตั โนมตั ไิ ดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ กองทนุ วจิ ยั และพฒั นากจิ การกระจาย ตรวจจับใบหนา้ บุคคลอัตโนมตั ิ เสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ “มวิ เทอรม -เฟสเซนซ” ใชก้ ารตรวจจบั (Face detection) แม้สวม โทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ รังสีความร้อนจากวัตถุสู่ตัวกล้อง หน้ากากอนามัย (กทปส.) ดงั นน้ั สถานทท่ี เ่ี หมาะสมกบั การตดิ ตง้ั ใชง้ านควรเปน็ สถานทท่ี ค่ี วามแปรปรวน กำหนดค่าอุณหภูมิเฝ้าระวัง ของอากาศไม่มากเกินไป ซึ่งตรงตาม และ ค่าชดเชยสภาพแวดล้อม ข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก ได้ (WHO) โดยระบบนี้สามารถตั้งค่า ชดเชยอณุ หภมู ิ (Offset Temperature) รองรับการเชื่อมต่อและจัด และระยะการตรวจวัดที่เปลี่ยนไป เก็บข้อมูลผ่านเครือข่าย อนั เปน็ สทิ ธบิ ตั รของกลมุ่ วจิ ยั อปุ กรณ์ Wi-Fi รวมถึงสาย LAN สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG) เนคเทค สวทช. เพื่อชดเชยผลจาก อุณหภูมิ ความชื้น และระยะห่างของ บุคคล เพื่อให้ได้มาซึ่งค่าอุณหภูมิที่ แม่นยำที่สุด

มวิ เทอรม-เฟสเซนซ “ ขอมูลจาก “ “มวิ เทอรม-เฟสเซนซ” หวังลดการพึง่ พาเทคโนโลยตี า งประเทศ สามารถใชเปน ฐานขอมูลอางอิง คณุ อาโมทย์ สมบรู ณแ์ กว้ นกั วจิ ยั ในอนาคตข้อมูลอุณหภูมิและภาพ ในการเฝาระวงั กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปี ใบหน้าจะถูกบันทึกในเซิร์ฟเวอร์ และเซนเซอร์ เนคเทค สวทช. กลา่ ววา่ หน่วยงานเจ้าของสถานที่ หรือ เพอ่ื กาํ หนดมาตราการลดการ บุคคลที่ได้รับอนุญาตจะสามารถ แพรก ระจายของโรคตดิ ตอ หรอื “ระบบนี้ติดตั้งใช้งานง่ายเพียง ตรวจสอบขอ้ มลู การตรวจวดั ผา่ น การสญู เสยี ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ภาวะ นำตัวเครื่องไปเชื่อมต่อกับจอ Dashboard เว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือ แสดงผลผ่าน HDMI โดยทีมวิจัย แอปพลเิ คชนั ได้ นำไปสกู่ ารปอ้ งกนั การเสยี สมดลุ ของอณุ หภมู ิ ได้ออกแบบระบบบันทึกข้อมูล การเพิ่มจำนวนของผู้ติดเชื้อและ รา งกาย วิเคราะห์และประมวลผลภายใน การติดตามการระบาดของโรค ตัวเครื่อง สามารถเชื่อมต่อและ แบบเรียลไทม์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รวมถึงสามารถนําขอมลู ไป ส่งข้อมูลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ในสถานที่ที่มีคนจำนวนมากหรือ ศกึ ษาวิจยั ดานระบาดวิทยาได ได้ ไมว่ า่ จะเปน็ สาย LAN เครอื ขา่ ย แออดั รวมถงึ สถานทเ่ี สย่ี งตอ่ การ 3G/4G หรอื Wi-Fi” แพร่กระจายของเชื้อโรค เช่น อีกดว ย โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า อาคารสำนกั งาน โรงงาน เปน็ ตน้ “มิวเทอรม-เฟสเซนซ” ไดร บั การพฒั นาใหม ขี นาด กะทดั รดั นาํ้ หนักเบา รูปทรงทันสมัย ในราคาที่สนบั สนุนให ผูผ ลติ ไทยเขาถงึ ได หวังลดการพึ่งพา เทคโนโลยี ตา งประเทศ คุณอาโมทย สมบูรณแกว นกั วิจยั กลุมวิจัยอปุ กรณส เปกโทรสโกปและเซนเซอร เนคเทค สวทช.

บอรด สง เสรมิ การเรยี นโคด ดง้ิ และสะเตม็

เมอื่ โลกขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม KidBright เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีเราทกุ คนรับรูได บอรด สง เสรมิ เราพูดถึงทักษะท่จี ำเปน็ สำหรับโลกดิจิทลั การเรยี นโคด ดง้ิ และสะเตม็ หรือทกั ษะแหง่ ศตวรรษ 21 ประเทศไทยเห็นโอกาสปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงพร้อมพัฒนา ในขณะที่ปัจจบุ นั เรากำลังจะกา้ วเขา้ สู่ปที ี่ 19 ของศตวรรษท่ี 21 เยาวชนไทยใหม้ ที กั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โดยการปรบั เปลย่ี นพน้ื ฐาน ระยะเวลากว่า 80 ปใี นอนาคตทีไ่ มอ่ าจคาดเดาได้ การศึกษาเป็นแบบ STEM (S: Science, T: Technology, E: Engineering และ M: Mathematics) ใหเ้ ดก็ ๆ บรู ณาการความรู้ เราจะเตรียมพรอมเยาวชนใหกาวไปพรอ มกบั จากหลากหลายวิชานำไปสู่การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ รวมไปถึงการ ความเปล่ียนแปลงของโลกและเทคโนโลยี เริ่มต้นให้เด็ก ๆ Coding ฝึกกระบวนการคิดครบวงจรผ่านวิชา ท่ีพัฒนาอยางไมส ้ินสดุ ไดอยา งไร วทิ ยาการคำนวณ เนคเทค สวทช. จึงนำความรู้ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและ นวตั กรรมสนบั สนนุ การใชเ้ ครอ่ื งมอื และกระบวนการเรยี นรแู้ บบใหม่ เพื่อเด็กไทยศตวรรษที่ 21 พัฒนาสื่อการสอน Coding ดวย บอรด สมองกลฝง ตวั “KidBright”

KidBright เปน็ บอรด์ สมองกล 3องคประกอบ โปรแกรมสรา งชดุ คำสง่ั นอกจากนี้ในปีเดียวกันเกิดการพัฒนา KidBright (KidBright IDE) KidBright AI Platform เป็นการ ฝังตัวที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนา ผสมผสานการเขียนโค้ดดิ้งแบบบล็อก กระบวนการคิดเชิงตรรกะ ร่วมกับ บอรด KidBright ออกแบบบล็อกให้ใช้งานง่าย ลด เขา้ กบั การสอน ปญั ญาประดษิ ฐท์ ส่ี ามารถ ความคิดสร้างสรรค์ สามารถต่อยอด สามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชเ ปน ระบบ ความซับซ้อน มีส่วนดูแลการรับส่งข้อมูล ใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องกังวลใจเรื่อง สกู่ ารพฒั นาแอพพลเิ คชนั และเทคโนโลยี อตั โนมตั ทิ ใี่ ชง านไดจ รงิ เหมาะสาํ หรบั เปน จากเซนเซอรใ์ ชส้ อนการเขยี นโปรแกรมแบบ การติดตั้งซอฟต์แวร์ ใด ๆ ให้ยุ่งยาก ด้วยตนเองในอนาคต เครอื่ งมอื การเรยี นโคด ดงิ้ และสะเตม็ ใน Multi-tasking สอนความรู้เรื่อง IoT ผใู้ ชง้ านสามารถสรา้ งชดุ คาํ สง่ั แบบบลอ็ ก อปุ กรณเ ดยี ว สอดคลอ งกบั การเรยี นรใู นวชิ า Authentication การเชื่อมต่อ Network ที่ใช้งานง่ายควบคุมการ ทํางานของ โดยผเู้ รยี นสามารถสรา้ งชดุ คำสง่ั ควบคมุ วทิ ยาการคาํ นวณ และการส่งข้อมูลผ่าน Cloud รองรับการ KidBright AI Bot การทำงานของบอร์ดผ่านโปรแกรม เพม่ิ บลอ็ กทพ่ี ฒั นาขน้ึ โดยผพู้ ฒั นาอน่ื และ สร้างชุดคำสั่งที่ใช้งานง่าย เพียงการ รองรับการสร้างชุดคำสั่งควบคุมบอร์ด ถือเป็นการสร้างแนวทางการสอน ลากบล็อกคำสั่งมาวางต่อกัน (Drag ขยายความสามารถที่พัฒนาขึ้นโดยผู้ เทคโนโลยี AI แบบใหม่สําหรับนักเรียน and Drop) ช่วยลดความกังวลเรื่อง พัฒนาอื่น ระดบั มธั ยมศกึ ษาใหเ้ กดิ ขน้ึ ในประเทศไทย การพิมพ์ชุดคำสั่งผิด ชุดคำสั่งที่ถูก สร้างดังกล่าวจะถูกส่งไปที่บอร์ดให้ KidBright AI Platform ไม่เพียงทําให้ ทำงานตามที่กำหนดไว้ เช่น รดน้ำ การเรียนปัญญาประดิษฐ์ทําได้ง่าย ตน้ ไมต้ ามระดบั ความชน้ื ทก่ี ำหนด หรอื ผ่านการโค้ดดิ้งแบบบล็อกแตยังทําให เปิด-ปิดไฟตามเวลาที่กำหนด เป็นต้น ผูเรียนไดเขาใจกระบวนการพื้นฐาน ตาง ๆ ของเทคโนโลยี AI ตั้งแต จากศกั ยภาพของบอรด์ สมองกลฝงั ตวั การเก็บขอมูล การสรางโมเดล การ KidBright นอกจากจะใช้เป็นอุปกรณ์ ใชงานโมเดล ไปจนถึงการประยุกต สอนโค้ดดิ้งแล้ว ยังสามารถประยุกต์ ใชงานเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ ใช้งานเป็นระบบอัตโนมัติเพื่อแก้ปัญหา ตา่ งๆ ตามโจทยแ์ ละความตอ้ งการของ Firmware ในปี 2562 KidBright ยังต่อยอดสู่ ผเู้รยี นสง่ เสรมิ การเรยี น STEM Education “สถานีอุตุนอย” โดยติดตั้งเซนเซอร์ อกี ดว้ ย เปน ซอฟตแ วรบ รหิ ารจดั การอปุ กรณ สำหรบั ตรวจวดั สภาพอากาศเพอ่ื ใชเ้ ป็น อเิ ลก็ ทรอนกิ สท ต่ี ดิ ตง้ั บนบอรด KidBright เครอ่ื งมอื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ความเขา้ ใจ และจดั การการเชอื่ มตอ กบั เซนเซอรแ ละอปุ กรณ ด้าน IoT, Big Data, Data Science ภายนอก รองรับการเช่ือมตอกับเซนเซอร ให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษา เพื่อให้ ภายนอกและบอรด ขยายความสามารถไดง า ย เกดิ การใชป้ ระโยชนจ์ ากบอรด์ KidBright ที่กระจายอยู่ในโรงเรียนทั่วประเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ

KidBright “KidBright KidBright เปน มากกวา สอ่ื สอน Coding สญั ชาตไิ ทย ไม่ไดเ้ ปน็ เพียงผลงาน อกี หนึ่งเครอ่ื งมอื ทีส่ ามารถ ทชี่ ว่ ยพัฒนาเยาวชน จากจุดเริ่มต้นด้วยงบประมาณ และจากการทท่ี างโครงการไดเ้ ปดิ “ จากภาครัฐในโครงการ Open Source ทั้งส่วนที่เป็น ใช้งานได้จรงิ เท่าน้ัน ให้มีศกั ยภาพ KidBright: “Coding at School” ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์ ใหน้ กั พฒั นา KidBright ยังชว ยผลักดนั ในกระบวนการคดิ เปน็ เสมอื นหนิ กอ้ นใหญก่ อ่ ใหเ้ กดิ ทส่ี นใจพฒั นาบอรด์ ขยายความ ขับเคล่อื นใหเ กิดการพัฒนา พัฒนาบุคลากรทางการศกึ ษา คลน่ื ระลอกแรก โดยงบประมาณ สามารถและ Plugins มาเชอ่ื มตอ่ อปุ กรณสง เสรมิ การสอน ใหม้ ีความรู้ในเทคโนโลยีใหม่ ๆ ดงั กลา่ วถกู ใชใ้ นการสรา้ งเทคโนโลยี กบั บอรด์ KidBright และ KidBright ยกระดับการศกึ ษาของประเทศ และผลติ บอรด์ KidBright จำนวน IDE และผลติ จำหนา่ ยภายในประเทศ Coding ทงั้ ในดาน ให้ทัดเทียมประเทศตา่ ง ๆ 200,000 บอรด์ เพอ่ื เปน็ เครอ่ื งมอื เกดิ เปน็ “KidBright Hardware และ Software กระตนุ ใหเกิดสังคมนวัตกรรม ใหเ้ กดิ การพฒั นากระบวนการคดิ Community” เกิดความเขมแขง็ ของ ผา่ นการเรยี นโคด้ ดง้ิ ใหกับประเทศไทย อุตสาหกรรมอิเลก็ ทรอนิกส รปู แบบความรว่ มมอื จากเมกเกอร์ เกดิ การพฒั นาศกั ยภาพ Trainer ใน 4 ภาค ประกอบด้วย และสร้างความเขม้ เขง็ ด้าน ในประเทศ และคณุ ครู ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ อุตสาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ไทย อีกท้ังยงั ลดการนำเขา ในการสอนโคด้ ดง้ิ กวา่ 4,000 คน - เชียงใหมเ่ มกเกอร์คลบั มากกวา 600 ลานบาท เพอ่ื ทำหนา้ ทก่ี ระตนุ้ และสง่ เสรมิ ให้ - ภูเกต็ เมกเกอร์คลับ อีกด้วย เกดิ การเรยี นการสอนโคด้ ดง้ิ ใน - ขอนแก่นเมกเกอรค์ ลับ โรงเรยี นประถมและมธั ยมของไทย - เมืองหลวงเมกเกอร์คลับ ดร.เสาวลักษณ แกวกำเนิด โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมี เป็นการเปิดวิสัยทัศน์ร่วมกัน นักวิจัย ทีมวิจัยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เนคเทค สวทช. การจัดการเรียนโค้ดดิ้งใน พฒั นาบอรด์ ขยายความสามารถ โรงเรียนด้วยบอร์ด KidBright เพอ่ื เชอ่ื มตอ่ กบั KidBright IDE และส่งผลงานเข้าประกวดสิ่ง สง่ ผลใหเ้ กดิ การพฒั นาและขยาย ประดษิ ฐจ์ ากโรงเรยี นทว่ั ประเทศ การใช้งานบอร์ด KidBright ส่งผลให้โรงเรียนที่เข้าร่วม อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โครงการได้รับประโยชน์ มี เครื่องมือ คู่มือ แผนการสอน โค้ดดิ้ง ด้วยบอร์ด KidBright สำหรับสอนวิชาวิทยาการ คำนวณ สง่ เสรมิ การเรยี นสะเตม็

นวนรุ ักษ (NAVANURAK) แพลตฟอรม สาํ หรบั บรหิ ารจดั การ ขอ มลู วฒั นธรรม และความหลากหลายทางชวี ภาพ

วฒั นธรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ นวนุรกั ษ (NAVANURAK) เปนสิง่ ท่ีสบื ทอดรกั ษากนั มา แพลตฟอรม สาํ หรบั บรหิ ารจดั การขอ มลู และมีบทบาทสำคัญกับวถิ ีชวี ิต วฒั นธรรมและความหลากหลายทางชวี ภาพ การประยุกตเ์ ทคโนโลยใี นการจดั เกบ็ บรหิ ารจดั การ ศลิ ปวฒั นธรรม เปน็ เอกลกั ษณท์ บ่ี ง่ บอกความเปน็ ชาตไิ ทยอยา่ ง และแลกเปลยี่ นเผยแพรข่ ้อมูลองค์ความรู้ ชัดเจน และได้ถูกถ่ายทอดในสื่อที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็น ในรปู แบบดจิ ิทลั โบราณสถาน โบราณวัตถุ รวมถึงจิตรกรรมในแขนงต่าง ๆ โดยบอกเล่าถึงประวัติศาสตร์ ประเพณี ศิลปะ วิถีชีวิตและ ถือเป็นส่วนหน่งึ ในการชว่ ยให้ ความเป็นอยู่ของชาติ อีกทั้งประเทศไทยยังมีทรัพยากรชีวภาพ องคค์ วามร้ดู ้านวัฒนธรรม ทห่ี ลากหลายมากทส่ี ดุ แหง่ หนง่ึ ในโลก ทง้ั พนั ธพ์ุ ชื สตั ว์ ทส่ี ะทอ้ น และความหลากหลายทางชีวภาพ ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่และระบบนิเวศ ยังดำรงอย่ไู ด้อย่างย่งั ยืน และสามารถนำไปประยกุ ต์ต่อยอดทางเทคโนโลยี แตด่ ว้ ยปจั จยั หลายสง่ิ ไมว่ า่ จะเปน็ กาลเวลา สภาพแวดลอ้ ม วถิ ชี วี ติ เพื่อสรา้ งนวตั กรรมได้อยา่ งสร้างสรรค์ ของผู้คนที่เปลี่ยนไป ก่อให้เกิดการสูญสลายของมรดกไทย และข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพที่มีความสำคัญต่อ เศรษฐกจิ ทั้งระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ การประยกุ ตเ์ ทคโนโลยใี นการจดั เกบ็ บรหิ ารจดั การ และแลกเปลย่ี น เผยแพร่ข้อมูลวัฒนธรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ ถอื เปน็ สว่ นหนง่ึ ในการชว่ ยดำรงใหว้ ฒั นธรรมและความหลากหลาย เข้าถึงได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น

4 ฟงกชัน คลังขอมลู ระบบวเิ คราะห นวนรุ ักษ ความเช่ือมโยงขอ มลู “นวนุรักษ” ระบบบริการจัดเก็บขอมูล คลังขอมูลขนาดใหญ จัดเก็บขอมูล การนําขอมูลมาบูรณาการรวมกัน (NAVANURAK) ทางดา นวฒั นธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ขอมูล ด  ว ย เ ท ค นิ ค ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห  ข  อ มู ล และความหลากหลาย ความหลากห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ พื ช ตาง ๆ เชน การสกัดขอมูล การเก็บ เปน็ แพลตฟอรม์ สำหรบั บรหิ ารจดั การ ทางชีวภาพระดับทอ งถ่นิ และสตั ว วฒั นธรรมประเพณี วิถีชีวิต ขอมูลพฤติกรรมและความคิดเห็น ขอ้ มลู วฒั นธรรมและความหลากหลาย ฯลฯ ในรูปแบบหลากหลาย ทั้งภาพ ของผูใชงาน นักทองเที่ยว และ ทางชีวภาพ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ระบบจัดเก็บข้อมูลจากทั้งจากชุมชน ขอความ เสียง วิดีโอ และภาพ 3 มิ ติ Knowledge Graph เปนตน พรอม จัดการข้อมูลวัฒนธรรมและข้อมูล สถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ เ ป  ด ใ ห  นั ก พั ฒ น า น ํ า ข  อ มู ล ไ ป ใ ช  ความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งเปน็ ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลวัฒนธรรม เครื่องมือสนบั สนนุ สรา งสรรคง านอนื่ ๆ ไดใ นรปู แบบ API ระบบ ทั้งเพื่อการอนุรักษ์ การศึกษา ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ การสรา งกจิ กรรม และการทอ่ งเทย่ี ว โดยจดั เกบ็ ตามหลกั Story Telling เป็นต้น (Playground) มาตรฐานสากล ทำให้ข้อมูลที่ถูกจัด เก็บมาสามารถนำไปเชื่อมต่อกับ สนับสนุนการนําขอมูลมาสราง แหล่งข้อมูลระดับสากลภายนอกได้ เกม แอปพลิเคชัน อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ที่สำคัญข้อมูล วฒั นธรรมและขอ้ มลู ความหลากหลาย ทางชีวภาพที่จัดเก็บต้องสนับสนุน บริการข้อมูลในลักษณะโครงสร้าง แบบเปดิ “Open Data” เพอ่ื ใหเ้ กดิ การ แบง่ ปนั ขอ้ มลู สะดวกตอ่ การนำขอ้ มลู ไปใช้งานหรือต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่า เชิงเศรษฐกิจ https://www.nstda.or.th/sci2pub/navanurak/

“นวนรุ กั ษ” เกา เก็บเพ่ือกอ เกิด “นวนรุ กั ษ อนรุ ักษเพ่อื สรางนวัตกรรม แพลตฟอรมสําหรับบรหิ ารจัดการ ขอ มลู วฒั นธรรมและความหลากหลาย คุณวัชชิรา บูรณสิงห์ สามารถใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้น ทางชวี ภาพเพอื่ ใหช มุ ชนหรอื หนว ยงาน “ คุณภัทรพร มีคล้าย ในการส่งเสริมการอนุรักษ์ และคณุ เพชรวดี ภทั รธนานนั ท์ ทรัพยากรท้องถิ่นเหล่านั้น สามารถจัดเกบ็ ขอมูลไดด วยตวั เอง สามารถเข้าใจและนำข้อมูล ทมี วจิ ยั เทคโนโลยภี าษาธรรมชาติ ดงั กลา่ วมาเปน็ สว่ นหนง่ึ สำหรบั เปนสว นหนงึ่ ในการ และความหมาย เนคเทค สวทช. แนวทางในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ เล่าว่า หรอื การใหบ้ รกิ ารได้ อนุรักษใหขอ มูลวฒั นธรรม และความหลากหลาย นวนุรักษ์ ส่งเสริมการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังสามารถส่งต่อ ทางชวี ภาพทองถน่ิ ทางดา้ นการศกึ ษาการทอ่ งเทย่ี ว ข้อมูลดังกล่าวให้กับนวัตกร ยงั สามารถคงอยูได การสร้างนวัตกรรม การเพิ่ม นำไปสรา้ งเทคโนโลยนี วตั กรรม อยางยงั่ ยนื มูลค่าให้กับสินค้าและบริการ เพอ่ื สง่ เสรมิ ทางดา้ นเศรษฐกจิ ทม่ี าจากฐานขอ้ มลู วฒั นธรรม ได้ สามารถนําไปประยกุ ต และความหลากหลายทางชวี ภาพ การที่ท้องถิ่นมีการจัดเก็บ ปัจจุบันมีการใช้งานในการ ตอ ยอดพฒั นานวตั กรรม ขอ้ มูลและสำรวจขอ้ มลู ในพืน้ ท่ี จดั เกบ็ ขอ้ มลู จำนวน 149 แหลง่ สรา งมูลคา เชิงเศรษฐกิจ จะทำใหร้ วู้ า่ มที รพั ยากรเทา่ ไหร่ ข้อมูลจาก 43 จังหวัดมีการ มอี ะไรทโ่ี ดดเดน่ มากนอ้ ยแคไ่ หน ขยายผลทง้ั ในพน้ื ทช่ี มุ ชนภาครฐั ตอ ไป ทอ้ งถน่ิ ภาคเอกชนและสถาบนั การศึกษาและยังคงเปิดรับ คุณวชั ชริ า บรู ณสิงห ผู้ที่ต้องการจัดเก็บ ทมี วจิ ัยเทคโนโลยีภาษาธรรมชาติ ข้อมูล รวมถึงผู้ที่ และความหมาย เนคเทค สวทช. ทำข้อมูลไปใช้อย่าง ต่อเนื่อง

15% Lorem ipsum Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Lorem ipsum 42%สำหรบั ดา้ นแพลaLoตmreฟemt,อcipoรsnus์มmecกdteoลtluoาerrงsitของประเทศ เนคเทคมองย้อนaไdปipถiscึงinคg eำliถt. าม ณ จดุ เริ่มตน้ ของการทำเกษตรกรรม คอื 78% Lorem ipsum จะปลูกอะไรLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. ปลูกทไ่ี หน 21% และปLoลreูกmอipยsา uงmไร Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer แน่นอนเริ่มตน้ adมipีisยciอ่ngมelมit.ีชยั ไปกว่าคร่งึ Museum Poolแตเ่ ม่ือไม่มี “ข้อมลู ” การเร่มิ ต้นทำเกษตรกรรมส่วนใหญ่ มกั เปน็ การปลูกตาม ๆ กนั แม้จะไดป้ รมิ าณและคุณภาพผลผลติ ไมต่ รงตามท่คี าดหวังไว้ก็ตาม ระบบจัดการขอ มูลและเพอื่ ใหไ้ ดค้ ำตอบที่ถูกตอ้ ง แมน่ ยำ ในมมุ มองระดับประเทศ จึงเกิดการบูรณากพารขิพอ้ มธิ ลู ภภาคัณรฐั ดฑา้ นแกาบรเกบษตเคร รอื ขา ย สรางแผนทีเ่ กษตรเพ่ือการจัดการเชงิ รุก หรอื Agri-Map ขน้ึ

พพิ ธิ ภณั ฑเ ปน แหลง เรยี นรูท ่ีสำคัญของประเทศ Museum Pool เนอ่ื งจากเปนสถานท่ี ระบบจัดการขอ มลู จัดเก็บองคความรใู นสาขาตางๆ มากมาย พิพธิ ภัณฑแบบเครือขา ย เช่น ความรใู้ นสาขาประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปะ วฒั นธรรม ด้วยการที่ข้อมูลในพิพิธภัณฑ์มีเป็นจำนวนมาก แต่ขาดระบบ และภมู ปิ ัญญาบรรพบรุ ุษ การบริหารจัดการที่ดี ทำให้ไม่สามารถบริหารจัดการและสร้างให้ ทถ่ี กู สะสม สง่ ต่อกนั มาจากอดตี จวบจนปจั จบุ นั เกดิ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองไดด้ นี กั ประกอบกับพิพธิ ภณั ฑ์หลายแหง่ ในประเทศไทย ยังขาดชอ่ งทางท่ี ซ่งึ องค์ความรู้ในพิพธิ ภัณฑ์ จะเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะเข้ามาช่วยเป็นเครื่องมือในการ มที ั้งส่วนของข้อมลู ที่สามารถจบั ตอ้ งได้ บริหารจัดการองค์ความรู้และเพิ่มความน่าสนใจในการให้บริการ ทำใหป้ ระสบกบั ปญั หาทง้ั ในสว่ นของการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู จำนวน เชน่ โบราณวตั ถุ และศลิ ปะวตั ถตุ ่างๆ มหาศาลของพิพธิ ภณั ฑ์ และขาดชอ่ งทางการนำเสนอทน่ี ่าสนใจ และสว่ นของขอ้ มลู ท่ไี ม่สามารถจับตอ้ งได้ ท่จี ะจูงใจให้คนท่วั ไปสนใจเขา้ มาเรียนรู้ในพพิ ิธภัณฑม์ ากขน้ึ เชน่ เรื่องเลา่ ความเช่ือ ภมู ิปัญญา จากปัญหาดังกล่าว เนคเทค สวทช.จึง ได้พัฒนาระบบบริหาร จัดการข้อมลู นำชมใหก้ ับพพิ ธิ ภัณฑ์ โดยมโี มบายแอปพลเิ คชันช่ือ “Museum Pool” เป็นส่อื ใหก้ บั ผูเ้ ขา้ ชมไดเ้ รยี นรู้วัตถุจดั แสดงทนี่ า่ สนใจตา่ งๆ ในพพิ ธิ ภณั ฑ์ และสรา้ ง Web Application เปน็ เครอ่ื งมอื ใหก้ บั เจา้ หนา้ ทข่ี องพพิ ธิ ภณั ฑใ์ นการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ดงั กลา่ ว

Museum Pool ทีมวิจัยได้ออกแบบระบบฯ ให้รองรับการใช้งานของหลายพิพิธภัณฑ์ เพอ่ื อำนวยความสะดวกใหก้ บั ผเู้ ขา้ ชม สามารถเขา้ ชมขอ้ มลู หลายพพิ ธิ ภณั ฑ์ ระบบจัดการขอมลู ด้วยแอปพลิเคชั่นเดียว ในขณะเดียวกันก็ออกแบบระบบหลังบ้าน พิพิธภณั ฑแ บบเครอื ขาย หรือ Web Application ให้แต่ละพิพิธภัณฑ์สามารถเข้าบริหารจัดการ ข้อมูลของพิพิธภัณฑ์ของตนเองได้โดยไม่มีการก้าวก่ายข้อมูลข้าม ระบบจัดการข้อมูลพพิ ิธภัณฑ์แบบเครอื ข่าย ผู้จดั แสดงสามารถเพ่ิมลด พิพิธภัณฑ์ สื่อที่จะนำเสนอต่อผู้เข้าชมได้ด้วยตน้เอง สามารถรองรับสื่อนำเสนอ ทั้งที่เป็นข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีทัศน์ AR หรือ VR และยังสามารถ จดุ เดน ของ Museum Pool ตรวจสอบสถินิการเข้าชมแต่ละจุด เพิื่อนำไปบริหารจัดการจุดนำชม ซึ่งระบบนี้รองรับการนำชมทั้งภายในและนอกอาคาร และใช้ได้ทุกที่ที่มี อยู่ในเครือข่าย คณุ สมบัติของ Museum Pool

Museum Pool “ แอปเดยี วเทย่ี วทกุ พพิ ธิ ภณั ฑ Museum Pool ดร.ละออ โควาวิสารัช หัวหนาทีม อีกท้ังยังมีการเก็บขอมูลสถิติการ เปนการ วจิ ยั ระบบระบตุ าํ แหนง และบง ชอ้ี ตั โนมตั ิ เขาชม เพ่อื นาํ มาวเิ คราะหพฤตกิ รรม เนคเทค สวทช. กลาววา การเขาชมของผูเขาชม ซ่ึงสามารถ สรางความแตกตาง นํามาปรับปรุงทั้งการจัดแสดง และ ของการนําชมพิพิธภัณฑ MuseumPoolเปน โมบายแอปพลเิ คชนั เนื้อหาท่ีใชในการนําเสนอใหนาสนใจ ที่พัฒนาข้ึน เพื่อใชเปนแหลงขอมูล ตอบโจทยไดตรงกับความตองการ ในประเทศไทย ใหกับผูเขาชมพิพิธภัณฑ โดยผูเขาชม หรอื รูปแบบพฤติกรรมของผเู ขา ชม สามารถใชแอปพลิเคชันเดียว เขาถึง หรอื นักทอ งเทย่ี ว โดยการใชเทคโนโลยีเปน ข  อ มู ล ข อ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ  ท้ั ง ห ล า ย ไ ด  เคร่ืองมืออํานวยความสะดวก โดยไมตองดาวนโหลดแอปพลิเคชัน ทีมวิจัยยังมีการถ่ายทอดเทคโนโลยี ทุกคร้ังท่ีไปพิพิธภัณฑใหม ผ่านการฝึกอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ ทั้งในสวนการจัดการ พิพิธภัณฑ์ เพื่อให้ได้เรียนรู้ เข้าใจ พิพิธภัณฑและผูเขาชม ระบบน้ีจะชวยอํานวยความสะดวกใน สามารถใชง้ านและดแู ลบรหิ ารจดั การ ทํามีผูสนใจเขาชมพิพิธภัณฑ การบริหารจัดการขอมูลนําชม และยัง ระบบไดด้ ว้ ยตนเอง เปน็ การเพม่ิ ทกั ษะ ชวยพิพิธภัณฑประหยัดคาใชจายใน ใหม่ๆ ให้แก่เจ้าหน้าที่พิพิธภัณฑ์ ให้ มากยิ่งขึ้น การจางทําแอปพลิเคชันใหมทุกคร้ัง สามารถพ่ึงพาตนเองได้อยา่ งย่ังยนื ที่มีการเปล่ียนแปลงเน้ือหา สามารถสรา้ งสรรคข์ อ้ มลู การเยย่ี มชม ชวยเพิ่มรายไดของอุตสาหกรรม เพิม่ ขึ้นไดอ้ ยา่ งต่อเน่ืองในอนาคต ทองเที่ยวในระดับจังหวัด ในอัน สามารถเพ่ิมชองทางใหบริการกับผู ทจ่ี ะสง ผลตอ การเจรญิ เตบิ โตทาง เขาชมสงผลตอการลดตนทุนในการ “ บริหารจัดการในสวนของบุคลากร เศรษฐกิจในระดับประเทศ ที่ ท ํ า ห น  า ที่ เ ป  น ผู  น ํ า ช ม พิ พิ ธ ภั ณ ฑ  สามารถบรหิ ารขอ มลู นาํ ชมในรปู ดจิ ทิ ลั ซง่ึ ชว ยลดเวลาในการทําขอ มลู นําเสนอ ลักษณะเดิมใหกับผูเขาชม และตอง ทําใหมทุกครั้งที่มีการเปล่ียนแปลง และไมสามารถเก็บขอมูลในรูปแบบ ของดิจิทัลได ดร.ละออ โควาวิสารัช หวั หนาทีมวจิ ัยระบบระบตุ าํ แหนงและบง ชอ้ี ัตโนมตั ิ เนคเทค สวทช.

KidDiary ระบบเชอ่ื มโยงขอ มลู สขุ ภาพ เดก็ และเยาวชนเพอื่ บรู ณาการ ขอ มลู สขุ ภาพโภชนาการของเดก็ ไทย

“เดก็ ไทยในวนั น้ี . . .” KidDiary Platform วลฮี ติ ตดิ ปากทใี่ คร ๆ กก็ ลา วตอ ไดอ ยา งไมม ผี ดิ เพยี้ น ระบบเชอื่ มโยงขอ มลู สขุ ภาพเดก็ และเยาวชน สาํ หรบั “อนาคตไทยในวนั หนา ” เพอ่ื บรู ณาการขอ มลู สขุ ภาพ โภชนาการของเดก็ ไทย หว งเวลาทไี่ มม ใี ครคาดเดาไดว า การเปลยี่ นแปลง ด้วยปัญหาภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่คุกคามเด็กไทย ของโลกและเทคโนโลยจี ะทวคี ณู ไปอกี กเี่ ทา อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จำนวนเดก็ ไทยทม่ี ภี าวะผอม อว้ น เตย้ี เพม่ิ สงู ขน้ึ จากปี 2561 อย่างน่าเป็นห่วง รวมไปถึงระดับสติปัญญา (IQ) “ทกั ษะแหง อนาคต” ของเด็กไทยที่นอกจากจะลดลงแล้ว ยังต่ำกว่ามาตรฐาน ถกู กลา วถงึ ในฐานะอาวธุ เพอื่ ความอยรู อดในศตวรรษที่ 21 มาโดยตลอด ดังนั้น รัฐบาลจึงบรรจุ การให้ความสำคัญกับ การพัฒนาคนโดยเฉพาะช่วงปฐมวัย” ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ทเี่ ดก็ ๆ ทว่ั ไทยและทว่ั โลกจาํ เปน ตอ งเรยี นรู และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เร่ง พัฒนาสุขภาวะเยาวชนไทยทั่วประเทศ แตเ ดก็ ๆ จะเรยี นรอู ยา งเตม็ ทไี่ ดอ ยา งไร ? หากมปี ญ หาการเจรญิ เตบิ โต เดิมการบันทึกข้อมูลสุขภาพของเด็ก มักใช้สมุดหลากสีที่นิยม และพฒั นาการมาขดั ขวาง ใชก้ นั ในโรงเรยี น และโรงพยาบาล หากเปลย่ี นชว่ งชน้ั ยา้ ยโรงเรยี น ชำรุด หรือสูญหาย สมุดบันทึกสุขภาพเหล่านี้ก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เกดิ ปญั หาขอ้ มลู ขาดความตอ่ เนอ่ื ง ไมเ่ ชอ่ื มโยงกนั สง่ ผลโดยตรง ต่อการติดตามและเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ เด็ก เนคเทค สวทช. พัฒนา KidDiary Platform ระบบเชื่อมโยง ข้อมูลสุขภาพเด็กและเยาวชน เพื่อบูรณาการข้อมูลสุขภาพ โภชนาการของเด็กไทย ที่เชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพของเด็กไทย ให้อยู่ในสายตาพ่อแม่ โรงเรียน และโรงพยาบาลในระบบเดียว

คุณสมบัติ วัคซีน ระบบ KidDiary มีรายการวัคซีนที่ครอบคลุมทั้งวัคซีน พื้นฐานและวัคซีนทางเลือก พร้อมเเจ้ง เตือนเมื่อถึงกำหนดฉีด ระบบเชอ่ื มโยงขอ มลู สขุ ภาพเดก็ และเยาวชน ประวัติสุขภาพเด็ก KidSize เพอื่ บรู ณาการขอ มลู สขุ ภาพ โภชนาการของเดก็ ไทย สามารถวิเคราะห์ภาพรวมสุขภาพของ เครื่องชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ที่มีความ KidDiary Platform เป็นแพลตฟอร์ม โดยมีพื้นฐานมาจาก KidDiary ระบบ เด็ก ณ ปัจจุบัน: ด้านการเจริญเติบโต ถูกต้องแม่นยำด้วยเซนเซอร์วัดท่ายืน บูรณาการข้อมูลที่เชื่อมโยงข้อมูล เชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพที่ใช้บันทึก พัฒนาการ และการได้รับวัคซีน ที่ถูกต้อง เดก็ รายคนจากสำนกั งานคณะกรรมการ และคดั กรองการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นา การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (สพฐ.) และ กรม การเด็ก ผ่านเว็บแอปพลิเคชันทั้ง พัฒนาการของเด็ก การเชื่อมโยงขอมูล สง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ บรู ณาการ จากมอื ถือและคอมพวิ เตอร์ ทเี่ นคเทค กับข้อมูลน้ำหนักส่วนสูงที่โรงเรียน สวทช. พัฒนาร่วมกับกุมารแพทย์ ประเมินพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุตาม มีกระบวนการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง บันทึกหรือเชื่อมต่อจากเครื่องชั่ง ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นตอ่ มไรท้ อ่ พฒั นาการ คู่มือ DSPM โดยแปลงผลตามเกณฑ์ พ่อแม่ โรงพยาบาล และโรงเรียน นำ้ หนกั วดั สว่ นสงู อตั โนมตั ิ (KidSize) และโภชนาการ เพื่อให้ได้ตัวชี้วัด และ พฒั นาการ 5 ดา้ น: การเขา้ ใจภาษา การ ขอ้ มลู อาหารกลางวนั ในโรงเรยี น จาก ข้อมูลที่เหมาะสมต่อการบันทึกการ ใช้ภาษา การใช้กล้าม เนื้อมัดเล็กและสติ ระบบ Thai School Lunch เพอ่ื ตดิ ตาม เจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กตั้งแต่ ปญั ญา การเคลอ่ื นไหว สงั คมและการชว่ ย และคัดครองภาวะโภชนาการตาม แรกเกิด ถึง 18 ปี เหลือตนเอง เกณฑ์อนามัย การเจริญเติบโต และ ภาวะโภชนาการ ในสว่ นการเจรญิ เตบิ โต และภาวะโภชนาการ (สำหรับเด็กแรกเกิด ถึง 18ปี มีกราฟ แสดงการเจรญิ เตบิ โตและแปลผล (องิ ตาม กรมอนามัย 2558) มีการคำนวณ และ แสดงความสูงสุดท้ายเมื่อเป็นผู้ใหญ่

KidDiary เช่ือมโยงขอมูล “KidDiary สพู อแม โรงเรียน โรงพยาบาล Platforms ดร.สุปิยา เจริญศิริวัฒน์ นักวิจัย พรอ้ มเชอ่ื มตอ่ เครอ่ื งมอื ทช่ี ว่ ยสนบั สนนุ รองรบั ขอมลู ทง้ั ดาน อาวโุ ส ทมี วจิ ยั การวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรม ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู เชน่ “KidSize” กายภาพ และพฤตกิ รรม มนษุ ย์ เนคเทค สวทช. เลา่ วา่ เครื่องชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงพร้อม ระบบเซนเซอร์ตรวจเช็คการยืนที่ เพอ่ื นําไป KidDiary เปน็ ฐานขอ้ มลู สขุ ภาพเดก็ ถกู ตอ้ ง “KidArn” เครอ่ื งมอื คดั กรอง ติดตาม วเิ คราะห ออกแบบ และเยาวชนทั่วประเทศที่ช่วยบันทึก ทักษะการอ่านภาษาไทยของเด็ก ติดตาม เฝ้าระวังพัฒนาการทุก “Thai School Lunch” ระบบชว่ ยแนะนำ แนะนาํ การสง เสรมิ ย่างก้าว เชื่อมโยงข้อมูลจากบ้าน เมนูอาหารกลางวัน เป็นต้น และดูแลสขุ ภาวะ โรงเรยี นและโรงพยาบาล เพอ่ื รว่ มกนั แบบองครวม พัฒนาให้เด็กไทยเติบโตแข็งแรง แพทย์สามารถเชื่อมต่อข้อมูล มีพัฒนาการสมวัย KidDiary กบั ผปู้ กครองและโรงเรยี น ตอบโจทยอ ตุ สาหกรรมตา ง ๆ ไดอ้ ตั โนมตั ิ ลดภาระในการบนั ทกึ ขอ้ มลู โดยจะนาํ รอ งท่ีการตดิ ตาม พอ่ แมส่ ามารถบนั ทกึ ตดิ ตาม เฝา้ ระวงั พรอ้ มชว่ ยใหแ้ พทยว์ นิ จิ ฉยั ไดถ้ กู ตอ้ ง ขอมลู สขุ ภาพเด็ก สุขภาพและพฒั นาการของลูกแบบ รวดเร็วและแม่นยำ สามารถประเมิน Real – Time ขอ้ มลู ของเดก็ ๆ ทพ่ี อ่ สถติ ภิ าพรวม เพอ่ื การบรหิ ารจดั การ แมบ่ นั ทกึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จะใชเ้ ปน็ ฐาน ดูแลเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการวิเคราะห์เพื่อประเมินผล พัฒนาการทุกด้าน “ โรงเรียนสามารถติดตาม เฝ้าระวัง สขุ ภาพและพฒั นาการของนกั เรยี น อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดว้ ยการบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงระบบและประเมนิ ผลแบบอตั โนมตั ิ ลดภาระงานและความผิดพลาด ดร.สุปยา เจริญศิริวัฒน์ ทีมวิจัยการวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ เนคเทค สวทช.

Thai School Lunch ระบบแนะนาํ สาํ รบั อาหารกลางวนั สาํ หรบั โรงเรยี นแบบอตั โนมตั ิ

หลายครงั้ ทเี่ รามกั ไดย นิ ขา วเรอื่ งของ Thai School Lunch เดก็ นกั เรยี นตงั้ แตเ ดก็ เลก็ จนถงึ ชน้ั ประถม เกย่ี วกบั ระบบแนะนาํ สาํ รบั อาหารกลางวนั “โครงการอาหารกลางวนั ” สาํ หรบั โรงเรยี นแบบอตั โนมตั ิ การจดั อาหารกลางวนั ไมไ ดค ณุ ภาพ การจัดโภชนาการอาหารให้ถูกหลักและเพียงพอเป็นสิ่งที่ ขาดหลกั โภชนาการ ภาครัฐตระหนักเป็นอย่างมาก ที่ผ่านมาพบว่าอาหาร กลางวันขาดแคลน คุณภาพและปริมาณไม่เพียงพอ อีกทั้ง ซงึ่ เดก็ ๆ เหลา นเ้ี ปน วยั ทตี่ อ งไดร บั โภชนาการทดี่ ี ยังมีคุณค่าทางโภชนาการต่ำ ทำให้ภาวะการเจริญเติบโต และครบถว นตามความตอ งการในแตล ะวนั ของเด็กไม่เป็นไปตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข เพอื่ เดก็ จะไดเ จรญิ เตบิ โตไดต ามมาตรฐานทคี่ วรจะเปน เพื่อช่วยให้โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถจัด อาหารกลางวันที่มีคุณภาพถูกหลักโภชนาการให้แก่เด็ก ๆ ปจ จบุ นั เดก็ ๆ ยงั ตอ งเผชญิ กบั ปญ หาดา นสขุ ภาพ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ภายใต้งบประมาณที่จำกัด เนคเทค โดยเฉพาะภาวะโภชนาการเกนิ และขาดสารอาหาร สวทช.จึงร่วมมือกับสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล พฒั นา“ระบบแนะนำสำรับอาหารกลางวันสำหรับโรงเรียน สง ผลโดยตรงตอ พฒั นาการของเดก็ ๆ แบบอตั โนมตั ”ิ หรอื “Thai School Lunch” ขน้ึ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2555 เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระของแต่ละโรงเรียนในการคิดเมนูอาหาร ที่เหมาะสม และมีประโยชน์สูงสุดกับเด็กนักเรียนที่อยู่ในวัย กำลังพัฒนาทั้งด้านร่างกายและสมอง

ระบบ Thai School Lunch ใช้เทคโนโลยี Thai School Lunch เปิดให้บริการอย่าง ขอ้ มลู จาก Thai School Lunch ยงั ไดร้ บั การพฒั นาใหเ้ ชอ่ื มตอ่ KidDiary Platform เพอ่ื บรู ณาการ บก๊ิ ดาตา้ อนาไลตกิ ส์ (Big data analytics) ต่อเนื่องตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2555 ปัจจุบันมี ขอ้ มลู หลากมติ ิ ใชส้ นบั สนนุ วางแผนหรอื สรา้ งนโยบายแกป้ ญั หาและสง่ เสรมิ การจดั การดา้ นอาหาร กบั ปญั ญาประดษิ ฐ์ (AI) ในการชว่ ยวเิ คราะห์ สถานศึกษาจากทุกสังกัดเข้าใช้งาน และสขุ ภาวะของเดก็ อกี ทง้ั ยงั ตอ่ ยอดเขา้ กบั ระบบตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ประมวลผลสารอาหารและแสดงผลเปน็ เมนู มากกวา่ 40,000 แหง่ และเปดิ ใหห้ นว่ ยงาน มอ้ื กลางวนั ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ กำกบั ดแู ลโรงเรยี นในพน้ื ทส่ี ามารถตดิ ตาม • Thai School Lunch for BMA สำหรบั โรงเรยี นในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร คณุ ภาพอาหารของโรงเรยี นทอ่ี ยใู่ นความดแู ล โดยผใู้ ชง้ านสามารถสรา้ งเมนอู าหารขน้ึ ได้ ไดแ้ บบ Real-time • Thai School Recipes สรา้ งตำรบั อาหารไดห้ ลากหลายและครอบคลมุ อาหารทว่ั ทกุ ภมู ภิ าค เอง หรอื ใหร้ ะบบจดั สำรบั อาหารอตั โนมตั ิ จากขอ้ มลู เมนอู าหารในระบบทม่ี มี ากกวา่ โดย ไดร้ บั ความรว่ มมอื กบั พนั ธมติ รหนว่ ยงาน • Thai School Lunch for Catering เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ระกอบการดา้ นอาหารในโรงเรยี นสามารถบรหิ าร 1,000 ชนิด ระบบจะคำนวณคุณค่า ต่าง ๆ เช่น กองทุนเพื่อโครงการอาหาร จดั การตน้ ทนุ ในการผลติ ควบคไู่ ปกบั การจดั การรายการอาหารทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการครบถว้ น สารอาหาร ประเมนิ คณุ คา่ ทางโภชนาการ กลางวันในโรงเรยี นประถมศกึ ษา สำนกั งาน และเหมาะสม จากสำรบั ทจ่ี ดั ขน้ึ และคำนวณปรมิ าณของ คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (สพฐ.) วัตถุดิบในการจัดซื้อแต่ละครั้ง ทำให้ กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ สำนกั งาน • Farm to School ชอ่ื มโยงขอ้ มลู ความตอ้ งการวตั ถดุ บิ เพอ่ื รองรบั การบรหิ ารจดั การวตั ถดุ บิ และ สามารถประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยไดล้ ว่ งหนา้ และ พัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สง่ เสรมิ การเกษตรเพอ่ื อาหารกลางวนั สนบั สนนุ การผลติ และปอ้ นวตั ถดุ บิ ทป่ี ลอดภยั กลบั สู่ สรปุ คา่ ใชจ้ า่ ยจรงิ ตามราคาวตั ถดุ บิ ในแตล่ ะ กรมอนามยั สำนกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร โรงเรยี นไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ทอ้ งถน่ิ ซง่ึ จะชว่ ยในการวางแผนจดั การงบ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ประมาณ และจดั ทำรายงานประเมนิ คณุ ภาพ และสำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ อาหารกลางวนั ของแตล่ ะโรงเรยี นไดอ้ ยา่ ง สุขภาพ ในการขยายผลการใช้งานระบบ สะดวก ถกู ตอ้ ง และรวดเรว็ ใหค้ รอบคลมุ โรงเรยี นและศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ทว่ั ประเทศ

Thai School Lunch “Thai บูรณาการขอ มลู ยกระดับอาหารปลอดภัย School Lunch ดร.สุปิยา เจริญศิริวัฒน์ นักวิจัย ล่าสุด ได้ร่วมกับสถาบันโภชนาการ “ เปดใหท กุ คน อาวโุ ส ทมี วจิ ยั การวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรม และดาร์วินเทค ที่ได้รับการอนุมัติ สามารถเขา ถึงขอมูล มนษุ ย์ เนคเทค สวทช. เลา่ วา่ จากสวทช.ในการส่งผ่านงานวิจัย การวเิ คราะหอ าหารกลางวนั ไปสู่เชิงพาณิชย์ที่เรียกว่า NSTDA Thai School Lunch ชว่ ยจดั อาหาร Startup นำ Thai School Lunch เพอื่ ใหข อ มลู เหลาน้ี กลางวนั ใหม้ คี วามครอบคลมุ ทง้ั หลกั เชอ่ื มโยงความตอ้ งการของโรงเรยี น ถกู นํามาใชรวมกนั โภชนาการ คุณค่าทางโภชนาการ กับเกษตรกรมาใช้ในสถานศึกษา อยางมีประสิทธิภาพ ตดิ ตามและแจง้ เตอื นเมอ่ื พบเดก็ ทม่ี ี ยกระดบั อาหารปลอดภยั ในโรงเรยี น ความเสย่ี ง สง่ ผลการวเิ คราะหก์ ลบั พัฒนาโซลูชันตอบโจทย์ปัญหา เกดิ ประโยชนกับ ไปยงั ตน้ สงั กดั ผู้ประกอบการที่เข้ามารับเหมาดูแล ผูทเี่ ก่ยี วขอ งในทกุ ระดบั จัดการมื้ออาหารในระบบอาจต้อง โดยเตรยี มขยายผลสู่ ใชต้ น้ ทนุ เรอ่ื งระบบเทคโนโลยฮี ารด์ แวร์ อยา งย่ังยืน Thai School Lunch for Catering และการบริหารจัดการบัญชีในราคา เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถจัด ที่สูง อาหารอย่างมีคุณภาพและบริหาร จัดการต้นทุนได้อย่างเหมาะสม เชอ่ื มโยงขอ้ มลู ใหโ้ รงเรยี นตรวจสอบ อยา่ งเปน็ ระบบ และพฒั นาแพลตฟอรม์ Big Data Analytics เพอ่ื แสดงขอ้ มลู คณุ ภาพอาหารกลางวนั โรงเรยี นและ สุขภาวะของนักเรียน โดยเชื่อมโยง ข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนและ อาหารในโรงเรยี น ดร.สุปยา เจริญศิริวัฒน์ ทีมวิจัยการวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ เนคเทค สวทช.

TH ศูนยเ ทคโนโลยอี ิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหง ชาติ 112 ถนนพหลโยธนิ ตําบลคลองหน่ึง อาํ เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 https://www.nectec.or.th/ [email protected] NECTEC NSTDA


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook