Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนรายวิชาศิปศึกษา ทช31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หนังสือเรียนรายวิชาศิปศึกษา ทช31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Published by mediaksn586, 2019-11-19 22:11:27

Description: ให้สถานศึกษาสังกัด สำนักงาน กศน. ไว้ใช้ในการประกอบการเรียนการสอน

Search

Read the Text Version

41 2) จาํ พวกเปา ลมผานล้ิน ไดแก คลารเิ น็ต แซกโซโฟน คลาริเน็ต 3. เครือ่ งเปา โลหะ เคร่ืองดนตรีประเภทนี้ ทําใหเกิดเสียงไดโดยการเปาลมใหผานริมฝปากไปปะทะกับชองท่ีเปา ไดแ ก ทรัมเปต ทรอมโบน เปนตน ทรัมเปต

42 4. เคร่อื งดนตรปี ระเภทคียบ อรด เครื่องดนตรปี ระเภทน้เี ลน โดยใชน วิ้ กดลงบนลมิ่ นิว้ ของเครือ่ งดนตรี ไดแก เปยโน เมโลเดียน คียบอรด ไฟฟา อิเล็คโทน เมโลเดียน 5. เครอ่ื งดนตรีประเภทเคร่ืองตี แบงเปน 2 กลมุ คอื 5.1) เครื่องตปี ระเภททาํ นอง ไดแก ไซโลไฟน เบลไลรา ระฆังราว เบลไลรา 5.2) เคร่อื งตีประเภททําจังหวะ ไดแก กลองทิมปานี กลองใหญ กลองแต็ก ทอมบา กลองชุด ฉาบ กรับ ลูก แซก กลองทิมปานี

43 กิจกรรม ใหนักศกึ ษาแบงกลมุ และรว มกันสืบคน หาเครื่องดนตรสี ากลทกุ ประเภทๆ ละ 2-3 ชนิด แลว เกบ็ รวบรวม ไวในแฟมสะสมงาน

44 เร่อื งท่ี 3 คุณคา ความไพเราะของเพลงสากล ดนตรีเปนสือ่ สนุ ทรยี ศาสตรท่ีมคี วามละเอยี ด ประณีต มีความสําคัญอยางยิ่งตอมนุษย ท้ังทางกาย และ ทางจิต เมื่อเราไดยินเสียงดนตรีที่มีความสงบ ก็จะทําใหจิตสงบ อารมณดี หากไดยินเสียงเพลงท่ีใหความ บนั เทิงใจ ก็จะเกิดอารมณทีส่ ดใส ทง้ั นเี้ พราะดนตรีเปนสอ่ื สนุ ทรียท่สี รางความสุข ความบันเทิงใจใหแกมนุษย เปนเครื่องบําบัดความเครยี ด สรางสมาธิ กลอมเกลาจติ ใจใหสุขมุ เยือกเย็น อารมณดี โดยที่ไมตองเสียเวลาหรือ เสียเงนิ ซอ้ื หาแตอ ยา งใด ดนตรีจงึ มคี ุณคา ตอ มนุษยม ากมาย ดังเชน เสาวนีย สังฆโสภณ กลาววา จากงานวิจยั ของ ตางประเทศ ทําใหเราทราบวา ดนตรีมีผลตอการทํางานของระบบประสาท ระบบกลามเนื้อ และสภาพจิตใจ ทาํ ใหสมองหล่ังสารแหงความสขุ เพอ่ื บรรเทาอาการเจ็บปวด ทาํ ใหเกิดสติ ความรูส ึกนึกคิดทด่ี ี และนาํ มาใชใ น เร่ืองการคลายความเครียด ลดความวิตกกังวล ลดความกลัว บรรเทาอาการเจ็บปวด เพิ่มกําลัง และการ เคลอ่ื นไหวของรา งกาย โดยนิยมใชในงานฟน ฟูสขุ ภาพคนท่ัวไป พฒั นาคุณภาพชีวิต ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ผูปวยโรคจติ และเดก็ มีความตองการเปน พิเศษ เพราะดนตรเี ปนศลิ ปะท่อี าศยั เสียงเพื่อการถายทอดอารมณไปสู ผูฟง เปน ศลิ ปะที่งายตอการสมั ผสั กอ ใหเกดิ ความสขุ ความปต ิพอใจแกมนษุ ยไ ด กลา ววา ดนตรเี ปน ภาษาสากล เพราะเปน สอ่ื ความรูสึกของชนทุกชาติได ดังน้ัน คนท่ีโชคดีมีประสาท รบั ฟงเปน ปกติ ก็สามารถหาความสุขจากการฟงดนตรีได เมื่อเราไดฟงเพลงที่มีจังหวะ และทํานองที่ราบเรียบ นมุ นวล จะทําใหเ กิดความรสู กึ ผอนคลายความตึงเครยี ด ดวยเหตุน้ี เม่ือเราไดฟงดนตรี ที่เลือกสรรแลว จะชวย ทาํ ใหเรามีสุขภาพจติ ท่ีดี อนั มผี ลดีตอสุขภาพรางกาย ดนตรีจึงเปรียบเสมือน ยารักษาโรค การที่มีเสียงดนตรี รอบบา น เปรยี บเสมือนมอี าหารและวติ ามิน ทช่ี ว ยทาํ ใหค นเรามสี ุขภาพแข็งแรง คุณประโยชนของดนตรีที่มีตอมนุษย ซึ่งสวนใหญมักจะกลาวถึงดนตรีมีผลตอสภาวะทางรางกาย แตค วามเปนจรงิ แลว ดนตรเี ปน เรอ่ื งของ “จติ ” แลว สงผลดีมาสู “กาย” ดงั นน้ั จงึ ไมแปลกอะไร ท่ีเรามักจะไดยิน วา ดนตรีชวยกลอมเกลาจิตใจ ทําใหคนอารมณดี ไมเครียด คลายปวด ฯลฯ เพราะดนตรีเปนส่ือสุนทรียะ ท่ถี ายทอดโดยใชเ สียงดนตรีเปน สอ่ื สุดทา ยของการบรรยายเร่ือง “สนุ ทรยี ศาสตร ทางดนตรี” จึงสรุปเปนขอคิด จากการศึกษาในเร่ืองของความงามในเสียงดนตรี ผูเสพ ควรเลือกวาจะเสพเพียงแค “เปนผูเสพ” หรือจะเปน “ผูไดรบั ประโยชนจากการเสพ” เพราะดนตรีนั้นงามโดยใชเสียงเปนสื่อ แตข้ันตอนสําคัญในการถายทอดคือ นักดนตรถี า ยทอดโดยใช “จติ ” ผฟู งรับสอื่ โดยใช “จติ ” เปนตวั รับรรู ับสัมผสั อารมณต าง ๆ ผลจากการรบั สัมผัส ดว ยจติ นัน้ เพลงทีส่ งบ ราบเรยี บ จติ กจ็ ะวา ง (สญู ญตา) ทาํ ใหจ ิตขณะนนั้ ปราศจาก “กิเลส” ผูฟงจึงรูสึกสบายใจ คลายความวิตกกังวล คลายความเศรา คลายความเจ็บปวด ผูฟงเกิดสมาธิ จึงเปนผลใหสมองทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพ

45 องคประกอบของดนตรสี ากล ดนตรไี มว า จะเปน ของชาตใิ ด ภาษาใด ลว นมีพืน้ ฐานมาจากสวนตางๆ เหลานี้ทั้งสิ้น ความแตกตางใน รายละเอียดของแตละสวน ของแตละวัฒนธรรม โดยวัฒนธรรมของแตละสังคมจะเปนปจจัยท่ีกําหนดให ตรงตามรสนยิ มของแตละวัฒนธรรม จนเปนผลใหสามารถแยกแยะดนตรีของชาติหน่ึงแตกตางจากดนตรีของ อีกชาตหิ นึ่งได องคป ระกอบของดนตรีสากล ประกอบดว ย 1. เสยี ง (Tone) คีตกวีผูสรางสรรคดนตรี เปนผูใชเสียงในการสรางสรรคและผลิตงานศิลปะเพ่ือรับใชสังคม ผูสรางสรรคด นตรีสามารถสรางเสียงทห่ี ลากหลายโดยอาศยั วิธีการผลิตเสียงเปนปจจยั กําหนด เชน การดีด การสี การตี การเปาเสยี งทเี่ กดิ จากการสั่นสะเทือนของอากาศทเี่ ปน ไปอยา งสมาํ่ เสมอ สวนเสยี งอกึ ทึกหรอื เสยี งรบกวน (Noise) เกดิ จากการสน่ั สะเทือนของอากาศท่ีไมสม่ําเสมอ ลักษณะความแตกตางของเสียงข้ึนอยูกับคุณสมบัติ สาํ คญั 4 ประการ คือ ระดบั เสยี ง ความยาวของเสียง ความเขมของเสียง และคุณภาพของเสยี ง 1.1 ระดับเสยี ง (Pitch) หมายถึง ระดับของความสูง-ต่าํ ของเสียง ซ่ึงเกิดจากการจํานวนความถ่ี ของการสั่นสะเทือน กลาวคือ ถาเสียงท่ีมีความถ่ีสูง ลักษณะการสั่นสะเทือนเร็ว จะสงผลใหมีระดับเสียงสูง แตถ า หากเสียงมีความถีต่ าํ่ ลักษณะการสน่ั สะเทือนชาจะสงผลใหม ีระดบั เสียงตา่ํ 1.2 ความส้นั -ยาวของเสียง (Duration) หมายถงึ คณุ สมบัตทิ ่เี ก่ียวกบั ความยาว-สนั้ ของเสยี ง ซึ่ง เปนคณุ สมบตั ทิ สี่ ําคญั อยา งยง่ิ ของการกาํ หนดลีลา จังหวะ ในดนตรีตะวนั ตก การกําหนดความสั้น-ยาวของเสียง สามารถแสดงใหเหน็ ไดจากลกั ษณะของตวั โนต เชน โนต ตวั กลม ตวั ขาว และตัวดํา เปนตน สําหรับดนตรีของ ไทยนั้น แตเดิมมิไดใชระบบการบันทึกโนตเปนหลัก แตอยางไรก็ตาม การสรางความยาว-สั้นของเสียง อาจสังเกตไดจากลีลาการกรอระนาดเอก ฆองวง ในกรณีของซออาจแสดงออกมาในลักษณะของการลาก คันชกั ยาวๆ 1.3 ความเขม ของเสยี ง (Intensity) ความเขมของเสียงเกี่ยวของกับนํ้าหนักของความหนักเบา ของเสยี ง ความเขม ของเสยี งจะเปนคุณสมบัติท่ีกอ ประโยชนใ นการเกอ้ื หนนุ เสยี งใหมีลีลาจงั หวะท่ีสมบูรณ 1.4 คณุ ภาพของเสียง (Quality) เกิดจากคณุ ภาพของแหลงกาํ เนดิ เสยี งที่แตกตางกัน ปจจัยที่ทํา ใหค ุณภาพของเสยี งเกดิ ความแตกตางกนั นน้ั เกิดจากหลายสาเหตุ เชน วิธกี ารผลติ เสียง รปู ทรงของแหลงกําเนิด เสยี ง และวสั ดุที่ใชท ําแหลงกําเนิดเสียง ปจจัยเหลานี้กอใหเกิดลักษณะคุณภาพของเสียง ซ่ึงเปนหลักสําคัญให ผูฟ งสามารถแยกแยะสสี ันของเสียง (Tone Color) ระหวางเครือ่ งดนตรเี ครอื่ งหนึง่ กับเครื่องหน่ึงไดอ ยางชดั เจน

46 2. พืน้ ฐานจังหวะ (Element of Time) เปนศิลปะของการจัดระเบียบเสียงที่เกี่ยวของกับความชาเร็ว ความหนักเบาและความสั้น-ยาว องคประกอบเหลาน้ีหากนํามารอยเรียงปะติดปะตอเขาดวยกันตามหลักวิชาการเชิงดนตรีแลว สามารถท่ีจะ สรางสรรคใหเกิดลีลาจังหวะอันหลากหลาย ในเชิงจิตวิทยา อิทธิพลของจังหวะที่มีผลตอผูฟงจะปรากฏพบ ในลักษณะของการตอบสนองเชิงกายภาพ เชน ฟง เพลงแลวแสดงอาการกระดิกนิว้ ปรบมอื รว มไปดวย 3. ทํานอง (Melody) ทํานองเปนการจัดระเบียบของเสียงที่เกี่ยวของกับความสูง-ต่ํา ความสั้น-ยาว และความดัง-เบา คณุ สมบัติเหลา น้ีเม่อื นํามาปฏบิ ัติอยา งตอเนอื่ งบนพน้ื ฐานของความชา -เรว็ จะเปน องคประกอบของดนตรีท่ีผูฟง สามารถทําความเขาใจไดงา ยท่สี ดุ ในเชงิ จิตวิทยา ทาํ นองจะกระตุน ผูฟงในสวนของสติปญญา ทํานองจะมีสวนสําคัญในการสรางความ ประทับใจ จดจํา และแยกแยะความแตกตา งระหวา งเพลงหนง่ึ กับอีกเพลงหนึง่ 4. พืน้ ผวิ ของเสียง (Texture) “พื้นผิว” เปนคําท่ีใชอยูท่ัวไปในวิชาการดานวิจิตรศิลป หมายถึง ลักษณะพ้ืนผิวของส่ิงตางๆ เชน พ้นื ผวิ ของวัสดุทม่ี ีลกั ษณะขรขุ ระ หรอื เกล้ียงเกลา ซ่ึงอาจจะทําจากวสั ดุทต่ี างกนั ในเชิงดนตรนี ัน้ “พืน้ ผิว” หมายถงึ ลกั ษณะหรอื รูปแบบของเสียงท้งั ท่ปี ระสานสมั พนั ธแ ละไมประสาน สัมพันธ โดยอาจจะเปนการนําเสียงมาบรรเลงซอนกันหรือพรอมกัน ซ่ึงอาจพบทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ตามกระบวนการประพันธเพลง ผลรวมของเสียงหรือแนวทั้งหมดเหลาน้ัน จัดเปนพ้ืนผิวตามนัยของดนตรี ท้งั สนิ้ ลกั ษณะรูปแบบพ้ืนผวิ ของเสยี งมีอยหู ลายรปู แบบ ดังนี้ 4.1 Monophonic Texture เปน ลกั ษณะพนื้ ผิวของเสยี งทมี่ แี นวทํานองเดียว ไมม เี สียงประสาน พื้นผวิ เสียงในลักษณะนี้ถอื เปนรปู แบบการใชแ นวเสียงของดนตรีในยคุ แรกๆ ของดนตรีในทกุ วฒั นธรรม 4.2 Polyphonic Texture เปนลักษณะพ้ืนผิวของเสียงที่ประกอบดวยแนวทํานองตั้งแต สองแนวทํานองข้ึนไป โดยแตละแนวมีความเดนและเปนอิสระจากกัน ในขณะที่ทุกแนวสามารถประสาน กลมกลืนไปดวยกัน ลักษณะแนวเสียงประสานในรูปของ Polyphonic Texture มีวิวัฒนาการมาจากเพลงชานท (Chant) ซึ่งมีพ้ืนผิวเสียงในลักษณะของเพลงทํานองเดียว (Monophonic Texture) ภายหลังไดมีการเพิ่มแนว ขับรองเขาไปอกี หน่ึงแนว แนวทเ่ี พิ่มเขา ไปใหมน จี้ ะใชระยะขน้ั คู 4 และคู 5 และดําเนินไปในทางเดียวกับเพลง ชานทเดิม การดําเนินทํานองในลักษณะนี้เรียกวา “ออรกานุม” (Orgonum) นับไดวาเปนยุคเริ่มตนของ การประสานเสียงแบบ Polyphonic Texture หลงั จากคริสตศตวรรษที่ 14 เปนตนมา แนวทํานองประเภทนี้ไดมี การพัฒนากาวหนา ไปมาก ซึง่ เปน ระยะเวลาทก่ี ารสอดทํานอง (Counterpoint) ไดเ ขา ไปมบี ทบาทเพ่ิมมากขึ้นใน การตกแตงพ้นื ผวิ ของแนวทาํ นองแบบ Polyphonic Texture

47 4.3 Homophonic Texture เปน ลักษณะพ้ืนผิวของเสียง ที่ประสานดวยแนวทํานองแนวเดียว โดยมี กลมุ เสยี ง (Chords) ทําหนาทีส่ นับสนนุ ในคีตนพิ นธป ระเภทน้ี แนวทาํ นองมกั จะเคล่ือนทใี่ นระดับเสยี งสงู ทสี่ ุดในบรรดากลมุ เสียงดวยกนั ในบางโอกาสแนวทํานองอาจจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงตํ่าไดเชนกัน ถึงแมวา คตี นิพนธป ระเภทนี้จะมแี นวทาํ นองที่เดนเพียงทํานองเดียวก็ตาม แตกลุมเสียง (Chords) ที่ทําหนาที่สนับสนุน นนั้ มคี วามสําคัญทไ่ี มน อยไปกวา แนวทํานอง การเคลื่อนท่ขี องแนวทาํ นองจะเคลื่อนไปในแนวนอน ในขณะที่ กลมุ เสียงสนับสนุนจะเคลื่อนไปในแนวต้ัง 4.4 Heterophonic Texture เปนรูปแบบของแนวเสียงท่ีมีทํานองหลายทํานอง แตละแนว มีความสาํ คญั เทากนั ทุกแนว คาํ วา Heteros เปน ภาษากรีก หมายถึงแตกตางหลากหลาย ลักษณะการผสมผสาน ของแนวทํานองในลักษณะน้ี เปนรูปแบบการประสานเสยี ง 5. สีสันของเสียง (Tone Color) “สีสันของเสยี ง” หมายถึง คุณลกั ษณะของเสียงทีก่ าํ เนิดจากแหลงเสียงท่ีแตกตางกัน แหลงกําเนิดเสียง ดังกลา ว เปนไดท ้งั ท่ีเปน เสยี งรอ งของมนุษยแ ละเครอื่ งดนตรชี นิดตา งๆ ความแตกตา งของเสยี งรองมนุษย ไมวา จะเปนระหวางเพศชายกับเพศหญิง หรือระหวางเพศเดียวกัน ซ่ึงลวนแลวแตมีพื้นฐานของการแตกตาง ทางดานสรรี ะ เชน หลอดเสยี งและกลองเสียง เปน ตน ในสวนท่ีเก่ียวของกับเคร่ืองดนตรีน้ัน ความหลากหลายดานสีสันของเสียง ประกอบดวยปจจัยท่ี แตกตา งกันหลายประการ เชน วธิ กี ารบรรเลง วัสดุที่ใชทําเคร่ืองดนตรี รวมท้ังรูปทรง และขนาด ปจจัยเหลานี้ ลว นสงผลโดยตรงตอ สีสันของเสียงเคร่อื งดนตรี ทาํ ใหเ กิดคุณลักษณะของเสียงท่ีแตกตางกนั ออกไป 5.1 วิธีการบรรเลง โดยวิธีดีด สี ตี และเปา วิธีการผลิตเสียงดังกลาวลวนเปนปจจัยใหเคร่ือง ดนตรมี คี ณุ ลักษณะของเสียงท่ีตา งกัน 5.2 วัสดุที่ใชท ําเคร่ืองดนตรี วัสดุที่ใชทําเครอ่ื งดนตรขี องแตล ะวัฒนธรรมจะใชวัสดุท่ีแตกตาง กนั ไปตามสภาพแวดลอมของสงั คมและยคุ สมยั นับเปนปจจัยทีส่ าํ คัญประการหนึง่ ทส่ี ง ผลใหเ กดิ ความแตกตาง ในดา นสีสันของเสียง 5.3 ขนาดและรูปทรง เคร่อื งดนตรีท่ีมีรูปทรงและขนาดที่แตกตางกัน จะเปนปจจัยที่สงผลให เกิดความแตกตางกันในดานของเสยี งในลักษณะทีม่ คี วามสัมพนั ธกัน 6. คตี ลักษณ (Forms) คีตลักษณห รือรูปแบบของเพลง เปรยี บเสมอื นกรอบทไ่ี ดห ลอมรวมเอาจังหวะ ทํานอง พ้ืนผิว และสีสัน ของเสียงใหเคล่อื นทีไ่ ปในทิศทางเดยี วกัน เพลงทีม่ ีขนาดสั้น-ยาว วนกลบั ไปมา ลว นเปนสาระสาํ คัญของ คตี ลักษณทั้งสิน้ ดนตรมี ีธรรมชาตทิ แ่ี ตกตางไปจากศลิ ปะแขนงอน่ื ๆ ซึ่งพอจะสรปุ ไดดงั นี้ 1. ดนตรีเปนสื่อทางอารมณทสี่ ัมผสั ไดดวยหู กลาวคือ หูนับเปนอวัยวะสําคัญที่ทําใหคนเราสามารถ สัมผสั กับดนตรีได ผทู หี่ หู นวกยอมไมส ามารถทราบไดว า เสียงดนตรีนนั้ เปน อยางไร

48 2. ดนตรีเปนสวนหน่ึงของวัฒนธรรม กลาวคือ กลุมชนตาง ๆ จะมีวัฒนธรรมของตนเอง และ วฒั นธรรมนเี้ องท่ที าํ ใหค นในกลุมชนนัน้ มีความพอใจและซาบซง้ึ ในดนตรีลักษณะหนึ่งซ่ึงอาจแตกตางไปจาก คนในอีกวัฒนธรรมหน่ึง ตัวอยางเชน คนไทยเราซึ่งเคยชินกับดนตรีพื้นเมืองไทยและดนตรีสากล เม่ือไปฟง ดนตรีพื้นเมอื งของอนิ เดยี ก็อาจไมรูสึกซาบซ้ึงแตอ ยางใด แมจ ะมคี นอินเดียคอยบอกเราวาดนตรีของเขาไพเราะ เพราะพริ้งมากกต็ าม เปนตน 3. ดนตรีเปนเร่ืองของสุนทรียศาสตรวาดวยความไพเราะ ความไพเราะของดนตรีเปนเร่ืองท่ีทุกคน สามารถซาบซง้ึ ไดและเกดิ ขนึ้ เม่ือใดกไ็ ด กับทุกคน ทุกระดบั ทุกชนชัน้ ตามประสบการณข องแตละบคุ คล 4. ดนตรีเปนเรื่องของการแสดงออกทางอารมณ เสียงดนตรีจะออกมาอยางไรน้ันข้ึนอยูกับเจาของ อารมณที่จะชว ยถา ยทอดออกมาเปน เสียง ดังน้ันเสียงของดนตรีอาจกลาวไดวาอยูที่อารมณของผูประพันธเพลง ท่ีจะใสอารมณลงไปในเพลงตามที่ตนตองการ ผูบรรเลงเพลงก็ถายทอดอารมณจากบทประพันธลงบน เครื่องดนตรี ผลที่กระทบตอผูที่ฟงก็คือ เสียงดนตรีท่ีประกอบขึ้นดวยอารมณของผูประพันธผสมกับ ความสามารถของนักดนตรีทจี่ ะถา ยทอดไดถ งึ อารมณห รอื มคี วามไพเราะมากนอ ยเพียงใด 5. ดนตรีเปนทั้งระบบวิชาความรูและศิลปะในขณะเดียวกัน กลาวคือ ความรูเก่ียวกับดนตรีนั้น เปน เรื่องเกย่ี วกบั เสียงและการจดั ระบบเสียงใหเ ปน ทว งทํานองและจงั หวะ ซึ่งคนเรายอมจะศึกษาเรียนรู “ความรู ท่ีเก่ยี วกับดนตรี” นี้ก็ได โดยการทอง จํา อาน ฟง รวมท้ังการลอกเลยี นจากคนอืน่ หรอื การคดิ หาเหตผุ ลเอาเองได แตผทู ี่ไดเ รยี นรจู ะมี “ความรเู กย่ี วกบั ดนตรี” ก็อาจไมสามารถเขาถึงความไพเราะหรือซาบซ้ึงในดนตรีไดเสมอ ไป เพราะการเขาถึงดนตรีเปนเร่ืองของศิลปะ เพียงแตผูที่มีความรูเก่ียวกับดนตรีน้ันจะสามารถเขาถึงความ ไพเราะของดนตรีไดง า ยข้นึ กิจกรรม - ใหผูเรียนรวมกลุมและจัดหาเพลงท่ีมีจังหวะชาและเร็วนํามาเปดใหฟงในชั้นเรียน และบอกเลา ความรสู กึ ของตนในแตล ะเพลงใหท กุ คนฟง - ใหผเู รยี นรวมกลุมหาเพลงบรรเลงสากลนาํ มาเปด และแตล ะคนเขยี นถงึ ความรสู ึกและจนิ ตนาการจาก เพลงนั้น

49 เร่ืองท่ี 4 ประวตั ภิ มู ิปญญาทางดนตรสี ากล ดนตรีสากลมกี ารพัฒนามายาวนาน และเกอื บทงั้ หมดเปน การพฒั นาจากฝงทวีปยุโรป จะมีการพัฒนา ในยคุ หลงั ๆที่ดนตรีสากลมีการพฒั นาสงู ในฝง ทวปี อเมริกาเหนือ สามารถแบง การพัฒนาออกเปนชวงยุค ดังนี้ 1. ดนตรีคลาสสกิ ยุโรปยุคกลาง (Medieval European Music พ.ศ. 1019 - พ.ศ. 1943) ดนตรคี ลาสสกิ ยุโรปยุคกลาง หรือ ดนตรียุคกลาง เปนดนตรีที่ถือวาเปนจุดกําเนิดของดนตรีคลาสสิก เร่ิมตนเมื่อประมาณป พ.ศ. 1019 (ค.ศ. 476) ซ่ึงเปนปของการลมสลายของจักรวรรดิโรมัน ดนตรีในยุคนี้มีจุดประสงคเพ่ือประกอบ พธิ ีกรรมทเี่ กยี่ วขอ งกับศาสนา โดยมีตนกําเนดิ มาจากดนตรีของยคุ กรีกโบราณ ดนตรคี ลาสสกิ ของยุโรปยุคกลาง 2. ดนตรียุคเรเนสซองส (Renaissance Music พ.ศ. 1943 - พ.ศ. 2143) เร่ิมการนับเมอ่ื ประมาณป พ.ศ. 1943 (ค.ศ. 1400) เมื่อเร่ิมมีการเปล่ียนแปลงศิลปะ และฟนฟูศิลปะโบราณยุคโรมันและกรีก แตดนตรียังคง เนนหนกั ไปทางศาสนา เพยี งแตเรมิ่ มกี ารใชเ ครื่องดนตรที ่หี ลากหลายข้ึน ดนตรยี คุ เรเนสซองส

50 3. ดนตรียุคบาโรค (Baroque Music พ.ศ. 2143 - พ.ศ. 2293) ยุคนี้เริ่มข้ึนเมื่อมีการกําเนิดอุปรากร ในประเทศฝรั่งเศสเม่ือป พ.ศ. 2143 (ค.ศ. 1600) และ สิ้นสุดลงเม่ือ โยฮันน เซบาสเทียน บาค เสียชีวิตลงในป พ.ศ. 2293 (ค.ศ. 1750) แตบ างครง้ั กน็ บั วาสนิ้ สุดลงในป พ.ศ. 2273 (ค.ศ. 1730)ในยุคท่ีเริ่มมีการเลนดนตรีเพื่อ การฟงในหมูชนชั้นสูงมากข้ึน เคร่ืองดนตรีประเภทออรแกนไดรับความนิยมแตเนนหนักไปทางศาสนา นัก ดนตรีท่ีมชี ื่อเสยี งในยุคนี้ เชน บาค ววิ ลั ดิ เปน ตน ดนตรยี คุ บาโรค 4. ดนตรียคุ คลาสสิค (Classical Period Music พ.ศ. 2293 - พ.ศ. 2363) เปนยุคท่ีมีการเปล่ียนแปลง กฏเกณฑ แบบแผน รูปแบบและหลักในการเลนดนตรีอยางชัดเจน ศูนยกลางของดนตรียุคน้ีคือประเทศ ออสเตรีย ท่ีกรุงเวียนนา และเมอื งมานไฮม( Mannheim) นกั ดนตรีทีม่ ชี อื่ เสียงในยุคน้ี ไดแก โมซารท เปน ตน ดนตรยี คุ คลาสสคิ

51 5. ดนตรียุคโรแมนติค (Romantic Music พ.ศ. 2363 - พ.ศ. 2443) เปนยุคที่เร่ิมมีการแทรกของ อารมณเ พลง ซึง่ ตา งจากยคุ กอ นๆซึง่ ยังไมมกี ารใสอารมณในทํานอง นักดนตรที ่มี ชี ื่อเสยี งในยคุ น้ี เชน เบโธเฟน ชูเบิรต โชแปง ไชคอฟสกี เปนตน ลุดวกิ ฟาน เบโธเฟน 6. ดนตรียุคศตวรรษท่ี 20 (20th Century Calssical Music พ.ศ. 2443 - พ.ศ. 2543) นักดนตรี เร่มิ แสวงหาแนวดนตรี ท่ีไมขึน้ กับแนวดนตรีในยุคกอนๆ จังหวะในแตละหองเริ่มแปลกไปกวาเดิม ไมมีโนต สําคญั เกิดใหม ระยะหางระหวางเสียงกับเสียงเริ่มลดนอยลง ไรทวงทํานองเพลง นักดนตรีบางกลุมหันไปยึด ดนตรีแนวเดมิ ซึ่งเรยี กวา แบบนีโอคลาสสิก (Neoclassic) นักดนตรีท่ีมีชื่อเสียงในยุคนี้ เชน อิกอร เฟโดโรวิช สตราวนิ สกี เปนตน อกิ อร เฟโดโรวชิ สตราวนิ สกี

52 7. ดนตรยี คุ ปจ จบุ นั (ชวงทศวรรษหลงั ของครสิ ตศตวรรษท่ี 20 - ปจ จบุ นั ) ยคุ ของดนตรีปอ ป (pop music) - ยุค 50 เพลงรอ็ กแอนดโ รลลไ ดรบั ความนยิ ม มีศิลปน ที่ไดรบั ความนิยมอยา งเอลวสิ เพรสลยี  - ยุค 60 เปนยุคของทีนไอดอลอยาง วงเดอะบีทเทิลส เดอะบีชบอยส คลิฟ ริชารด โรลลิ่ง สโตน แซนดี ชอว เปน ตน - ยุค 70 เปนยุคของดนตรีดิสโก มีศิลปนอยาง แอบบา บีจีส และยังมีดนตรีประเภทคันทรีท่ีไดรับ ความนิยมอยาง เดอะ อีเกิลส หรือดนตรีปอปที่ไดรับอิทธิพลจากร็อกอยาง เดอะ คารเพ็นเทอรส,ร็อด สจวต, แครี ไซมอ น แฌร เปน ตน - ยุค 80 มีศิลปนปอปที่ไดรับความนิยมอยาง ไมเคิล แจ็คสัน, มาดอนนา, ทิฟฟานี, เจเน็ท แจ็คสัน, ฟล คอลลนิ ส แวม ลกั ษณะดนตรจี ะมกี ารใสดนตรีสังเคราะหเขาไป เพลงในยุคนี้สวนใหญจะเปนเพลงเตนรํา และยังมอี ทิ ธิพลถงึ ทางดานแฟชน่ั ดว ย - ยุค 90 เร่ิมไดอิทธิพลจากเพลงแนวอารแอนดบี เชน มารายห แครี,เดสทินี ไชลด,บอยซ ทู เม็น, เอ็น โวค, ทีแอลซี ในยุคน้ียังมีวงบอยแบนดที่ไดรับความนิยมอยาง นิว คิดส ออน เดอะบล็อก, เทค แดท, แบ็คสตรีท บอยส - ยุค 2000 มีศิลปนที่ประสบความสําเร็จอยาง บริทยนี สเปยร, คริสตินา อากีเลรา, บียอนเซ, แบล็ค อายด พสี , จสั ติน ทิมเบอรเ ลค สว นเทรนดปอ ปอืน่ เชนแนว ปอป-พังค อยางวง ซิมเปล แพลน เอฟริล ลาวีน รวมถงึ การเกิดรายการสุดฮติ อเมรกิ ัน ไอดอลทีส่ รางศิลปนอยา ง เคลลี่ คลารกสัน และ เคลย ไอเคน แนวเพลงปอป และอารแอนดบีเรม่ิ รวมกนั มีลกั ษณะเพลงปอ ปทเ่ี พมิ่ ความเปนอารแ อนดบมี ากข้ึนอยาง เนลลี เฟอรตาโด ริฮานนา, จสั ติน ทิมเบอรเลค เปนตน กจิ กรรม ใหผ ูเรียนสบื คน ประวัตนิ กั ดนตรสี ากล ทง้ั ในประเทศไทย และสากล เขียนเปนรายงาน ไมตาํ่ กวา5 หนากระดาษ ขนาดA4 จากนัน้ ใหน าํ มารายงานหนาชัน้ เรยี น แลว นาํ เกบ็ รายงานน้ัน ในแฟมสะสมงาน

53 บทท่ี 3 นาฏศลิ ป สาระสาํ คัญ เขาใจและเห็นคุณคาทางนาฏศิลป สามารถวิเคราะห วิพากษวิจารณ ถายทอดความรูสึก ความคิด อยางอสิ ระ ช่นื ชมและประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั อธิบายความหมาย ความสําคญั ความเปนมาของนาฎยนิยาม สุนทรียะทางนาฎศิลป เขาใจถึงประเภท ของนาฎศิลปแขนงตาง ๆ ภูมิปญ ญา ขอบขา ยเน้อื หา เรื่องท่ี 1 นาฏยนยิ าม เรื่องท่ี 2 สนุ ทรียะทางนาฏศลิ ป เรื่องที่ 3 นาฏศลิ ปส ากลเพ่อื นบานของไทย เร่อื งที่ 4 ละครท่ไี ดรบั อิทธพิ ลของวัฒนธรรมตะวนั ตก เร่ืองท่ี 5 ประเภทของละคร เรื่องที่ 6 ละครกับภมู ิปญ ญาสากล

54 เรอ่ื งที่ 1 นาฏยนิยาม นาฏยนิยาม หมายถึง คําอธิบาย คําจํากัดความ ขอบเขต บทบาท และรูปลักษณของนาฏศิลป ซ่ึงลวน แสดงความหมายของนาฏยศิลปท่ีหลากหลาย อันเปนเครื่องบงช้ีวานาฏยศิลปมีความสําคัญ เก่ียวของกับชีวิต และสงั คมมาตงั้ แตอ ดีตกาล นยิ าม ในสวนนี้เปน การกลาวถึง ความหมายของนาฏยศลิ ป หรอื การฟอ นราํ ทปี่ ราชญแ ละนกั วิชาการสาํ คัญได พยายามอธบิ ายคําวา นาฏยศิลป ไวในแงมุมตาง ๆ ดังน้ี สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงอธิบายถึงกําเนิดและวิวัฒนาการของ นาฏยศลิ ปทผี่ กู พนั กับมนุษย ดงั นี้ “การฟอนรําเปนประเพณีของมนุษยทุกชาติทุกภาษา ไมเลือกวาจะอยู ณ ประเทศถิ่นสถานท่ีใด ในพิภพนี้ อยาวา แตม นษุ ยเ ลย ถึงแมสตั วเ ดรัจฉานก็มีวิธีฟอน เชน สุนัข ไกกา เวลาใดสบอารมณ มันก็จะเตน โลดกรดี กรายทํากริ ิยาทาทางไดตาง ๆ ก็คือการฟอนรําตามวิสัยสัตวน้ันเอง ปราชญแหงการฟอนรําจึงเล็งเห็น การฟอนรําน้ีมูลรากเกิดแตวิสัยสัตวเม่ือเวทนาเสวยอารมณ จะเปนสุขเวทนาก็ตามหรือทุกขเวทนาก็ตาม ถาเสวยอารมณแรงกลาไมกล้ันไวได ก็แลนออกมาเปนกิริยาใหเห็นปรากฏยกเปนนิทัศนอุทาหรณดังเชน ธรรมดาทารก เวลาอารมณเ สวยสขุ เวทนากเ็ ตน แรง เตน แฉง สนุกสนาน ถาอารมณเสวยทุกขเวทนาก็ดิ้นโดยให แสดงกริ ยิ าปรากฏออกใหรวู า อารมณเ ปนอยา งไร ยิง่ เติบโตรูเดียงสาข้ึนเพียงไร กิริยาท่ีอารมณเลนออกมาก็ยิ่ง มากมายหลายอยางออกไป จนถึงกิริยาที่แสดงความกําหนัดยินดีในอารมณ และกิริยาซึ่งแสดงความอาฆาต โกรธแคน เปน ตน กริ ยิ าอนั เกดิ แตเ วทนาเสวยอารมณน ี้นบั เปนขน้ั ตน ของการฟอ นรํา ตอมาอีกขั้นหน่ึงเกิดแตคนทั้งหลายรูความหมายของกิริยาตาง ๆ เชน กลาวมาก็ใชกิริยาเหลานั้นเปน ภาษาอนั หนึง่ เม่อื ประสงคจะแสดงใหป รากฏแกผูอืน่ โดยใจจริงกด็ ี หรือโดยมายาเชน ในเวลาเลน หวั ก็ดี วา ตนมี อารมณอยางไร ก็แสดงกิริยาอนั เปน เคร่อื งหมายอารมณอยางนั้น เปนตนวาถาแสดงความเสนหา ก็ทํา กิริยาย้ิม แยมกรดี กราย จะแสดงความรื่นเริงบันเทิงใจก็ขับรองฟอนรํา จําขูใหผูอ่ืนกลัวก็ทําหนาตาถมึงทึงแลโลดเตน คกุ คาม จงึ เกดิ แบบแผนทาทางที่แสดงอารมณตาง ๆ อันเปนตนของกระบวนฟอนรําขึ้นดวยประการน้ีนับเปน ขัน้ ท่สี อง อนั ประเพณกี ารฟอนรําจะเปนสาํ หรบั ฝก หัดพวกท่ีประกอบการหาเล้ียงชีพดวยรําเตน เชน โขนละคร เทานั้นหามิได แตเดิมมายอมเปนประเพณีสําหรับบุคคลทุกช้ันบรรดาศักด์ิและมีที่ใชไปจนถึงการยุทธและ การพธิ ีตา ง ๆ หลายอยา ง จะยกตัวอยางแตประเพณีการฟอนรําที่มีมาในสยามประเทศของเรานี้ ดังเชนในตํารา คชศาสตร ซ่ึงนับถือวาเปนวิชาช้ันสูงสําหรับการรณรงคสงครามแตโบราณ ใครหัดข่ีชางชนก็ตองหัดฟอนรํา ใหเปนสงาราศีดวยแมพระเจาแผนดินก็ตองฝกหัด มีตัวอยางมาจนถึงรัชกาลท่ี 5 เมื่อพระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงศึกษาวิชาคชศาสตรตอสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยาบําราบ

55 ปรปกษ ก็ไดทรงหัดฟอ นรํา ไดยินเคยทรงราํ พระแสงขอบนคอชา งพระท่ีนัง่ เปน พทุ ธบชู าเมื่อครง้ั เสดจ็ พระพทุ ธบาท ตามโบราณราชประเพณี เมือปวอก พ.ศ. 2414 การฟอ นราํ ในกระบวนยุทธอยางอ่ืน เชน ตีกระบี่กระบองก็เปน วิชาที่เจานายตองทรงฝกหัดมาแตกอน สวนกระบวนฟอนรําในการพิธี ยังมีตัวอยางทางหัวเมืองมณฑล ภาคพายัพ ถาเวลามงี านบญุ ใหทานเปน การใหญก็เปนประเพณีท่ีเจานายตั้งแตเจาผูครองนครลงมาที่จะฟอนรํา เปน การแสดงโสมนัสศรทั ธาในบญุ ทาน เจา นายฝายหญิงก็ยอมหัดฟอนรําและมีเวลาที่จะหัดฟอนรําในการพิธี บางอยางจนทกุ วันนี้ ประเพณตี า ง ๆ ดังกลาวมา สอใหเห็นวาแตโบราณยอมถือวาการฟอนรําเปนสวนหนึ่งใน การศกึ ษา ซึ่งสมควรจะฝกหดั เปนสามญั ทวั่ มุกทุกช้นั บรรดาศักดสิ์ ืบมา การทีฝ่ กหัดคนแตบ างจําพวกใหฟอนรํา ดงั เชน ระบาํ หรือละครนัน้ คงเกิดแตป ระสงคจะใครดูกระบวน ฟอ นราํ วา จะงามไดถ ึงท่สี ดุ เพยี งไร จึงเลอื กสรรคนแตบางเหลาฝกฝนใหชาํ นิชํานาญเฉพาะการฟอนรํา สําหรับ แสดงแกคนทงั้ หลายใหเ หน็ วา การฟอ นรําอาจจะงามไดถ ึงเพียงน้นั เมอื่ สามารถฝกหดั ไดส มประสงคก็เปน ที่ตอง ตาตดิ ใจคนทัง้ หลาย จึงเกิดมนี กั ราํ ข้นึ เปน พวกทีห่ นึ่งตางหาก แตทีจ่ ริงวชิ าฟอนรําก็มแี บบแผนอนั เดียวกับที่เปน สามญั แกคนทัง้ หลายทุกช้นั บรรดาศกั ดนิ์ นั่ เอง”1 ราชบัณฑิตยสถาน ไดใหความหมายของนาฏยศิลปไวกวาง ๆ ตลอดจนกําหนดการออกเสียงไวใน พจนานกุ รมฉบบั เฉลมิ พระเกียรติ พ.ศ. 2530 ดงั นี้ “นาฏ, นาฏ – [นาด, นาตะ – นาดตะ-] น. นางละคร, นางฟอนรํา, ไทยใชห มายถึง หญิงสาวสวย เชน นางนาฏ นุชนาฏ (ป.; ส.) นาฏกรรม [นาดตะกาํ ] น. การละคร, การฟอ นรํา. นาฏดนตรี [นาดตะดนตรี] น. ลิเก. นาฏศิลป [นาดตะสนิ ] น. ศิลปะแหงการละครหรือการฟอนรํา. นาฏก [นาตะกะ (หลกั ), นาดตะกะ (นยิ ม)] น. ผฟู อ นรํา. (ป.; ส.) นาฏย [นาดตะยะ-] ว. เก่ียวกับการฟอนรํา, เกี่ยวกับการแสดงละคร (ส.) นาฏยเวที น. พืน้ ที่แสดงละครล ฉาก. นาฏยศาลา น. หอ งฟอนรํา, โรงละคร นาฏยศาสตร น. วิชาฟอ นราํ , วชิ าแสดงละคร” 2 หมายเหตุ 1 สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ, “ประวัตกิ ารฟอ นราํ .” ใน การละครไทย อางถงึ ใน หนงั สอื อา นประกอบคาํ บรรยายวชิ าพ้ืนฐานอารยธรรมไทยตอนดนตรแี ละนาฏศลิ ปไ ทย.มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร (พระนคร : โรงพิมพมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร, 2515) , หนา 12 -14. 2 พจนานกุ รมฉบับเฉลิมพระเกยี รติ พ.ศ. 2530. พิมพครง้ั ท่ี 3 (กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ , 2531), หนา 279.

56 ธนิต อยโู พธิ์ ไดอธบิ ายความหมายของนาฏยศิลปดงั ทปี่ รากฏในคัมภรี อ ินเดยี ไวด ังนี้ “คําวา “นาฏย” ตามคมั ภรี อภิธานปั ปทปี ก าและสูจิ ทา นใหวเิ คราะหศัพทวา “นฏสเสตนตินาฏย” ความ วา ศลิ ปะของผูฟอ นผูราํ เรียกวา นาฏย และใหอรรถาธิบายวา “นจจ วาทิต คีต อิท ตุริยติก นาฏยนาเมนุจจเต” แปลวา การฟอ นราํ การบรรเลง (ดนตรี) การขบั รอง หมวด 3 แหงตุริยะน้ี ทาน (รวม) เรียกโดยช่ือวา นาฏย ซึ่ง ตามน้ีทานจะเห็นไดวา คําวา นาฏะ หรือนาฏยะ น้ัน การขับรอง 1 หรือพูดอยางงาย ๆ ก็วาคํา “นาฏย” น้ันมี ความหมายรวมทั้งฟอนรําขับรองและประโคมดนตรีดวย ไมใชมีความหมายแตเฉพาะศิลปฟอนรําอยางเดียว ดงั ทบี่ างทานเขา ใจกนั แมจ ะใชคําวาหมวด 3 แหงตุรยิ ะหรอื ตุรยิ ะ 3 อยาง แสดงใหเหน็ วาใชคาํ “ตรุ ยิ ะ” หมายถึง เครื่องตีเครือ่ งเปา แตแปลงกันวา “ดนตรี” กไ็ ด นว่ี า ตามรปู ศัพท แททจ่ี ริงแมในวิธีการปฏิบัติศิลปนจะรับระบํา ราํ ฟอนไปโดยไมม ีดนตรีและขับรอ งประกอบเร่อื งและใหจงั หวะไปดว ยน้ันยอ มเปนไปไมไดและไมเปนศิลปะ ทส่ี มบูรณ ถาขาดดนตรีและขบั รองเสยี แลว แมในสว นศิลปะของการฟอ นราํ เองกไ็ มส มบูรณในตัวของมัน พระ ภรตมนุ ี ซงึ่ ศลิ ปนทางโขนละครพากนั ทาํ ศรีษะของทานกราบไหวบ ูชา เรียกกันวา “ศรีษะฤๅษี” นั้น มีตํานานวา ทา นเปน ปรมาจารยแหงศลิ ปะทางโขนละครฟอนรํามาแตโบราณ เม่ือทานไดแตงคัมภีรนาฏยศาสตรข้ึนไว ก็มี อยูหลายบริเฉทหรือหลายบทในคัมภีรนาฏยศาสตรน้ัน ท่ีทานไดกลาวถึงและวางกฎเกณฑในทางดนตรีและ ขบั รอ งไวด ว ย และทานศารงคเทพผูแตงคัมภีรสังคีตรัตนากรอันเปนคัมภีรที่วาดวยการดนตรีอีกทานหนึ่งเลา กป็ รากฏวาทานไดว างหลักเกณฑและอธิบายศลิ ปะทางการละครฟอ นรําไวมากมายในคมั ภรี น ้นั เปนอันวา ศลิ ปะ 3 ประการ คือฟอนราํ 1 ดนตรี 1 ขบั รอง 1 เหลานตี้ า งตองประกอบอาศยั กัน คาํ วา นาฏยะ จึงมคี วามหมายรวมเอา ศลิ ปะ 3 อยางนนั้ ไวในศพั ทเ ดียวกนั ”

57 เรื่องท่ี 2 สนุ ทรยี ะทางนาฏศลิ ป ความหมายสุนทรยี ะทางนาฏศลิ ป สุนทรียะ (Aesthetic) หมายถงึ ความเกีย่ วเน่อื งกับส่งิ สวยงาม รูปลกั ษณะอนั ประกอบดว ยความสวยงาม (พจนานุกรมฉบับเฉลมิ พระเกียรติ พ.ศ. 2530 : 541) นอกจากนยี้ งั มีผใู หความหมายของคําวา “สนุ ทรยี ะ” ไวต า ง ๆ กัน ดังน้ี *หลวงวจิ ิตรวาทการ ไดอธิบายความหมายไววา ความรูส กึ ธรรมดาของคนเรา ซึ่งรูจักคุณคาของวัตถุที่ งามความเปน ระเบยี บเรียบรอยของเสียงและถอยคาํ ไพเราะ ความรูสกึ ความงามที่เปนสุนทรียภาพนี้ยอมเปนไป ตามอุปนิสัยการอบรมและการศึกษาของบุคคล ซึ่งรวมเรียนวา รส (Taste) ซ่ึงความรูสึกนี้จะแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับการฝกฝนปรนปรือในการอาน การฟง และการพินิจดูส่ิงท่ีงดงามไมวาจะเปนธรรมชาติหรือศิลปะ (หลวงวิจิตรวาทการ 2515 : 7 – 12) *อารี สทุ ธพิ นั ธุ ไดใหแนวคดิ เกีย่ วกับ “สนุ ทรียศาสตร” ไว 2 ประการ ดังน้ี 1. วชิ าทีศ่ ึกษาเกี่ยวกบั ความรูสกึ ท่ีเกิดขน้ึ จากการรับรขู องมนุษย ซึ่งทําใหมนุษยเกิดความเบิกบานใจ อิ่มเอมโดยไมห วังผลตอบแทน 2. วชิ าทศ่ี ึกษาเกย่ี วกับวิชาที่มนุษยสรางขึ้นทุกแขนง นําขอมูลมาจัดลําดับเพ่ือนเสนอแนะใหเห็นคุณคา ซาบซ้ึงในสิ่งท่ีแอบแฝงซอนเรน เพื่อสรางความนิยมชมชื่นรวมกัน ตามลักษณะรูปแบบของผลงานนั้น ๆ (อารี สทุ ธิพันธ,ุ 2534 : 82) ความหมายของคาํ วา “สุนทรยี ะ” หมายถึง ความรูสึกของบุคคลที่มีความซาบซ้ึง และเห็นคุณคาในสิ่ง ดีงาม และไพเราะจากสิง่ ทเี่ กิดขน้ึ ตามธรรมชาติ หรอื อาจเปนสิง่ ท่ีมนุษยประดิษฐขน้ึ ดว ยความประณีต ซ่งึ มนุษย สมั ผัสและรับรไู ดดว ยวธิ ีการตาง ๆ จนเกิดความพึงพอใจ ความประทับใจและทําใหเกดิ ความสุขจากสิ่งท่ีตนได พบเหน็ และสมั ผสั ความหมายของคาํ วา “นาฏศลิ ป” หมายถงึ ศลิ ปะแหง การละครหรือการฟอ นราํ (พจนานุกรมฉบับเฉลิม พระเกยี รติ พ.ศ. 2534 : 279) นอกจากนย้ี งั มผี ใู หความหมายของคาํ วา “นาฏศลิ ป” ไวตา ง ๆ กนั ดงั น้ี *ธนติ อยโู พธ์ิ ไดแปลคําวา “นาฏศิลป” ไวว า คือความช่ําชองในการละครฟอ นรําดว ยมีความเหน็ วาผูท่ี มศี ิลปะทีเ่ รยี กวา ศลิ ปน จะตอ งเปน ผมู ีฝม ือมีความชาํ่ ชองชํานาญในภาคปฏิบตั ใิ หด ีจริง ๆ (ธนติ อยูโพธ์ิ 2516 : 1) ความหมายของคําวา “นาฏศิลป” ท่ีไดกลาวมาน้ัน สรุปไดวา หมายถึงศิลปะในการฟอนรําที่มนุษย ประดษิ ฐข ้นึ จากธรรมชาติและจากความคํานงึ ดวยความประณตี งดงาม มีความวิจิตรบรรจง นาฏศิลป นอกจาก จะหมายถึงทา ทางแสดงการฟอ นราํ แลว ยงั ประกอบดว ยการขับรองท่ีเรียกวา คีตศิลปและการบรรเลงดนตรีคือ “ดุรยิ างคศลิ ป” เพอื่ ใหศ ิลปะการฟอนรําน้นั งดงามประทบั ใจ “สุนทรียะทางนาฏศลิ ปส ากล” จึงหมายถึง ความวจิ ิตรงดงามของการแสดงนาฏศิลปสากล ซ่ึงประกอบ ไปดวย ระบํา รํา ฟอน ละคร อันมีลีลาทารําและการเคล่ือนไหวที่ประกอบดนตรี บทรองตามลักษณะและ ชนิดของการแสดงแตล ะประเภท

58 พื้นฐานความเปน มาของนาฏศลิ ปไทย นาฏศิลปมีรูปแบบการแสดงทแ่ี ตกตา งกัน ทัง้ ทีเ่ ปนการแสดงในรูปแบบของการฟอนรําและการแสดง ในรูปแบบของละคร แตล ะประเภทจงึ แตกตางกัน ดงั น้ี 1. นาฏศิลปที่แสดงในรูปแบบของการฟอนรํา เกิดจากสัญชาตญาณด้ังเดิมของมนษุ ยหรือสัตวทั้งหลาย ในโลก เมือ่ มคี วามสุขหรอื ความทกุ ขก็แสดงกิริยาอาการออกมาตามอารมณและความรูสึกน้ัน ๆ โดยแสดงออก ดวยกิริยาทาทางเคล่ือนไหว มือ เทา สีหนา และดวงตาที่เปนไปตามธรรมชาติ รากฐานการเกิดนาฏศิลปใน รปู แบบของการฟอ นราํ พฒั นาข้ึนมาเปน ลาํ ดับ ดงั น้ี 1.1 เพื่อใชเ ปนพธิ ีกรรมทางศาสนา มนษุ ยเ ชอื่ วา มีผดู ลบนั ดาลใหเกิดความวิบตั ิตาง ๆ หรือเช่ือวามี ผทู ่สี ามารถบันดาลความสําเรจ็ ความเจริญรุงเรอื งใหกับชวี ติ ของตน ซึ่งอาจเปนเทพเจาหรือปศาจตามความเชื่อ ของแตละคนจงึ มีการเตน ราํ หรอื ฟอนรํา เพื่อเปนการออ นวอนหรือบูชาตอ ผูท่ตี นเชื่อวา มีอํานาจดังกลาว สมเดจ็ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพฯ ไดอธิบายในหนังสือตําราฟอนรําวา ชาติโบราณทุกชนิด ถือการเตนรําหรือฟอนรําเปนประจําชีวิตของทุกคน และยังถือวาการฟอนรําเปนพิธีกรรมทางศาสนาดวย สําหรบั ประเทศอนิ เดยี น้ันมตี าํ ราฟอนราํ ฝกสอนมาแตโ บราณกาล เรยี กวา “คมั ภีรนาฏศลิ ปศ าสตร” 1.2 เพื่อใชในการตอสูและการทําสงคราม เชน ตําราคชศาสตร เปนวิชาชั้นสูง สําหรับการทํา สงครามในสมัยโบราณ ผูท่ีจะทําสงครามบนหลังชางจําเปนตองฝกหัดฟอนรําใหเปนที่สงางามดวย แมแต พระเจา แผน ดนิ กต็ อ งทรงฝก หดั การฟอ นรําบนหลังชา งในการทําสงครามเชน กัน 1.3 เพือ่ ความสนุกสนานร่นื เริง การพกั ผอ นหยอนใจเปน ความตองการของมนุษย ในเวลาวางจาก การทํางานก็จะหาส่ิงที่จะทําใหตนและพรรคพวกไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลินคลายความเหน็ดเหนื่อย เน่อื งจากการรองราํ ทําเพลงเปน ธรรมชาตทิ ม่ี อี ยใู นตวั ของมนุษยทุกคน ดังนน้ั จงึ มีการรวมกลุมกันรองเพลงและ รา ยรําไปตามความพอใจของพวกตน ซ่ึงอาจมีเนื้อรอ งทม่ี ีสาํ เนียงภาษาของแตละทองถ่ิน และทวงทํานองเพลง ทเ่ี ปน ไปตามจังหวะประกอบทารายรําแบบงาย ๆ ซึ่งไดพัฒนาตอมาจนเกิดเปนการแสดงนาฏศิลปรูปแบบของ การฟอนราํ ของแตละทอ งถนิ่ เรียกวา “ราํ พนื้ เมือง” 2. นาฏศิลปท่ีแสดงในรูปแบบของละคร มีรากฐานมาจากความตองการของมนุษยท่ีจะถายทอด ประสบการณหรอื เหตุการณที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับมนุษยท่ีเปนความประทับใจ ซ่ึงสมควรแกการจดจํา หรืออาจมี วัตถุประสงคเพื่อประโยชนในการเผยแพรศาสนาและสอนศีลธรรม เพราะการสรางในรูปแบบของละคร เปน วธิ กี ารที่งา ยตอ ความเขาใจแตยากทจ่ี ะใชการเผยแพรแ ละอบรมส่งั สอนดวยวิธกี ารอื่น จงึ มีการสรา งเร่ืองราว หรือบันทึกเหตุการณอันนาประทับใจและมีคุณคาน้ันไวเปนประวัติศาสตรในรูปแบบของการแสดงละคร เพราะเช่ือวา การแสดงละครเปนวิธีหนึ่งของการสอนคตธิ รรม โดยบุคลาธษิ ฐานในเชงิ อุปมาอปุ มยั อาจกลาวไดวารากฐานการเกิดของนาฏศิลปไทยตามขอสันนิษฐานที่ไดกลาวมาน้ันท้ังการแสดงใน รปู แบบของการฟอ นรํา และการแสดงในรูปแบบของการละครไดพัฒนาข้ึนตามลําดับ จนกลายเปนแบบแผน ของการแสดงนาฏศิลปไ ทยท่ีมีความเปน เอกลักษณเดน ชัด

59 คําถามตรวจสอบความเขา ใจ 1. หลวงวจิ ิตรวาทการ ใหค วามมุงหมายของสุนทรียะวาอยา งไร 2. อารี สทุ ธิพนั ธุ ใหแนวคิดเก่ยี วกับความหมาย ของคําวา “สุนทรยี ศาสตร” ไวก่ีประเภท อะไรบาง 3. “สวนสาํ คัญสว นใหญของนาฏศลิ ปอ ยูท่กี ารละครเปน สาํ คญั ” เปน คาํ อธิบายของใคร 4. “สนุ ทรียะทางนาฏศิลปสากล” หมายถงึ อะไรในทัศนะคติของนักเรียน 5. ผูช มนาฏศลิ ปสากลจะตองมคี วามรูค วามเขา ใจเร่ืองอะไรบาง 6. นาฏศลิ ปท่ีแสดงในรูปแบบของการฟอ นรํามขี อ สันนษิ ฐานวา เกิดมาจากอะไร

60 เรอื่ งที่ 3 นาฏศิลปส ากลเพอื่ นบานของไทย ประเทศในกลุมทวีปเอเชีย ซ่ึงมีวัฒนธรรมประจําชาติ ท่ีแสดงความเปนเอกลักษณ ตลอดท้ังเปน สอื่ สมั พันธอ ันดีกับชาติตาง ๆ ลักษณะของนาฏศิลปของชาติเพื่อนบานไมวาจะเปนประเทศพมา ลาว กัมพูชา มาเลเชยี จนี ธิเบต เกาหลี และญ่ปี ุน มักจะเนนในเร่ืองลลี าความสวยงามเกือบทุกเรื่อง ไมเนนจังหวะการใชเทา มากนัก ซงึ่ แตกตา งจากนาฏศลิ ปข องตะวันตกท่มี กั จะเนนหนักในลลี าจงั หวะทร่ี ุกเรา ประกอบการเตนที่รวดเร็ว และคลองแคลว นาฏศิลปของชาติเพอ่ื นบา นทีค่ วรเรยี นรูไดแก ประเทศดงั ตอ ไปนี้ 1. นาฏศลิ ปประเทศพมา 2. นาฏศิลปป ระเทศลาว 3. นาฏศลิ ปป ระเทศกัมพชู า (เขมร) 4. นาฏศลิ ปประเทศมาเลเชีย 5. นาฏศลิ ปป ระเทศอินโดนีเซีย 6. นาฏศลิ ปประเทศอนิ เดยี 7. นาฏศลิ ปประเทศจีน 8. นาฏศลิ ปประเทศทเิ บต 9. นาฏศลิ ปป ระเทศเกาหลี 10. นาฏศิลปประเทศญีป่ นุ นาฏศิลปประเทศพมา หลังจากกรงุ ศรีอยธุ ยาแตกครงั้ ที่ 2 พมาไดร บั อทิ ธพิ ลนาฏศลิ ปไ ปจากไทย กอ นหนาน้นี าฏศลิ ปข องพมา เปน แบบพื้นเมอื งมากกวา ทจ่ี ะไดรับอทิ ธิพลมาจากภายนอกประเทศเหมือนประเทศอื่นๆ นาฏศิลปพมาเร่ิมตน จากพิธีการทางศาสนา ตอ มาเมอ่ื พมา ติดตอ กับอนิ เดียและจนี ทารา ยราํ ของสองชาติดังกลาวกม็ ีอิทธิพลแทรกซึม ในนาฏศิลปพน้ื เมืองของพมา แตท า รายรําเดิมของพมา นนั้ มีความเปนเอกลักษณของตัวเอง ไมมีความเก่ียวของ กับเรื่องรามายณะหรือมหาภารตะเหมือนประเทศเอเชยี อน่ื ๆ นาฏศิลปและการละครในพมา นั้น แบง ไดเ ปน 3 ยุค คอื 1. ยคุ กอนนบั ถอื พระพุทธศาสนา เปนยคุ ของการนับถอื ผี การฟอนรําเปนไปในการทรงเจาเขาผี บูชาผี และบรรพบุรษุ ทล่ี วงลับ ตอ มาก็มีการฟอ นราํ ในงานพธิ ตี า งๆเชน โกนจุก เปน ตน 2. ยคุ นบั ถือพระพทุ ธศาสนา พมานบั ถอื พระพทุ ธศาสนาหลงั ป พ.ศ. 1559 ในสมยั นีก้ ารฟอ นราํ เพอ่ื บูชา ผกี ย็ งั มีอยู และการฟอนรํากลายเปน สว นหนึง่ ของการบูชาในพระพุทธศาสนาดว ย หลังป พ.ศ. 1800 เกิดมีการละครแบบหน่งึ เรยี กวา “นิพัทข่ิน” เปนละครเร แสดงเรื่องพุทธประวัติเพ่ือ เผยแพรความรใู นพระพุทธศาสนา เพอื่ ใหช าวบา นเขาใจไดงา ย

61 3. ยุคอิทธิพลละครไทย หลังเสียกรุงศรีอยุธยาแกพมา ในป พ.ศ. 2310 ชาวไทยถูกกวาดตอนไปเปน เชลยจาํ นวนมาก พวกละครและดนตรีถูกนาํ เขา ไปไวใ นพระราชสํานกั จงึ เกดิ ความนยิ มละครแบบไทยข้ึน ละคร แบบพมายุคนเ้ี รียกวา “โยธยาสตั คยี” หรือละครแบบโยธยา ทาราํ ดนตรี และเรื่องทแี่ สดงรวมทั้งภาษาทีใ่ ชก็เปน ของไทย มีการแสดงอยู 2 เรือ่ ง คือ รามเกยี รต์ิ เลน แบบโขน และอเิ หนา เลนแบบละครใน ในป พ.ศ. 2328 เมียวดี ขาราชการสํานักพมาไดคิดละครแบบใหมขึ้นชื่อเร่ือง “อีนอง” ซ่ึงมีลักษณะ ใกลเคียง กับอิเหนามาก ที่แปลกออกไปคือ ตัวละครของเร่ืองมีลักษณะเปนมนุษยธรรมดาสามัญท่ีมีกิเลส มีความดคี วามชัว่ ละครเรือ่ งน้เี ปนแรงบันดาลใจใหเ กิดละครในแนวนีข้ นึ้ อกี หลายเรื่อง ตอมาละครในพระราชสาํ นกั เส่ือมความนยิ มลง เมื่อกลายเปนของชาวบานก็คอ ยๆ เสอื่ มลงจนกลายเปน ของนา รงั เกียจเหยยี ดหยาม แตละครแบบนิพทั ขิ่นกลับเฟองฟขู ึ้น แตมกี ารลดมาตรฐานลงจนกลายเปน จําอวด เมอื่ ประเทศพมาตกเปนเมอื งขึ้นของอังกฤษแลว ในป พ.ศ. 2428 ละครหลวงและละครพื้นเมืองซบเซา ตอมามกี ารนําละครทน่ี าํ แบบอยางมาจากองั กฤษเขาแทนท่ี ถงึ สมัยปจจุบันละครคูบานคูเมืองของพมาหาชมได ยากและรกั ษาของเดิมไวไมคอยจะได ไมม กี ารฟนฟกู นั เนอื่ งจากบา นเมอื งไมอ ยูในสภาพสงบสุข นาฏศลิ ปประเทศลาว ลาวเปน ประเทศหนึง่ ทมี่ ีโรงเรยี นศิลปะดนตรแี หง ชาติ กอกําเนิดมาตงั้ แตป พ.ศ. 2501 โดย Blanchat de la Broche และเจาเสถียนนะ จําปาสัก ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการ การสอนหนักไปแนวทางพ้ืนบาน (ศิลปะ ประจาํ ชาต)ิ ภายหลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2518 ไดเ ขารวมกับโรงเรียนศิลปะดนตรีของเทาประเสิด สีสาน มีช่ือใหม วา “โรงเรียนศิลปะดนตรีแหง ชาต”ิ ขึ้นอยูกบั กระทรวงแถลงขาวและวัฒนธรรม มีครู 52 คน นักเรียน 110 คน เรียนจบไดประกาศนียบัตรชั้นกลาง ผูมีความสามารถดานใดเปนพิเศษจะไดรับการสงเสริมใหเรียนตอใน ตา งประเทศ หรือทําหนา ทเี่ ปน ครหู รือนักแสดงตอ ไป วชิ าท่เี ปด สอนมีนาฏศิลป ดนตรี ขบั รอ ง นาฏศิลปจะสอน ทั้งท่ีเปนพื้นบาน ระบําชนเผา และนาฏศิลปสากล ดนตรี การขับรองก็เชนกัน สอนท้ังในแนวพ้ืนฐานและ แนวสากล นาฏศิลปป ระเทศกัมพชู า (เขมร) นาฏศิลปเขมรนับไดวาเปนนาฏศิลปช้ันสูง (Classical Dance) มีตนกําเนิดมาจากที่ใดยังไมมีขอสรุป ผูเชี่ยวชาญบางกลาววามาจากอินเดียเมื่อตนคริสตศตวรรษ แตบางทานกลาววามีข้ึนในดินแดนเขมร-มอญ สมยั ดกึ ดาํ บรรพ หากจะศึกษาขอความจากศิลาจารึกก็จะเห็นไดวา นาฏศิลปช้ันสูงน้ีมีขึ้นมาประมาณ 1,000 ป แลว คือ เม่อื ศตวรรษท่ี 7 จากศลิ าจารกึ ในพระตะบอง เมือ่ ศตวรรษท่ี 10 จากศลิ าจารกึ ในลพบุรี เม่ือศตวรรษท่ี 11 จากศิลาจารึกในสะดอกกอกธม เมือ่ ศตวรรษท่ี 12 จากศิลาจารกึ ในปราสาทตาพรหม ตามความเชือ่ ของศาสนาพราหม นาฏศลิ ปช ้นั สูงตองไดม าจากการรายรําของเทพธิดาไพรฟาท้ังหลายท่ี ราํ รา ยถวายเทพเจา เมอื งแมน

62 แตสําหรับกรมศิลปากรเขมร สมัยกอนนั้นเคยเปนกรมละครประจําสํานักหรือเรียกวา “ละครใน” พระบรมราชวังซงึ่ เปน พระราชทรัพยสวนพระองคของพระเจาแผน ดินทุกพระองค ตอมา “ละครใน” พระบรมมหาราชวังของเขมร ไดถูกเปล่ียนชื่อมาเปนกรมศิลปากร และในโอกาส เดียวกันกเ็ ปน ทรัพยส ินของชาตทิ ม่ี ีบทบาทสําคญั ทางดา นวฒั นธรรม ทําหนา ที่แสดงทัว่ ๆ ไปในตา งประเทศ ในปจจุบนั กรมศลิ ปากรและนาฏศลิ ปช น้ั สูง ไดร บั ความนยิ มยกยองขนึ้ มาก ซง่ึ นับไดวาเปน สมบตั ลิ ้ําคา ของชาติ นาฏศลิ ปเ ขมรที่ควรรูจ กั 1. ประเภทของละครเขมร แบงออกไดดงั นี้ 1.1 ละครเขมรโบราณ เปนละครด้ังเดิม ผูแสดงเปนหญิงลวน ตอมาผูแสดงหญิงไดรับคัดเลือกโดย พระเจาแผน ดินใหเ ปน นางสนม ครสู อนจึงหนอี อกจากเมืองไปอยตู ามชนบท ตอมาพระเจาแผนดินจึงดูแลเรื่อง การละครและไดโอนเขามาเปนของหลวง จึงเปลย่ี นช่ือวา “ละครหลวง” (Lakhaon Luong) 1.2 ละครที่เรียกวา Lakhaon Khaol เปนละครซ่ึงเกิดจากการสรางสรรคงานละครข้ึนใหมของบรรดา ครผู สู อนระดบั อาวโุ สท่ีหนีไปอยใู นชนบท การแสดงจะใชผูชายแสดงลว น 1.3 Sbek Thom แปลวา หนงั ใหญ เปนการแสดงทใ่ี ชเงาของตัวหนุ ซึ่งแกะสลกั บนหนัง 2. ประเภทของการรา ยรํา แยกออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 นาฏศลิ ปราชสํานักเชน 1) รําศิรพิ รชยั เปน การรา ยรําเพื่อประสิทธพิ รชยั 2) ระบําเทพบันเทิง เปนระบําของบรรดาเทพธดิ าท้งั หลาย 3) ระบาํ รามสรู กับเมขลา เปน ระบาํ เก่ียวกบั ตํานานของเมขลากับรามสูร 4) ระบาํ อรชนุ มังกร พระอรชุนนําบริวารเหาะเทย่ี วชมตามหาดทรายไดพบมณีเมขลาทก่ี าํ ลัง เลน นํ้าอยกู ็รว มมอื กันราํ ระบาํ มงั กร 5) ระบํายี่เก แพรหลายมากในเขมร เพลงและการรา ยราํ เปนสว นประกอบสาํ คญั ของการแสดง กอนการแสดงมักมกี ารขบั รอ งระลกึ ถงึ “เจนิ” 6) ระบาํ มติ รภาพ เปนระบําแสดงไมตรีจติ อนั บรสิ ุทธิ์ตอประชาชาตไิ ทย 2.2 นาฏศลิ ปพ นื้ เมอื ง เชน 1) ระบําสากบันเทงิ จะแสดงหลังจากการเก็บเกย่ี วเสร็จเรยี บรอย 2) ระบํากรบั บันเทิง ระบาํ ชุดนแ้ี สดงถึงความสนิทสนมในจติ ใจอนั บรสิ ทุ ธ์ขิ องหนุม สาวลกู ทงุ 3) ระบาํ กะลาบนั เทงิ ตามริมนา้ํ โขงในประเทศกัมพูชาชาวบานนยิ มระบาํ กะลามากในพธิ มี งคล สมรส 4) ระบําจับปลา เปนระบําที่ประดิษฐขึ้นมาใหมโดยนักศึกษากรมศิลปากร หลังจากที่ไดดู ชาวบานจับปลาตามทองนา (ทมี่ า : สุมติ ร เทพวงษ, 2541 : 156-278)

63 นาฏศิลปม าเลเชีย เปนนาฏศิลปท่ีมีลักษณะคลายกับนาฏศิลปชวา ซันตน และบาหลีมาก นาฏศิลปซันตนและบาหลี กไ็ ดร บั อิทธพิ ลมาจากมาเลเชีย ซงึ่ ไดร ับอทิ ธพิ ลตกทอดมาจากพวกพราหมณข องอนิ เดียอกี ทีหนง่ึ ตอ มาภายหลัง นาฏศลิ ปบ าหลี จะเปน ระบบอสิ ลามมากกวา อนิ เดีย เดิมมาเลเซียไดรับหนังตะลุงมาจากชวา และไดรับอิทธิพล บางสว นมาจากอุปรากรจนี มลี ะครบงั สวนั เทา นน้ั ท่เี ปนของมาเลเซียเอง ในราวพุทธศตวรรษที่ 19 ถึง 20 ชวามีอิทธิพลและครอบครองมาเลเซียตอนใตท่ีเปนเมืองข้ึนของ สลุ ตานมายาปาหติ แหงชวา ทม่ี ะละกาน้นั เปน ตลาดขายเครอ่ื งเทศที่ใหญท่ีสุดของชวา ชาวมาเลเซียใชภาษาพูด ถงึ 3 ภาษา คือมลายู ชวา และภาษาจีน ซง่ึ มที ัง้ แตจ ๋วิ ฮกเกีย้ น และกวางตุง ชาวมาเลเซียรับหนังตะลุงจากชวา แตก็ไดดัดแปลงจนเปนของมาเลเซียไป รวมท้ังภาษาพูดมาเลเซีย อีกดว ย นาฏศลิ ปม าเลเชียท่คี วรรูจัก 1. ละครบังสวนั ของมาเลเซยี เปน ละครทีส่ ันนษิ ฐานไดวาจะเกิดข้นึ ในศตวรรษปจจุบันนี้ เรื่องที่แสดง มักนยิ มนาํ มาจากประวัตศิ าสตรมาเลเซีย ละครบงั สวนั ยังมีหลายคณะ ปจจบุ นั น้ีเหลอื อยู 2 คณะ ละครบังสวนั เปนละครพดู ท่ีมีการรอ งเพลงรา ยราํ สลับกนั ไป ผูแ สดงมีท้งั ชายและหญงิ เนอ้ื เร่ืองตดั ตอน มาจากประวตั ศิ าสตรของอาหรับและมาเลเซยี ปจ จบุ นั มกั ใชเ ร่ืองในชีวติ ประจําวันของสังคมแสดง เวลาตัวละคร รองเพลงมีดนตรีคลอ สมัยกอนใชเคร่ืองดนตรีพ้ืนเมือง สมัยน้ีใชเปยโน กลอง กีตาร ไวโอลิน แซกโซโฟน เปนตน ไมม ลี กู คอู อกมารองเพลง การรา ยรํามีมาผสมบาง แตไ มมีความสําคัญมากนัก ตัวละครแตงตัวตามสมัย และฐานะของตัวละครในเรื่องนนั้ ๆ ถา เปน ประวตั ศิ าสตรก ็จะแตง ตัวมากแบบพระมหากษัตริย และจะแตงหนา แตพองามจากธรรมชาติ แสดงบนเวที เวทีทําเปนยกพื้น ซ่ึงสรางช่ัวคราว มีการชักฉากและมีหลืบ แสดงเวลา กลางคนื และใชเวลาแสดงเรือ่ งละ 3-5 ช่วั โมง 2. เมโนราทหรือมโนหรา คือ นาฏศิลปท่ีจัดวาเปนละครรํา ผูแสดงจะตองรายรําออกทาทางตรงตาม บทบาท ลีลาการรําออนชอยสวยงาม ละครรําแบบน้ีจะพบท่ีรัฐกลันตันโดยเฉพาะเทานั้นท่ีอ่ืนหาดูไดยาก ตามประวตั ิศาสตรก ลา วกันวา ละครรําแบบน้ีมีมาต้ังแตสมัยอาณาจักรลิกอร (Ligor) ประมาณ 2,000 ปมาแลว การเจรจา การรอ งบทในเวลาแสดงใชภาษามาเล ตัวละครเมโนราทใชผูชายแสดงท้ังหมด การแตงกายของตัว ละครจะมีลักษณะแปลก คอื มีการใสหนา กากรปู ทรงแปลก ๆ หนา กากนัน้ ทาสีสนั ฉูดฉาดบาดตาเปนรูปหนาคน หนายักษ หนาปศ าจ หนา มนุษยน ั้นมีสีซดี ๆ แลดนู า กลัว เวลาแสดงสวมหนา กากเตนเขาจังหวะดนตรี ตัวละคร คลา ยโขน นิยมแสดงเรอ่ื งจักรๆวงศๆ สวนละครพนื้ บาน เคร่ืองดนตรีท่บี รรเลงในระหวางการแสดงคือ กลอง 2 หนาและกลองหนา เดียว นอกจาน้ันมีฆองราว ฆอ งวง ขลุย ป 3. แมกยอง (Magyong) มีลักษณะการแสดงเปนเรื่องราวแบบละคร คลายโนราห และหนังตะลุง ของไทย แมกยองเปนศิลปะพ้ืนเมืองท่ีมีชื่อในหมูชาวกลันตัน ตรังกานู การแสดง จะมีผูหญิงกลุมหน่ึง เรยี กวา Jong Dondang จะออกมาเตน รําเบกิ โรง หลังจากน้นั ก็เรมิ่ ซึ่งเรื่องท่จี ะแสดงจะเก่ียวกับวรรณคดี

64 4. การแสดงประเภทการรายรํา 4.1 ระบําซาปน เปน การแสดงฟอ นราํ หมู ซง่ึ เปน ศลิ ปะพ้ืนเมืองของมาเลเซียโบราณ 4.2 ระบําดรดตั เปน การเตน รําพืน้ เมือง ชุดนเ้ี ปน การเตน ในเทศกาลประเพณีทางศาสนา 4.3 ระบําอาชัค เปน การราํ อวยพรทีเ่ กา แกในราชสาํ นักของมาเลเซยี ในโอกาสท่ีตอนรบั ราชอันตุกะ 4.4 ระบําอัสรี เปนนาฏศิลปชั้นสูงในราชสํานักมาเลเซีย ซ่ึงแสดงออกถึงการเก้ียวพาราสี อยา งสนกุ สนานของหนุม สาวมาเลเซยี 4.5 ระบาํ สมุ าชาว เปนนาฏศลิ ปพืน้ เมอื งของชาวมาเลเซียตะวันออก ไดแก แถบซาบาร การแสดงชุดน้ี ชาวพนื้ เมอื งกําลงั รน่ื เริงกนั ในฤดกู าลเกบ็ เก่ยี วขา ว 4.6 วา วบหุ ลนั (ระบาํ วาวรูปพระจันทร) สําหรับการแสดงชุดนี้เปนการประดิษฐทาทาง และลีลาใหดู คลายกบั วาว 4.7 จงอีหนาย เปนการรืน่ เรงิ ของชาวมาเลเซียหลังจากเก็บเกี่ยวจะชวยกันสีขาวและฝดขาวซ่ึงจะเรียก ระบาํ นีว้ าระบาํ ฝด ขาว 4.8 เคนยาลัง เปนนาฏศิลปพ้ืนเมืองของชาวซาบารในมาเลเชียตะวันออก การแสดงชุดนี้เปนลีลาการ แสดงท่คี ลายกบั การบนิ ของนกเงือก 4.9 ทดงุ ซะจี หรือระบาํ ฝาชี 4.10 โจเก็ต เปน นาฏศลิ ปพ ืน้ เมืองที่ชาวมาเลเซยี นยิ มเตนกันท่วั ๆไปเชนเดยี วกบั รําวงของไทย 4.11 ยาลาดัน เปนการแสดงท่ีไดรับอิทธิพลมาจากพอคาชาวอาหรับ ลีลาทาทางบางตอนคลายกับ ภาพยนตรอาหรบั ราตรี 4.12 อีนัง จีนา คือ ระบําสไบของชาวมาเลเซีย ปกติหญิงสาวชาวมาเลเซียจะมีสไบคลุมศรีษะเมื่อถึง คราวสนกุ สนานกจ็ ะนาํ สไบนี้ออกมารา ยรํา 4.13 การเดย่ี วแอคโคเดยี นและขับรองเพลง “คาตาวา ลากี” ซึ่งแปลเปนไทยไดวามาสนุกเฮฮา เพลงน้ี นยิ มขับรอ งกนั แถบมะละกา 4.14 ลิลิน หรือระบาํ เทียนของมาเลเซีย 4.15 เดมปรุง (ระบาํ กะลา) เมื่อเสร็จจากการเก็บเก่ียว ชาวมาเลยจะมีงานร่ืนเริง บางก็ขูดมะพราวและ ตาํ นา้ํ พรกิ จงึ นํากะลามะพรา วมาเคาะประกอบจงั หวะกนั อยางสนกุ สนาน

65 นาฏศิลปประเทศอินโดนเี ซีย นาฏศิลปประเทศอินโดนีเซียทค่ี วรรจู ัก 1. นาฏศลิ ปชวา แบงไดด ังนี้ 1.1 แบบยอกยาการตา คอื การแสดงแบบอยางของชาวชวาสว นกลางจะสอนใหนักเรียนรูจักนาฏยศัพท ของชวาเสียกอน (Ragam-Ragam) และจะสอนรําจากงายไปหายากตามขั้นตอน การใชผาจะใชผาพันเอว เรอ่ื งของดนตรจี ะดังและมที าํ นองกับเสน แบงจงั หวะมาก 1.2 แบบซรู าการต า เปน การแสดงสว นกลาง การเรยี นการสอนเหมือนกับยอกยาการตา แตทารําแปลก ไปเล็กนอย การใชผ าก็จะใชผา แพรพาดไหล ดนตรจี ะมที วงทํานองนุมนวลและราบเรียบ เสน แบงจังหวะมนี อ ย 2. นาฏศิลปซุนดา ศิลปะของชาวซุนดาหนักไปทางใชผา (Sumpun) ซ่ึงมีลีลาเคลื่อนไหวไดสวยงาม ในการรําซนุ ดาท่ีเปนมาตรฐานที่ช่ืนชอบในปจจุบันในชุมชนตะวันตกเฉพาะ และในชุมชนอินโดนีเซียท่ัวไป คอื ราํ เดวี (Deve), เลยาปน (Leyapon), โตเปง ราวานา (Topang Ravana), กวนจารัน (Kontjaran), อันจาสมารา (Anchasmara), แซมบา (Samba), เคน็ ดทิ (Kendit), บิราจงุ (Birajung) และ เรลาตี (Relate) นอกจากน้ียังมีศิลปะ ท่บี คุ คลทัว่ ไปจะนยิ มมาก คอื ราํ ไจปง (Jainpong) การเรียนการสอนเหมอื นแบบ Yogyakarta คอื สอนใหรจู กั นาฏยศัพทตา งๆ สอนใหรูจักเดิน รูจักใชผา แลว จงึ เร่มิ สอนจากงายไปหายาก 3. นาฏศิลปบาหลี นาฏศลิ ปบ าหลีไดพัฒนาแตกตางไปจากชวา โดยมีลักษณะเราใจ มีชีวิตชีวามากวา สวนวงมโหรี (Gamelan) ก็จะมีจงั หวะความหนกั แนน และเสียงดงั มากกวาชวากลางทม่ี ีทวงทํานองชาออนโยน สิง่ สาํ คัญของบาหลีจะเก่ียวกับศาสนาเปน สวนใหญ ใชแสดงในพธิ ีทางศาสนาซึง่ มอี ยูทัว่ ไปของเกาะบาหลี การสอนนาฏศิลปแตเดิมของบาหลีเปนไปในทางตรงกัน ครูจะตองจัดทาทาง แขน ขา มือ นิ้ว ของลกู ศิษย จนกระทัง่ ลูกศิษยส ามารถเรยี นไดค ลอ งแคลวข้ึนใจเหมือนกบั การเลียนแบบ ซ่ึงวิธีการสอนนี้ยังคง ใชอ ยจู นกระท่งั ปจจุบนั ท้ังในเมอื งและชนบท สําหรับผทู ่เี รมิ่ หัดใหมจะตองผานหลักสูตรการใชกลามเน้ือออน หัดงา ย ซงึ่ เกีย่ วกบั การเคล่อื นไหว รา ยรํา การกมตัว มุมฉาก การเหยียด งอแขน เปนตน ตอมาผูฝกจะเริ่มสอน นาฏศิลปแบบงายๆ เพื่อใหเหมาะสมกับผูเริ่มฝก เชน Pendet Dance ของนาฏศิลปบาหลี สําหรับเด็กหญิง ตัวเล็กๆและจะสอนนาฏศลิ ปแบบยากข้ึนเรือ่ ยๆไปจนถึง Legong Kraton นาฏศลิ ปอ ินเดีย ในอดีตการฟอนรําของอินเดียมีลักษณะที่เกี่ยวของกับการบูชาพระศาสนา และการแสดงออกของ อารมณมนุษย การเกิดการฟอนราํ ของอนิ เดยี น้ันไดหลักฐานมาจากรูปปน สาวกําลังราํ ทําดว ยโลหะสาํ รดิ เทคนิค ของนาฏศิลปอนิ เดยี จะเกี่ยวพนั กับการใชรางกายทัง้ หมด จากกลามเน้ือดวงตา ตลอดจนแขน ขา ลําตัว มือ เทา และใบหนา

66 การจดั แบงนาฏศลิ ปของอินเดียนัน้ จะมอี ยู 2 ลักษณะ คอื 1. นาฏศลิ ปแ บบคลาสสกิ 2. นาฏศิลปแ บบพน้ื เมือง นาฏศิลปแ บบคลาสสิก นาฏศลิ ปแบบคลาสสกิ มีอยู 4 ประเภท คอื ภารตนาฏยัม (Pharata Natyam) คาธะคาลี (Kathakali) คาธัค (Kathak) และมณีบรุ ี (Manipuri) นาฏศลิ ปคลาสสิกท้งั หมดมี 3 ลักษณะ อยา งทีเ่ หมอื นกันคือ 1.1 นาฏยะ (Natya) นาฏศลิ ปนไดร บั การสงเสรมิ เหมอื นในละคร จากเวทีและฉากซง่ึ สง ผลอันงามเลศิ 1.2 นริทยะ (Nritya) นาฏศิลปนจะถายทอดหรือแปลนิยายเรื่องหนึ่ง ตามธรรมดามักจะเปนเร่ืองของ วรี บุรุษจากโคลง-กาพย 1.3 นริทตะ (Nrita) เปนนาฏศิลปที่บริสุทธิ์ประกอบดวยลีลาการเคล่ือนไหวของรางกายแตอยางเดียว เพอ่ื มผี ลเปน เคร่ืองตกแตงประดับเกียรติยศและความงาม นาฏศิลปค ลาสสกิ ท้งั หมดมีส่งิ เหมือนกันคือ ลีลาช้ันปฐมตัณฑวะกับลาสยะ ซ่ึงเปนส่ือแสดงศูนยรวม แหงศรัทธาของหลกั คิดแหงปรชั ญาฮินดู “ตณั ฑวะ” หลักธรรมของเพศชายเปนเสมอื นการเสนอแนะความเปน วีรบรุ ษุ แขง็ แกรง กลา หาญ “ลาสยะ” หลกั ธรรมขนั้ ปฐมของเพศหญงิ คอื ความออ นโยน นมุ นวล งามสงา สมเกียรติ (ลกั ษณะพเิ ศษ ของนาฏศลิ ปค ลาสสิกของอินเดยี คือ การแสดงตามหลกั การไดท งั้ เพศชายและเพศหญิง) นาฏศลิ ปคลาสสกิ ทคี่ วรรจู กั 1. ภารตนาฏยมั (Pharata Natyam) ภารตนาฏยัมเปนการฟอ นราํ ผูหญิงเพียงคนเดยี ว ซ่งึ ถือกําเนดิ มาใน โบถว ิหาร เพอ่ื อุทศิ ตนทําการสกั การะดวยจิตวิญญาณ มีการเคลื่อนไหวที่สวยงาม แสดงทาทางแทนคําพูดและ ดนตรี 2. คาธคั (Kathak) หรือ กถกั คาธัคเปนนาฏศิลปของภาคเหนือซ่ึงมีสไตลการเตนระบําเด่ียวเปนสวน ใหญอยา งหนงึ่ คาธัคไมเ หมือนภารตนาฏยัม โดยทม่ี ปี ระเพณีนยิ มการเตน ระบําทั้ง 2 เพศ คือชายและ หญิง และ เปน การผสมผสานระหวาความศักด์สิ ิทธ์ิของศาสนา และของฆราวาสนอกวดั แหลงกาํ เนดิ ของ “คาธัค” เปนการ สวดหรือการทอ งอาขยาน เพื่อสกั การะหรอื การแสดงดวยทาทางของคาธคั คารา หรือมีผูเลานิยายเก่ียวกับโบสถ วิหาร ในเขตบราจของรัฐอุตตรประเทศ พ้ืนที่เมืองมะธุระ วิรินทราวัน อันเปนสถานท่ีซึ่งเชื่อถือกันวา พระกฤษณะไดประสูตทิ ี่น่นั ดว ยเหตนุ ้ชี ือ่ นาฏศิลปแ บบนี้ก็คือ “บะราชราอัส” 3. มณีบุรี (Manipuri) หรือ มณีปูร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย แวดลอมไปดวยเทือกเขา เปนหบุ เขาอนั สวยงามของ “มณปี ูร” นาฏศลิ ปของมณีปูรส ว นใหญจ ะมีลักษณะเพอื่ บชู าสักการะทว งทาของลีลา ฟอ นราํ อนั สงา งาม พืน้ รองเทา ท่แี ตะอยางแผว เบาและความละเมียดละไมของมือที่รายรําไปมา ทําใหนาฏสิลป ของมณีปรุ ีแยกออกจากโครงสรา งทางเลขาคณติ (ประกอบดวยเสน ตรงและวงกลม) ของภารตนาฏยมั และมีลลี า ตามระยะยาวอยางมคี ณุ ภาพของ “คาธคั ”

67 4. โอดิสสิ (Odissi) รัฐ “โอริสสา” อยูบนชายฝงทะเลดานตะวันออก เปนแหลงกําเนิดของรูปแบบ นาฏศลิ ป “โอดสิ ส”ิ เปนทร่ี ูจักกันวาเตม็ ไปดวยความรูสึกทางอารมณสูง และมีทวงทํานองโคลงอันราเริง ลีลา การเคลือ่ นไหวรายรํา มคี วามแตกตา งอยา งเหน็ ไดชัด จากระบบแผนนาฏศิลปคลาสสิกอ่ืนๆในอินเดยี 5. คูชิปูดี (Kuchipudi) รูปแบบนาฏศิลปท่ีงดงามล้ําเลิศน้ีไดชื่อมาจากหมูบานชนบทในรัฐอันตร ประเทศ อันเปนถ่ินท่ีไดกอกําเนิดของนาฏศิลปแบบนี้ เหมือนกับแบบของการละครฟอนรําดวยเรื่องราวทาง ศาสนา 6. คาธะคาลี (Kathakali) หรือกถกฬิ นาฏศิลปในแบบอินเดียท่ีสําคัญมากท่ีสุดก็คือ คาธะคาลีจากรัฐ เคราลา (ในภาคใตของอนิ เดีย) เปน นาฏศลิ ปท ่ีไดรวมสว นประกอบของระบาํ บัลเลต อปุ กรณ ละครใบและละคร โบราณแสดงอภินิหาร และปาฏิหาริยของปวงเทพ ท้ังยังเปนการฝกซอมพิธีการทางศาสนาในการเพาะกาย อกี ดว ย 7. ยัคชากานา บายาลาตะ ยคั ซากานาเปนรูปแบบนาฏศิลปการละคร มีลลี าการเคลอ่ื นไหวอันหนักแนน และมีคาํ พรรณนาเปนบทกวีจากมหากาพยอนิ เดีย ซ่ึงนาฏศลิ ปอ ินเดียไดแสดงและถายทอดใหไดเหน็ และซาบซ่งึ ในยคั ซากานา (Yokshagana) ไมเ พยี งแตจ ะมีดนตรี และการกาวตามจังหวะฟอนรําเปน ของตนเองเทาน้นั แตก าร แตงหนาและเคร่ืองแตงกายแบบ อาฮาระยะ อภินะยะ ไดรับพิจารณาลงความเห็นโดยผูเช่ียวชาญบางทานวา หรูหรางดงามและสดใสยิง่ กวา คาธะคาลี 8. ชะฮู (Chhau) ชะฮเู ปนนาฏศลิ ปท่ีผสมผสานระหวา งคลาสสิกแทกับระบําพื้นเมืองทั้งหมด ซึ่งไมได เปนของถ่ินใดๆ โดยเฉพาะ หากแตเปน นาฏศิลปอันยงิ่ ใหญข อง 3 รัฐ คอื รฐั พหิ าร รัฐโอรสิ สา และรัฐเบงกอล นาฏศิลปจนี นาฏศิลปจีนพัฒนามาจากการฟอนรํามาตั้งแตโบราณ มีหลักฐานเก่ียวกับระบําตางๆ ท่ีเกิดข้ึนของ นาฏศลิ ปจ นี ดังนี้ 1. สมยั ราชวงศซง ถงึ ราชวงศโ จวตะวันตก มีระบาํ เสาอู ระบําอูอู ปรากฏขึน้ เปน ระบําที่มุงแสดงความดี ความชอบของผูปกครองฝา ยบุน และฝา ยบขู องราชการสมยั นัน้ 2. สมัยปลายราชวงศโจวตะวันตก มีคณะแสดงเรียกวา “อิว” มาจากพวกผูดี หรือเจาครองแควนได รวบรวมจดั ตั้งเปน คณะข้ึน แบง เปน ชางอวิ คือนกั แสดงฝายหญิงแสดงการรองรํา และไผอิว คือคณะนักแสดง ฝายชาย แสดงทาํ นองชวนขนั และเสยี ดสี 3. สมัยราชวงศฮั่น ไดมีการแลกเปล่ียนทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมกับชนชาติตางๆ ทําใหเกิดการ แสดงตางๆขึ้น คือ ไปซ ี คือละครผสมผสานของศิลปะนานาชาติ และเจ่ียวต่ีซี่ คือ ละครผูกเปนเร่ือง มีลักษณะ ผสมระหวา งการฟอนราํ กับกายกรรม 4. สมยั ราชวงศจนิ้ ราชวงศใต- เหนอื ถึงปลายสมัยราชวงศสุย การแลกเปล่ียนผสมผสานในดานระบํา ดนตรีของชนชาติตา งๆไดพฒั นาไปอีกขน้ั หน่งึ

68 5. ราชวงศถงั เปน สมัยทีศ่ ลิ ปวฒั นธรรมยุคศกั ดนิ าของจีนเจริญรุงเรืองอยางเตม็ ท่ี มีหลายสิ่งที่เกดิ ขึน้ ใน สมัยน้ไี ดแก 5.1 เปยนเหวินหรือสูเจียง เปนนิยายท่ีใชภาษางายๆมาเลาเปนนิทานทางศาสนาดวยภาพที่เขาใจงาย หลังจากนั้นมกี ารขับรอ งและเจรจา 5.2 ฉวนฉ่ี เปนนยิ ายประเภทความเรียง โครงเรือ่ งแปลก เร่ืองราวซับซอ น 5.3 เกออูส้ี เปนศิลปะการแสดงที่มีบทรอง เจรจา แตงหนา แตงตัว อุปกรณเสริมบนเวที ฉาก การบรรเลงเพลง คนพากย เปน ตน 5.4 ซันจุนสี้ เปนการผลัดกันซักถามโตตอบสลับกันไปของตัวละคร 2 ตัว คือ “ซันจุน” และ “ชางถู” โครงเร่อื ง เปน แบบงา ยๆ มดี นกนั สดๆ เอาการตลกเสยี ดสเี ปนสาํ คัญ 6. สมัยราชวงศซง ศิลปะวรรณคดีเจริญรุงเรืองมาก พรอมท้ังมีสิ่งตางๆเกิดข้ึนไดแก การแสดง ดงั ตอ ไปน้ี 6.1 ฮวา เปนหรอื หนังสือบอกเลา เปน วรรณคดพี ้นื เมืองทเี่ กิดขึน้ 6.2 หวาเสอ คือ ยานมหรสพทเี่ กดิ ข้ึนตามเมอื งตา งๆ 6.3 ซูฮยุ คอื นักแตงบทละคร ซ่งึ เกดิ ข้นึ ในสมัยน้ี 6.4 ละคร “จา จ้วิ ” ภาคเหนอื หรืองิว้ เหนือ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ ประเภทบทเจรจาเปนหลักและ ประเภทรองราํ เปน หลัก ซง่ึ ก็คือ อปุ รากร 6.5 ละครหลานล้หี รือง้ิวใต ประยุกตศิลปะขบั รอ งกบั เลา นทิ านพื้นบา นเขา ดว ยกัน 7. สมัยราชวงศหยวน เปนสมัยท่ีละครหนานล้ีเร่ิมแพรหลาย และไดรับความนิยมจนละครจาจิ้ว ตองปรับรายการแสดงเปนหนานล้ี ละครหนานลี้นับเปนวิวัฒนาการของการสรางรูปแบบการแสดงงิ้วที่ เปน เอกลักษณของจนี ทงั้ ยังสง ผลสะทอนใหแ กง วิ้ ในสมัยหลังเปน อยา งมาก การแสดงงิว้ ในปจ จบุ ัน งว้ิ มบี ทบาทในสังคมของจีนโดยทั่วไป โดยเฉพาะคนไทยเชื้อสายจีนอาศัยอยู ทกุ จังหวัด ประเภทของงวิ้ ท่ีแสดงในปจจุบนั พอจะแบง ออกเปนประเภทตางๆได เชน 1) จิงจวี้ หรือ ผิงจวี้ หรอื งว้ิ งวั กัง เปน งว้ิ ชน้ั สงู เปนแมบ ทของงิ้วอนื่ ๆ 2) ง้วิ แตจวิ๋ หรอื ไปจื้อซ่ี ผูแ สดงมีทัง้ เด็กและผูใหญ เปน ที่นิยมท่สี ุดในปจจุบนั 3) งว้ิ ไหหลํา ใชบทพดู จีนไหหลํา การแสดงคลา ยงิ้วงวั กงั 4) ง้วิ กวางตุง ใชบทเจรจาเปนจนี กวางตงุ มักแสดงตามศาลเจา ลกั ษณะของงวิ้ งว้ิ ทีค่ นไทยสวนใหญไ ดพบเห็นในปจจบุ ันเปนประจํานน้ั มีลักษณะหลายอยา ง ดงั น้ี 1) มกั นยิ มแสดงตามหนา ศาลเจาตา งๆ ในงานเทศกาลของแตล ะทอ งถ่นิ น้นั ๆ ที่จดั ข้นึ โดยคนจีน 2) แนวความคิดนน้ั เปนการผสานความคิดของลัทธเิ ตา และแนวคําสอนของขงจอ้ื 3) เนนเร่ืองความสัมพนั ธในครอบครวั หนา ทท่ี ี่มตี อ กัน 4) เนนเร่ืองความสาํ คญั ของสังคมทีม่ ีเหนอื บุคคล 5) ถอื ความสขุ เปนรางวลั ของชวี ติ ความตายเปนการชําระลางบาป

69 6) ตัวละครเอกตองตาย ฉากสุดทายผูทาํ ผดิ จะไดรบั โทษ 7) ถือวาฉากตายเปน ฉาก Climax ของเรอื่ ง 8) จะตองลงดว ยขอ คดิ สอนใจ 9) ชนดิ ของละครมีทงั้ โศกปนสขุ 10) ผูหญงิ มกั ตกเปน เหยื่อของเคราะหกรรม 11) ใชผ ชู ายแสดงบทผูหญิงสมยั โบราณ ปจ จบุ ันใชชายจริงหญงิ แท ผูแ สดง ง้ิวโบราณน้ันกาํ หนดตวั แสดงงว้ิ ไวต า ง ๆ กนั คือ 1) เชิง คอื พระเอก 2) ตา น คือ นางเอก 3) โฉว หรอื เพลาท่วิ คอื ตัวตลก 4) จ้ิงหรอื อูเมียน (หนา ดาํ ) คอื ตัวผูรา ย เชน โจโฉ 5) เมอะหรือเมอะหนี หรอื โอชา รบั บทพวกคนแก 6) จา หรอื โชวเกยี่ ะ ตัวประกอบเบด็ เตล็ด เชน พลทหาร คนใช เปน ตน นาฏศลิ ปท ิเบต นาฏศลิ ปทิเบตนนั้ การรา ยรําจะเก่ยี วพันกับพธิ บี วงสรวงเจา เซน วิญญาณ หรือพธิ ีกรรมทางพุทธศาสนา ทิเบต มักจะแสดงเปนเร่ืองราวตามตํานานโบราณที่มีมาแตอดีต โดยจะแสดงในสถานที่ศักด์ิสิทธ์ิ เชน ในวัด เปนตน ในการแสดงจะมีการรา ยราํ ตามจงั หวะเสยี งดนตรี ผแู สดงจะสวมหนากาก สมมติตามเร่ืองราวท่ีบอกไว ผูแ สดงตองฝก มาพเิ ศษ หากเกิดความผดิ พลาดจะทาํ ใหความขลังของพิธีขาดไป พิธีสําคัญ เชน พิธีลาซัม ท่ีเปน วธิ ีบชู ายัญทจ่ี ัดขนึ้ ในบรเิ วณหนาวดั เนื่องในงานสงทายปเกาตอนรับปใหม พิธีดังกลาวนี้อาจพูดไดวาเปนการ รายรําบูชายัญดวยการเลนแบบโขน และเตนรําสวมหนากาก ตรงกลางที่แสดงจะมีรูปปนมนุษยทําดวยแปง ขา วบารเลย กระดาษ หรอื หนงั ยคั (ววั ท่มี ีขนดก) การทาํ พิธีบชู ายญั ถือวาเปน การทําใหภ ตู ผปี ศ าจเกดิ ความพอใจ ไมม ารบกวน และวญิ ญาณจะไดไปสูสวรรค อาจกลาวไดวาเปนการขับไลภูตผีปศาจ หรือกําจัดความช่ัวรายที่ ผานมาในปเ กา เพื่อเริม่ ตน ชวี ิตใหมดวยความสุข ในการแสดงจะมีผูรวมแสดง 2 กลุม กลุมหน่ึงสวมหมวกทรงสูง ซ่ึงเรียกช่ือวา นักเตนหมวกดํา และ อกี กลมุ หนึ่งเปนตัวละครทตี่ อ งสวมหนา กาก กลุมทสี่ วมหนา กากกม็ ีผูที่แสดงเปนพญายม ซึ่งสวมหนากากเปน รูปหัววัวมีเขา ผูแสดงเปนวิญญาณของปศาจก็สวมหนากากรูปกะโหลก เปนตน ตัวละครจะแตงกายดวยชุด ผา ไหมอยางดจี ากจีน การรายรําหรือการแสดงละครในงานพิธีอ่ืนๆ มักจะเปนการแสดงเร่ืองราวตามตํานานพุทธประวัติ เกียรติประวัติของผูนําศาสนาในทิเบต ตํานานวีรบุรุษ วีรสตรี ตลอดจนกระทั่งนักบุญผูศักด์ิสิทธ์ิ ทรงอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ในอดีตการแสดงดังกลา วเปน ท่นี ยิ มของชาวทิเบตในทั่วไป ตางถือวาหากใครไดชมก็พลอย ไดรบั กุศลผลบญุ ในพิธีหรอื มคี วามเปน สริ ิมงคลแกตนเอง ดวยเหตุนี้จึงกลาวไดวาเปนการชมดวยความเคารพ เล่ือมใส

70 นาฏศิลปเกาหลี วิวัฒนาการของนาฏศิลปเกาหลีก็ทํานองเดียวกับของชาติอื่นๆมักจะเริ่มและดัดแปลงใหเปนระบํา ปลุกใจในสงครามเพ่ือใหกําลังใจแกนักรบ หรือไมก็เปนพิธีทางพุทธศาสนา หรือมิฉะน้ันก็เปนการรองรํา ทําเพลงในหมูชนช้ันกรรมมาชีพ หรือแสดงกันเปนหมู นาฏศิลปในราชสํานักนั้นก็มีมาแตโบราณกาล เชนเดียวกัน นาฏศิลปเกาหลีสมบูรณตามแบบฉบับทางการละครที่สุดและเปนพิธีรีตรอง ไดแก ละครสวม หนากาก ลักษณะของนาฏศลิ ปเ กาหลี ลี ล า อั น ง ด ง า ม อ อ น ช อ ย ข อ ง น า ฏ ศิ ล ป เ ก า ห ลี อ ยู ที่ ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ร า ง ก า ย แ ล ะ เ อ ว เ ป น สํ า คั ญ ตามหลกั ทฤษฎี นาฏศิลปเกาหลมี ี 2 แบบ คือ 1. แบบแสดงออกซ่งึ ความรน่ื เรงิ โอบออมอารี และความออ นไหวของอารมณ 2. แบบพธิ กี าร ซ่ึงดดั แปลงมาจากวฒั นธรรมและประเพณีทางพทุ ธศาสนา จดุ เดนของนาฏศิลปเกาหลีมีลักษณะคลายนาฏศิลปสเปนผูแสดงเคล่ือนไหวทั้งสวนบนและสวนลาง ของรางกาย นาฏศลิ ปเ กาหลีท่ีควรรูจัก 1.ละครสวมหนากาก เนื้อเร่ืองมักคลายคลึงกัน ลีลาการแสดงน้ันนําเอานาฏศิลปแบบตางๆ มาปะติดปะตอกนั 2. ระบาํ แมม ด เปน นาฏศลิ ปอีกแบบหนึ่ง และการรองรําทาํ เพลงแบบลูกทุงนั้นกม็ ีชวี ิตชวี าอยางย่งิ 3. ระบําบวงสรวงในพิธีและระบําประกอบดนตรีที่ใชในพิธีราชสํานักซึ่งประกอบดวยบรรยากาศอัน งดงามตระการตานาชมมาก นาฏศิลปญ ี่ปุน ประวตั ิของละครญีป่ ุนเร่ิมตนประมาณศตวรรษท่ี 7 แบบแผนการแสดงตางๆ ที่ปรากฏอยูในครั้งยังมี เหลืออยู และปรากฏชัดเจนแสดงสมัยปจจุบันนี้ ไดแก ละครโนะ ละครคาบูกิ ปูงักกุ ละครหุนบุนระกุ ละคร ชมิ ปะ และละครทาคาราสุกะ การกาํ เนิดของละครญปี่ ุนกลาวกนั วา มกี าํ เนิดมาจากพ้ืนเมืองเปนปฐมกลาวคือ วิวัฒนาการมาจากการ แสดงระบําบูชาเทพเจาแหงภเู ขาไฟ และตอมาญ่ปี ุนไดร บั แบบแผนการแสดงมาจากประเทศจีน โดยไดรับผาน ประเทศเกาหลีชวงหนงึ่ นาฏศลิ ปญี่ปนุ ทีค่ วรรูจัก 1.ละครโนะ เปน ละครแบบโบราณ มกี ฎเกณฑแ ละระเบียบแบบแผนในการแสดงมากมาย ในปจ จุบันถือ เปนศิลปะชน้ั สูงประจําชาติของญีป่ นุ ทตี่ อ งอนรุ กั ษเ อาไว ในป พ.ศ. 2473 วงการละครโนะของญ่ีปุนไดมีการเคล่ือนไหวท่ีจะทําใหละครประเภทน้ีทันสมัยข้ึน โดยจุดประสงคเ พื่อประยกุ ตก ารเขยี นบทละครใหมๆที่มีเนื้อเรอ่ื งทท่ี ันสมยั ข้ึน และใชภาษาปจจุบัน รวมทั้งให ผูแสดงสวมเสื้อผาแบบทันสมัยนิยมดวย และยังมีส่ิงใหมๆ ท่ีนํามาเพ่ิมเติมดวยก็คือ ใหมีการรองอุปรากร

71 การเลน ดนตรรี าชสํานักงะงักกุ และการใชเ คร่อื งดนตรีประเภทเคร่ืองสาย ซ่ึงละครแบบประยุกตใหมน้ีเรียกวา “ชนิ ชากโุ น” บทละครโนะ ทางดานบทละครโนะน้ันมีช่ือเรียกวา “อูไท” (บทเพลงโนะ โดยแสดงในแบบของ การรอ ง) อไู ทน้ไี ดห ลีกตอ การใชคําพูดที่เพอเจอฟุมเฟอยอยางที่ดี แตจะแสดงออกดวยทํานองอันไพเราะที่ใช ประกอบกบั บทรองที่ไดก ลนั่ กรองจนสละสลวยแลว บทละครโนะทง้ั อดีตและปจจบุ นั มีอยูประมาณ 1,700 เรอื่ ง แตน ําออกแสดงอยา งจริงจัง 40 เร่ืองเทาน้ัน เน้อื เรื่องก็มีเรอ่ื งราวตางๆกัน โดยเปนนิยายเกีย่ วกับนกั รบ หรอื เร่ืองความเศราของผูหญิงซ่ึงเปนนางเอกในเร่ือง และตามแบบฉบับของการแสดง ลกั ษณะของละครโนะ 1) ยเู งน-โนะ ผูแสดงเปน ตวั เอก (ชเิ ตะ) ของละครยูเงน-โนะ จะแสดงบทของบุคคลผูท่ีละจากโลกนี้ไป แลวหรือแสดงบทตามความคิดฝน โดยเคาจะปรากฏตัวข้ึนในหมูบานชนบทหรือสถานที่เกิดเหตุการณนั้นๆ และมีการแสดงเด่ยี วเปน แบบเรื่องราวในอดีต 2) เงนไซ-โนะ ผแู สดงเปนตัวเอก (ชเิ ตะ) ของละคร เงนไซ-โนะ จะแสดงบทบาทของบุคคลที่มีตัวตน จรงิ ๆ ซง่ึ โครงเรอ่ื งของละครนัน้ ไมไ ดสรา งขึน้ มาในโลกของการคิดฝน เวทีละครโนะ เวทีแสดงละครโนะมีรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ยาวประมาณดานละ5.4เมตรมีเสามุมละตน พน้ื เวทแี ละหลงั คาทาํ ดว ยไมส นญ่ปี ุน ซึ่งวัสดุกอสรางที่เห็นสะดุดตาของเวที คือ ระเบียงทางเดินท่ียื่นจากเวที ทางขวามือตรงไปยงั ดา นหลงั ของเวที สว นฝาผนังทางดา นหลังเวทีละครโนะ เปนฉากเล่ือนดวยไมสนญ่ีปุนและ บนฉากก็จะเขยี นภาพตน สนอยา งสวยงามในแบบศิลปะอันมีชอื่ วา โรงเรยี นคาโนะ ตามประวตั กิ ลา ววา เวทลี ะครโนะ เกา แกท สี่ ดุ ทย่ี ังคงมีเหลอื อยู คอื เวทลี ะครโนะภาคเหนือ ซ่ึงสรางข้ึน ในป พ.ศ. 2124 ทบ่ี รเิ วณวัดนิชิออน งันจิ เมอื งเกียวโต และไดรบั การยกยอ งวา เปน สมบตั ทิ างวฒั นธรรมของชาติ เครื่องดนตรี เคร่ืองดนตรีท่ีใชประกอบในการแสดงละครโนะน้ัน ใชเพียงเครื่องดนตรีชนิดเคาะ ทีจ่ ะเปน บางชิ้นเทา นน้ั เชนกลองขนาดเลก็ (โคทสึซมึ ิ) กลองมอื ขนาดใหญ (โอสซึ ึม)ิ และกลองตี (ไตโกะ) และ เครอื่ งเปา มีชนิดเดียว คอื ขลยุ (ฟเู อะ) 2. ละครคาบูกิ เปนละครอกี แบบหนงึ่ ของญ่ปี ุน ที่ไดรบั ความนิยมมากกวาละครโนะ มีลักษณะเปนการ เช่ือมประสานความบันเทิงจากมหรสพของยุคเกาเขากับยุคปจจุบันคําวา “คาบูกิ” หมายถึง การผสมผสาน ระหวา งโอเปรา บลั เลต และละคร ซ่งึ มีทัง้ การรอง การราํ และการแสดงละคร ลกั ษณะพเิ ศษของละครคาบกู ิ 1) ฮานามิชิ แปลวา “ทางดอกไม” เปนสะพานไมกวางราว 4 ฟุตอยูทางซายของเวที ยื่นมาทางท่ีนั่งของ คนดไู ปจนถึงแถวหลงั สดุ เวลาตัวละครเดนิ เขา มาหรือออกไปทางสะพานนี้ 2) คู โร โง แปลวา นโิ กร จะแตงตวั ชดุ ดํา มีหนาท่คี อยชว ยเหลือผูแสดงในดา นตางๆ เชน การยกเกา อ้ีให ผูแสดง หรือทาํ หนา ที่เปน คนบอกบทใหผ แู สดงดว ย 3) โอ ยา มา หรือ โอนนะกะตะ ใชเรยี กตัวละครท่แี สดงบทผหู ญิง

72 4) “คิ” ใชเ รียกผูเคาะไม ไมท เ่ี คาะหนาประมาณ 3 นิ้ว ยาวราว 1 ฟุต 5) หนาโรง ละครคาบกู ิท่ีขึ้นช่ือจะตองแขวนปายบอกนามผูแสดง และตราประจําตระกูลของผูนั้นไว ดว ยหนาโรง 3. บูงกั กุ ลกั ษณะการแสดงเปนการแสดงที่มีลักษณะเปนการรายรําที่แตกตางจากการรายรําของญ่ีปุน แบบอ่ืน คือ 1) บูงักกุ จะเนนไปในทางรายรําลวนๆ มากกวาที่จะเนนเนื้อหาของบทละคร ซึ่งถือวามีความสําคัญ นอยกวาการรายรํา 2) ทา รําบูงักกุ จะเนน สวนสัดอันกลมกลืน ไมเฉพาะในการรําคู แมในการรําเด่ียวก็มีหลักเกณฑแบบ เดียวกัน สถานท่แี สดง ธรรมเนียมของบูงกั กทุ ีจ่ ะตอ งแสดงบนเวทกี ลางแจง ในสนามของคฤหาสนใหญๆ หรือ วิหารหรอื วัด ตัวเวทีทาสีขาวน้ันมีผาไหมยกดอกสีเขียว รูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัสดานละ 18 ฟุต ปูอยูตรงกลางเปนท่ี รายรํามีบันไดขัดมันสีดําทั้งดานหนาและดานหลังของเวที สําหรับเวทีตามแบบฉบับที่ถูกตอง จะตองมี กลองใหญ 2 ใบตั้งอยูดา นหลงั ของเวที แตละใบประดับลวดลาย มีสแี ดงเพลิง มเี สน ผา นศูนยกลางประมาณ 4 ฟุต บทละคร บทละครของบงู กั กุมีอยูป ระมาณ 60 เรื่องซ่ึงรับชวงตอมาตั้งแตสมัยโบราณ สามารถแบงได เปน 2 ประเภทใหญต ามวัตถุประสงค คือ 1) ตามแบบฉบับการรายรําของทองถ่ินท่ีเช่ือกันวาเปนตนกําเนิดของบทละคร ซ่ึงแบงออกเปน 2 ประเภท คอื - ประเภทที่เรยี กวา “ซาไม” หรอื การราํ ซาย ซึ่งรวมแบบรา ยราํ จากจนี อนิ เดยี - ประเภททเ่ี รยี กวา “อุไม” หรือแบบการราํ ขวา ซ่งึ รวมแบบการรายราํ แบบเกาหลีและแบบอ่นื ๆ 2) ตามวตั ถปุ ระสงคของการแสดงซ่งึ แบงประเภทรา ยราํ ออกเปน 4 ประเภท คอื - แบบบไุ ม หรอื การรายรําในพิธีตา งๆ การรายราํ “ซนุ เดกะ” ก็รวมอยูดว ย - แบบบูไม หรือการรายราํ นักรบ การราํ บท “ไบโร” รวมอยูใ นแบบนี้ดวย - แบบฮาชริ ไิ บ หรอื การรา ยราํ ว่ิง และรวมบทราํ ไซมากซุ า และรนั เรียวโอะไวดว ย - แบบโดบุ หรอื การรา ยรําสาํ หรับเด็กมกี ารรําซา ย “รันเรียวโอะ” รวมอยดู วย 4. ละครหุนบุนระกุ กําเนิดของละครหุนบุนระกุ นับยอนหลังไปถึงศตวรรษท่ี 16 แบบฉบับที่เปนอยู ในปจจุบันไดพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 18 การแสดงละครหุนบุนระกุมีเปนประจําท่ีโรงละครบุนระกุชา ในนครโอซากา และมีการแสดงในโตเกียวเปนคร้ังคราว ตัวหุนประณีตงดงามมีขนาดคร่ึงหนึ่งขององคจริง ผทู ี่ควบคุมใหหนุ เคลอ่ื นไหวในทาตางๆ นัน้ มถี งึ 3 คน การแสดงหุนมีการบรรยายและดนตรีซามิเซนประกอบ ทาํ ใหเ กดิ ภาพแสดงอารมณแ ละความรูสึกของมนุษย

73 5. ละครชมิ ปะ คือละครที่ทาํ หนา ที่เปน ประหนึ่งสะพานเช่อื มระหวางละครสมัยเกาและละครสมัยใหม ชมิ ปะนก้ี อ กาํ เนิดข้ึนในตอนปลายศตวรรษที่ 19 และมีลักษณะด้ังเดิมคลายคาบูกิ เชน แตเดิมใชตัวแสดงเปน ชายลวน แตปจจุบันมีแผนการแสดงตามธรรมชาติ โดยปกติแสดงถึงความเปนอยูของชาวบานคนธรรมดา และตวั แสดงมีทั้งชายและหญงิ 6. ละครทาคาราสุกะ เปนละครสมัยใหมแบบเฉลิมไทย แตมีระบํามากมายหลายชุดและรองเพลง สลบั เร่ืองชนิดนี้ เรยี กวา ทาคาราสุกะ ประชาชนนิยมดกู ันมาก เพราะมักเปนเรื่องตลก ตัวระบําแตละตัวมาจาก ผหู ญงิ นับพัน ละครทาคาราสุกะนอ้ี าจจะแสดงเปนเรื่องญป่ี นุ ลวน หรอื เปน เร่ืองฝรง่ั แตงตัวแบบตะวันตก คาํ ถามตรวจสอบความเขาใจ 1. ลกั ษณะพิเศษของนาฏศิลปและการละครในประเทศพมา คืออะไร 2. ละครเรของพมา ที่แสดงเรอ่ื งพทุ ธประวัตเิ รียกวาอะไร 3. ละครแบบพมาท่ีเรยี กวา “โยธยาสตั คยี” ไดรบั อิทธิพลมาจากประเทศใด 4. ใครเปน ผูกอ กําเนดิ สถาบันการศกึ ษานาฏศลิ ปแ ละดนตรีของประเทศลาว 5. ตามความเชอ่ื ของศาสนาพรามณนาฏศิลปชัน้ สงู ตองมาจากอะไร 6. “ละครใน” พระบรมหาราชวังของเขมร ไดถกู เปล่ยี นชื่อเปนอะไร 7. ละคร Lakhaon Khaol เกิดจากการสรา งสรรคงานละครขึ้นใหมโดยใคร 8. อธบิ ายความหมาย “การราํ ศริ ิพรชยั ” ของเขมรมาโดยสังเขป 9. ระบําของเขมรที่แสดงถงึ ความสนทิ ใจอันบริสทุ ธิ์ของหนุมสาวลกู ทงุ เรียกวาอะไร 10. ละครบังสวันของมาเลเซียเปนละครประเภทใด 11. มโนราหของมาเลเซยี เหมือนและแตกตางกับละครนอกของไทยอยา งไร 12. กีตารแ บบอาระเบยี นมีลกั ษณะและวธิ ีการเลน อยา งไร 13. เครื่องดนตรที ่ใี ชบรรเลงในการเตน ราํ โรดตั มีอะไรบาง 14. การแสดงทน่ี ยิ มแสดงกนั ในงานมงคลสมรสของชาวมาเลยคอื การแสดงอะไร 15. เพลง “คาตาวา ลาก”ี ของมาเลเซียมคี วามหมายในภาษาไทยวา อะไร 16. การสอนแบบยอกยาการตาของอนิ โดนเี ซยี คอื การสอนลกั ษณะใด 17. การใชผ าพันแบบยอกยาการต ากบั แบบซูราการตาแตกตางกนั อยางไร 18. นาฏศลิ ปแบบสดุ ทายที่ยากท่ีสุดของบาหลีคืออะไร 19. “วายัง” ของอนิ โดนีเซียเปน การแสดงลักษณะแบบใด 20. การแสดงหนังคนเปน “วายัง” ลกั ษณะใด 21. หลกั ฐานการเกดิ ฟอนรําของอนิ เดยี คอื อะไร 22. นาฏศลิ ปคลาสสกิ ของอนิ เดยี ทง้ั หมดมี 3 อยา งทเ่ี หมอื นกนั คอื อะไรบาง 23. อธบิ ายความหมายของ “ตณั ฑวะ” และ “ลาสยะ” ในอนิ เดีย

74 24. นาฏศิลป “คาธคั ” ของอินเดยี มีแหลงกาํ เนิดมาจากอะไร 25. จงั หวะการเตน ระบาํ หมนุ ตัวรวดเรว็ ดุจสายฟา แลบเรยี กวา อะไร 26. นาฏศิลปอ ินเดียในแบบละครท่ีสาํ คัญมากที่สุดคอื อะไร 27. ระบาํ ที่มุง แสดงความดีความชอบของผูปกครองฝายบุนและฝา ยบขู องขาราชการคือระบาํ อะไร 28. ศลิ ปวฒั นธรรมยคุ ศกั ดนิ าของจีนเจริญรุงเรืองอยางเต็มท่ีในสมยั ใด 29. วรรณคดปี ากเปลาของจนี เรยี กวา อะไร 30. งว้ิ ชั้นสงู ที่เปน แมบ ทของง้วิ อืน่ ๆคืออะไร 31. เพราะอะไรจงึ หามนาํ ปูทะเล ลูกหมา ลกู แมว ขึ้นไปบนเวทแี สดงง้ิว 32. พธิ ลี าซัมของทเิ บตมีลักษณะอยางไร 33. นาฏศิลปเกาหลีสมบรู ณตามแบบฉบบั ทางการละครและเปน พธิ ีรตี องทสี่ ดุ คอื อะไร 34. จุดเดน ของนาฏศลิ ปเกหลมี ีลักษณะคลา ยนาฏศลิ ปสเปนอยา งไร 35. ละครญ่ีปุนมกี ําเนดิ มาจากอะไร 36. ละครโนะ แบบประยุกตใ หมเรยี กวาอะไร 37. ประโยชนสาํ คญั ของ “ทางดอกไม” ในละครคาบูกคิ อื อะไร 38. ใครเปนผใู หกาํ เนดิ ละครคาบกู ิ 39. บทละครของบูงักกุแบบใดแตง ข้ึนใหเดก็ ราํ โดยเฉพาะ 40. ละครสมัยใหมแ บบเฉลมิ ไทย แตม ีระบาํ มากมายหลายชดุ และรองสลับเรือ่ งเรียกวา อะไร

75 เร่อื งท่ี 4 ละครทไ่ี ดร ับอทิ ธิพลของวัฒนธรรมตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ 5 วัฒนธรรมทางนาฏศิลปของตะวันตกไดกระจายแพรหลายเขามาในประเทศไทย ทําใหเ กดิ ละครแบบตางๆ ข้นึ เชน ละครดกึ ดําบรรพ ดังท่ีไดกลาวไปบางแลวในตอนตน แตละครดึกดําบรรพ ยังคงใชท า รําของไทยเปน หลกั และถอื ไดวาเปนนาฏศิลปของไทยอยางสมบูรณ สวนละครที่นําแบบอยางของ ตะวนั ตกมาแสดงคือละครทไี่ มใชท ารําเลย ใชแตกิริยาทาทางของคนธรรมดาสามัญท่ีปฏิบัติกันอยูในชีวิตจริง เทา นน้ั ไดแก 1. ละครรอง เปนละครที่ใชทาทางแบบสามัญธรรมดา ไมมีการรายรํา แสดงบนเวที และมีการเปลี่ยน ฉากตามทอ งเร่ือง ละครรอ งแบง เปน 2 ประเภท คอื 1) ละครรองลวนๆ การดําเนินเร่ืองใชเพลงรองตลอดเร่ือง ไมมีคําพูด ละครรองลวนๆ เชนบทละคร เร่อื งสาวิตรี พระราชนิพนธใ นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั เปน ตน 2) ละครรองสลับพูด การดําเนินเรื่องมีท้ังรองและพูด แตยึดถือการรองเปนสําคัญ การพูดเปนเพียง สอดแทรกและบทพูดทบทวนบทที่รองจบไปแลวเทานั้น ละครรองประเภทนี้ไดรับความนิยมและรูจักกัน แพรห ลาย ดังน้นั เมือ่ กลา วถงึ ละครรองมักจะหมายถงึ ละครรองสลับพูดกนั เปน สว นใหญ ละครรองสลับพูด เชน สาวเครอื ฟา ตกุ ตายอดรกั เปนตน 2.ละครพดู เปนละครท่ใี ชศ ลิ ปะในการพูดดําเนินเรอ่ื ง เปนละครแบบใหมทสี่ มเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชริ าวธุ สยามมงกฎุ ราชกมุ าร ทรงเปน ผูใหกาํ เนิด ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ละครพดู จะแบงได 2 ประเภท คือ 1) ละครพูดลวนๆ ดาํ เนินเรื่องดวยวธิ กี ารพูด ตัวละครแสดงทาทางตามธรรมชาติประกอบบทบาทไป ตามเน้อื เรือ่ ง เปนละครที่ไดรับความนยิ มจนทกุ วันน้ี เพราะแสดงไดงายแบบสามัญชน ตัวละครไมตองใชเวลา ฝกฝนเปนเวลานานๆเหมือนละครรํา ไมตองมีดนตรีหรือการรองเพลง แตมีฉากและเปลี่ยนฉากตามทองเรื่อง เรอ่ื งทีน่ ํามาแสดงอาจแตง ขึน้ หรือดัดแปลงมาจากตา งประเทศกไ็ ด 2) ละครพูดสลบั ลํา ลาํ หมายถึง ลํานําหรือเพลง ละครพูดสลับลําจะดําเนินเรื่องดวยการพูดและมีการ รอ งเพลงแทรกบาง เชน ใหตัวละครรองเพื่อแสดงอารมณของเร่ืองหรือตัวละคร ซ่ึงหากตองการตัดเพลงออก จะตองไมเสียเร่ือง และเมอ่ื ตดั ออกก็เปนเพียงละครพูดธรรมดา เรื่องที่ใชแสดง เชน เรื่องปลอยแก ของนายบัว ทองอิน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชนิพนธบทรองแทรก โดยใชพระนามแฝงวา “ศรอี ยุธยา”

76 เรอ่ื งที่ 5 ประเภทของละคร ละครสามารถแบงเปน 2 ประเภทใหญๆ คอื ละครสากล และละครไทย ละครสากล ละครสากลแบง ออกเปนประเภทไดด งั น้ี 1. ละครประเภทโศกนาฎกรรม (Tragedy) เปน วรรณกรรมการละครท่เี กา แกทส่ี ดุ และมคี ุณคา สูงสดุ ใน เชงิ ศลิ ปะและวรรณคดี ละครประเภทนถ้ี ือกําเนิดขนึ้ ในประเทศกรซี และพัฒนาไปสูค วามสมบูรณภายใตการนํา ของ เอสดิลุส (Aeschylus,525-456 B.C.) โซโปคลีส (Sophocles, 496-406 B.C.) และยูริพิดีส (Euripides,484- 406 B.C.)เปนละครท่ีพยายามตอบปญหาหรือตั้งคําถามท่ีสําคัญๆ เก่ียวกับชีวิตท่ีตองนํามาใหผูชมตองขบคิด เชน ชีวติ คืออะไร มนุษยคืออะไร อะไรผิด อะไรถูก อะไรจริง ภายใตจ กั รวาลทีเ่ ตม็ ไปดวยความเรนลับ ละคร ประเภทน้ถี อื กําเนดิ จากพธิ ีทางศาสนา จึงนับวาเปน ละครทีม่ คี วามใกลช ิดกบั ศาสนาอยมู าก แมในปจจุบันละคร แทรจิดี ท่ีมีความสมบูรณยังสามารถใหความรูสึกสูงสง และความบริสุทธิ์ทางจิตใจไดดวยการช้ีชวนแกม บงั คับให มองปญหาสาํ คัญ ๆ ของชวี ติ ทําใหไดต ระหนักถึงคุณ คาของความเปนมนุษย กลาเผชิญความจริง เก่ยี วกบั ตนเองและโลก และมองเหน็ ความสําคญั ของการดํารงชีวิตอยางมีคณุ คาสมกับทไ่ี ดเ กิดมาเปนมนษุ ย ลกั ษณะสําคญั ของละครประเภทโศกนาฎกรรม 1. ตองเปนเรอ่ื งทีแ่ สดงถงึ ความทกุ ขทรมานของมนษุ ย และจบลงดว ยความหายนะของตวั เอก 2. ตวั เอกของแทรจดิ จี ะตอ งมีความยิง่ ใหญเ หนือคนทั่วๆไป แตในขณะเดียวกันก็จะตองมีขอบกพรอง หรอื ขอ ผดิ พลาดท่เี ปนสาเหตุของความหายนะท่ีไดร บั 3. ฉากตา งๆทแ่ี สดงถงึ ความทรมานของมนุษยจะตองมีผลทําใหเกิดความสงสาร และความกลัวอันจะ นาํ ไปสคู วามเขา ใจชวี ติ 4. มีความเปน เลศิ ในเชิงศิลปะและวรรณคดี 5. ไดค วามรสู กึ อนั สูงกวา หรือความรสู ึกผองแผว จริงใจ และการชําระลา งจิตใจจนบรสิ ทุ ธ์ิ 2. ละครประเภทตลกขบขัน ตามหลักของทฤษฎีการละครที่เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปนั้นมักจะถือวา ละครประเภทตลกขบขนั แยกออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คอื 1) ละครตลกชนิดโปกฮา (Farce) ใหความตลกขบขันจากเร่ืองราวหรือเหตุการณที่เหลือเช่ือเปนการ แสดงทรี่ วดเรว็ และเอะอะตึงตงั 2) ละครตลกทมี่ ีลกั ษณะเปน วรรณกรรม (Comedy) บางเร่อื งเปนวรรณกรรมชั้นสูงท่ีนับเปนวรรณคดี อมตะของโลก เชน สขุ นาฎกรรม (Romantic Comedy) ของเชกสเปยร (Shakespeare) ละครตลกประเภทเสียดสี (Satiric Comedy) ของโมลิแยร (Moliire) และตลกประเภทความคิด (Comedy of Ideas) ของจอรจ เบอรนารด ชอว (George Bernard Shaw) เปนตน ละครคอมเมดีมีหลายประเภท ดงั น้ี

77 - สุขนาฏกรรม (Romantic Comedy) ละครคอมมาดีประเภทนี้ถือเปนวรรณกรรมชั้นสูง เชน สุข นาฎกรรมของวิลเลี่ยม เชกเสปยร เรื่อง เวนิชวานิช (The Merchants of Venice) ตามใจทาน (As You Like It) และทเวลฟร ไนท (Twlfth Night) เปนตน ละครประเภทนี้นิยมแสดงในเรื่องราวท่ีเต็มไปดวยจินตนาการและ ความคิดสรางสรรค แตก็เปนเรื่องราวที่นาเช่ือสมเหตุสมผล ตัวละครประกอบดวยพระเอกนางเอกท่ีมีความ สวยงามตามอุดมคติ พูดจาดวยภาษาที่ไพเราะเพราะพร้ิง และมักจะตองพบกับอุปสรรคเก่ียวกับความรักใน ตอนตน แตเร่อื งก็จบลงดว ยความสุข ซ่ึงมักจะเปนพิธีแตงงานหรือเฉลิมฉลองที่สดช่ืนร่ืนเริง บทบาทสําคัญที่ ดึงดูดความสนใจและเรียกเสียงหัวเราะจากคนดูในละครประเภทสุขนาฏกรรมนี้ มักไปตกอยูกับตัวละคร ทม่ี ลี กั ษณะเปนตัวตลกอยางแทจ ริงซงึ่ ไมใ ชตัวพระเอก หรอื นางเอก ตัวตลกเหลานี้รวมถึงตัวตลกอาชีพ (Clown) ที่มหี นาทท่ี าํ ใหคนหวั เราะดว ยคาํ พดู ทคี่ มคายเสยี ดสี หรอื การกระทําทต่ี ลกโปกฮา - ละครตลกชั้นสงู (Hight Comedy) หรอื ตลกผูดี (Comedy of Manners) เปน ละครทล่ี อเลยี นเสียดสีชีวิต ในสังคม เฉพาะอยางยิ่งในสังคมชั้นสูง ซึ่งมีกฎเกณฑขอบังคับมากมาย ความสนุกสนานขบขันของผูชม เกิดจากการทีไ่ ดเหน็ วธิ กี ารอนั แยบยลตางๆ ที่ตวั ละครในเรื่องนํามาใชเพ่ือหลกี เล่ียงกฎขอ บงั คับของสงั คม - ละครตลกประเภทเสียดสี (Satiric Comedy) ละครตลกประเภทน้ีมีลักษณะใกลเคียงกับตลกช้ันสูง แตเนน การเสียดสโี จมตีวิธีการท่ีรุนแรงกวา ในขณะท่ีละครตลกช้นั สงู มงุ ลอเลยี นพฤติกรรมของคนในวงสังคม ช้นั สงู ละครตลกเสียดสีจะมุงโจมตีขอบกพรองของมนุษยโดยท่ัวไป ไมจํากัดวาจะตองอยูในแวดวงสังคมใด ละครตลกประเภทน้ีมุงทจ่ี ะแกไขส่ิงบกพรองในตัวมนุษยและสงั คม ดวยการนําขอบกพรองดังกลาวมาเยาะเยย ถากถางใหเปนเรื่องขบขันและนาละอาย เพ่ือท่ีวาเม่ือไดดูละครประเภทนี้แลวผูชมจะไดมองเห็นขอบกพรอง ของตนเกดิ ความละอายใจ และพยายามปรบั ปรงุ แกไ ขตอไป - ละครตลกประกอบความคิด (Comedy Ideas) ละครตลกประเภทนี้ใชวิธีลอเลียนเสียดสี แตเนนการ นําเอาความคิดความเช่ือของมนุษยท่ีผิดพลาดบกพรองหรือลาสมัย มาเปนจุดที่ทําใหผูชมหัวเราะ โดยมีวัตถุประสงคท่ีจะทําใหผ ชู มกลบั ไปคิดแกไขขอบกพรองในความคิดความเช่ือของตนเองและของสังคม โดยสวนรวม จงึ เรยี กละครประเภทน้ีอกี อยา งหนงึ่ วา “ละครตลกระดับสมอง (Intellectual Comedy) ซง่ึ จัดอยูใน ระดบั วรรณกรรมเชนกัน นักเขยี นทีเ่ ปนผูนําในการประพนั ธล ะครตลกน้ี ไดแ ก จอรจ เบอรนารด ซอร (George Bernard Shaw) - ละครตลกประเภทสถานการณ (Situation Comedy) ละครตลกประเภทน้ีมักเกิดจากเรื่องราวที่สับสน อลเวงประเภทผดิ ฝาผดิ ตัว ซึ่งสวนใหญเปนเร่ืองบังเอิญแทบท้ังสิ้น ลักษณะของการแสดงก็มักจะออกทาออก ทางมากกวาตลกช้ันสงู - ละครตลกประเภทโครมคราม (Slapstick Comedy) ละครตลกประเภทน้ีมีลักษณะเอะอะตึงตัง มักมี การแสดงประเภทว่งิ ไลจ ับกัน และการตีก็มกั จะทาํ ใหเกดิ เสยี งอกึ ทกึ ครกึ โครมมากวา ทจี่ ะทําใหใหใ ครเจบ็ จรงิ ๆ ละครประเภทนมี้ ีความแตกตางจากคอเมดชี น้ั สูงมาก และมคี วามใกลเ คียงไปทางละครฟารส มากกวา

78 - ละครรกั กระจุมกระจิ๋ม (Sentimental Comdy) และละครตลกเคลาน้ําตา (Tearful Comedy) ละครตลก ประเภทน้ี จดั อยใู นประเภทละครเรงิ รมยท่ีเขยี นขึ้น เพ่อื ใหถ ูกใจตลาดเชน เดียวกับละครชวี ิตประเภทเมโลดรามา (Melodrama) และมลี ักษณะใกลเคยี งไปทางเมโลดรามามากกวาคอมเมดี เพราะผูเขียนใหความเห็นอกเหน็ ใจกับ ตวั เอกมาก ผิดกับลกั ษณะของการเขียนประเภทคอมมาดี ซงึ่ มกั จะลอ เลยี น หรือเสียดสโี ดยปราศจากความเหน็ ใจ และความตลกของตวั เอก และความตลกของตวั เอกมักจะนาเอ็นดู สวนใหญแ ลว ตลกมักจะมาจากตัวคนใชหรือ เพื่อนฝงู ของพระเอกนางเอกมากกวา 3. ละครอิงนิยาย (Romance) เปนเรื่องราวท่ีมนุษยใฝฝนจะไดพบมากกวาที่จะไดพบจริงๆ ในชีวิตประจําวัน ละครประเภทน้ีมีลักษณะท่ีหลีกไปจากชีวิตจริงไปสูชีวิตในอุดมคติ รูปแบบของละคร โรมานซน ยิ มการสรางสรรคอยา งมสี าระเตม็ ทโี ดยไมยึดถือกฎเกณฑใดๆ ผูเขียนบทละครสามารถวางโครงเรื่อง โดยนําเหตุการณมาตอกันเปนตอนๆ ในดานภาพและเสียงและมักเปนบทท่ีนําไปจัดแสดงดวยฉาก แสง สี และเครือ่ งแตงกายท่ีงดงามตระการตา สวนในดานการแสดง ละครโรมานซนิยมใชการเคล่ือนไหวท่ีนุมนวล คลองแคลว งดงาม และไมพยายามลอกเลยี นการกระทําท่ีใกลเ คยี งกับชีวติ จริงจนเกินไป อาจใชลลี าทสี่ รา งสรรค ขึน้ ใหมีความงดงามมากกวาชวี ติ จริงและเปนสัญลกั ษณของส่งิ ทต่ี อ งการจะสือ่ ตอผชู ม 4. ละครประเภทเริงรมย (Melodrama) หมายถงึ ละครทีถ่ อื ความสําคญั ของโครงเร่ือง (Plot) หรือความ สนกุ สนานของการดําเนินเร่ืองเปนสําคัญ ตัวละครมีความสําคัญลองลงมา จึงใชตัวละครเปนเครื่องมือในการ เลาเรื่อง ที่สนุกสนาน และเพื่อใหเขาใจงาย ติดตามทองเร่ืองไดงาย จึงนิยมใชตัวละครประเภท “ตายตัว” (Typed Characters) เชนพระเอก นางเอก ผูร า ย เปน ตน 5. ละครสมยั ใหม (Modern drama) มแี นวทางดงั นี้ 1) ละครสมัยใหมแนว “เหมือนชีวิตหรือเปนธรรมชาติ” (Realism/Naturalism) หมายถึง ละคร สมัยใหมที่พยายามมองชีวิตดวยความเปนกลาง แลวสะทอนภาพออกมาในรูปของละครตามความเปนจริง โดยไมเสรมิ แตง หรือบิดเบอื น ตลอดจนใชว ธิ กี ารจดั เสนอท่ีทําใหล ะครมคี วามใกลเ คยี งกับชวี ติ มากทส่ี ดุ การเรม่ิ ตนละครยุคสมัยใหม ในราวปลายศตวรรษท่ี 19 บรรดาผูนําในดานละครสมัยใหมตางก็พากัน เรียกวา “ละครคือชีวิต” (Theatre is life itself) และการแสดงละครท่ีถูกตองคือการนําเอา “แผนภาพชีวิต” (Slice of Life) ท่ีเหมือนจริงทกุ ประการมาวางบนเวทีโดยไมมกี ารดดั แปลง 2) ละครสมัยใหมแนว “ตอตานชีวิตจริง” (Anti-realism) เกิดข้ึนเม่ือราวปลายคริสตศตวรรษที่ 19 มหี ลายแนวดงั น้ี - ละครแนวสัญลักษณ (Symbolism) เปนละครที่ใชสัญลักษณในการนําเสนอความเปนจริงแทนที่จะ หลอกภาพที่เหมือนมาแสดงแตอางเดียว แตจะอวดอางวา “ความจริง” ท่ีเสนอโดยใชสัญลักษณท่ีลึกซึ้งกวา ความจรงิ ทไี่ ดม าจากการลอกเลยี นแบบธรรมชาตโิ ดยใชท้งั การสัมผัส นอกจากจะคัดคานการลอกแบบชีวิตจริง มาใชในการประพันธแลว ยังคัดคานการสรางฉากท่ีเหมือนจริง ตลอดจนการเนนรายละเอียดและการใช ขอปลกี ยอ ยเกย่ี วกับกาลเวลาและสถานทใี่ นการเสนอละครมากเกินไป นิยมใชฉาก เคร่ืองแตงกายที่ดูเปนกลางๆ

79 ไมจําเพาะเจาะจงวาเปนยุคใด แตจะเนนการใชอารมณ บรรยากาศ และทําใหฉาก แสง สี เคร่ืองแตงกายเปน สัญลกั ษณ - ละครแนวโรแมนติก (Romantic) หรือโรแมนติซิสม (Romantism) สมัยใหม เปนละครที่สะทอนให เห็นจินตนาการ ความใฝฝ น และอุดมคติที่มีอยูในตัวมนุษย แทนท่ีจะใหเห็นแตอํานาจฝายตํ่าหรือตกเปนทาส ของสง่ิ แวดลอม - ละครแนวเอกสเพรสชนั่ นสิ ม (Expressionism) เปนละครที่เสาะแสวงหาความจริงสวนลึกของสมอง และจติ ใจมนุษย ซง่ึ อาจจะไมเ หมอื นกับความจรงิ ทีเ่ ห็นหรือจับตองได ฉากในละครบางครงั้ จงึ มลี กั ษณะบดู เบย้ี ว และมขี นาดแตกตา งไปจากความเปน จรงิ มาก คือ เปน ภาพทถ่ี กู บิดเบอื นไปตามความรสู กึ นึกคิดหรืออารมณของ ตัวละคร ละครประเภทนีไ้ มใชการแสดงแบบเหมอื นชีวติ หรือเปน ธรรมชาติ แตอ าจใหต วั ละครใสหนากากหรือ เคลือ่ นไหวแบบหุนยนต หรือแสดงการเคลือ่ นไหวแบบอน่ื ๆท่เี หน็ วาเหมาะสม - ละครแนวเอพิค (Epic) เปนละครท่ีมีอิสระในดานลีลาการแสดง บทเจรจา และเทคนิคของการจัด เสนอท่ีทําใหดูหางไกลจากแนวเหมือนชีวิต แตยังคงเสนอเร่ืองราวที่ติดตามได มีเหตุผลตามสมควรและมี ภาพสะทอนเกีย่ วกบั โลกและมนษุ ยเ สนอตอผชู ม แบรโทลท เบรซท นักเขียนชาวเยอรมันเปนคนสําคัญที่สุดที่ ทําใหละครแนวเอพิคไดรับความนิยมแพรห ลายทว่ั โลก - ละครแนวแอบเสิรด (Absurd) เปนละครที่มีแนวการนําเสนอแบบตลกขบขันดวยลีลาของจําอวด แบบเกาแก แตเนอ้ื หาสาระแสดงใหเ หน็ ความสบั สนวนุ วายของโลก ความวางเปลาไรจุดหมายของชีวิต การใช ภาษามกั แสดงใหเห็นความบกพรองและการเส่ือมคาของภาษา จนถึงขนาดที่วาภาษาในโลกปจจุบันน้ันใชส่ือ ความหมายแทบไมไ ดเ ลย การดลู ะครแนวแอบเสิรด จึงคลายกับการดูภาพเขียนประเภทแอบเสิรด จึงคลายกับ การดภู าพเขยี นประเภทแอบสแทรคท (Abstract) คอื ผูดจู ะตองตีความหมายทุกอยางดวยตนเอง นําเอาความคิด ความรูสึกและประสบการณของตนเขามามีสวนในการ “เขาถึง” ดังนั้นผูชมแตละคนจึงอาจแปลความหมาย ที่ไดรับจากการดูละครแอบเสิรดเร่ืองเดียวกันแตกตางกันไปขึ้นอยูกับจินตนาการ ภูมิหลัง และเจตคติของ แตละคน การจัดการแสดงละคร การจดั การแสดงละคร หมายถึง การนําบทละครหรือเร่ืองราวท่ีมีอยูมาจัดเสนอในรูปของการแสดง ณ สถานทีใ่ ดทหี่ นึง่ ซงึ่ อาจจะเปน โรงละครหรอื สถานท่ีทส่ี ามารถจดั แสดงใหผชู มชมได ผชู มละคร คือ ผรู ับรคู ุณคาของละครและมปี ฏิกิริยาตอบโตตอคณุ คา นัน้ ๆ โดยการนาํ ไปกลอมเกลานสิ ยั ใจคอ รสนิยม หรอื เจตคติของตนเองที่มตี อสง่ิ ตางๆในชีวติ ในขณะเดยี วกันผูชมคอื ผทู วี่ ิจารณการละคร ปฏิกริ ิยา ของผชู มทม่ี ตี อ ละครจงึ มีอทิ ธพิ ลตอ ผสู รา งสรรคล ะครเปนอยา งมาก

80 เรื่องที่ 6 ละครกับภูมปิ ญ ญาสากล สมาคมการละครเพื่อการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา (American Alliance for -Theatre and Education) ไดใหค ํานยิ ามของละครสรางสรรคไ วว า ละครสรางสรรค (Creative Drama) หมายถึง รูปแบบของละครชนิดหนึ่งที่เกิดจากการดนสด (Improvisation) การไมพ ยายามอวดผชู ม (Nonexhibitional) การใชกระบวนการเรียนรู (Process-centered) โดยมี ผูนําชวยช้ีนําใหผูรวมกิจกรรมไดใชจินตนาการเพ่ือเลนบทบาทสมมติและเพื่อสะทอนถึงประสบการณของ มนุษย ผนู าํ มหี นา ทช่ี วยเหลือและแนะนําใหผ ูรว มกจิ กรรมน้ันสํารวจขอมูล พัฒนาวิธีการแสดงออกเพื่อสื่อสาร ความคดิ และความรูสึกโดยการใชละครซึ่งเกิดจากการดนสดดวยทาทางและคําพูด เพ่ือท่ีจะคนหาความหมาย หรือสัจธรรมอันเกี่ยวกบั ประสบการณช วี ติ กจิ กรรมในละครสรางสรรคเปน กระบวนการ (Process) ที่มขี นั้ ตอนทาํ กิจกรรมโดยผูรวมกิจกรรมเปน ศูนยกลางนั้น มักจะเร่ิมตนจากส่ิงที่ผูเรียนมีความรูหรือ คุนเคยอยูแลว จากนั้นผูนําจึงจะจัดประสบการณ เช่ือมโยงจากส่ิงท่ีผูรวมกิจกรรมรูจักอยูแลวไปสูการเรียนใหมๆ ที่กวางขึ้นและลึกซ้ึงขึ้น และมุงหวังท่ีจะ พัฒนาการทาํ งานของสมองท้งั สองซกี ไปอยา งสมดลุ โดยภาพรวมละครสรางสรรคมักจะเร่ิมดวยการใชประสบการณจากประสาทสัมผัสท้ัง 5 (Sensory Recall) การใชความทรงจํา (Memory Recall) นําไปสูจินตนาการ (Imagination) และความคิดสรางสรรค (Creativity) ซ่ึงนําไปสูการสวมบทบาทสมมติ (Role Play) ภายใตสถานการณและกติกาที่ตกลงรวมกัน กอใหเ กดิ การแสดงในแบบดน สด ซ่งึ ตองใชจนิ ตนาการผนวกกบั การใชปฏิภาณ จนกระทั่งนําไปสูความเขาใจ ในสถานการณนั้นๆ มากขึน้ ในทสี่ ุดกระบวนการประเมินผลในตอนทายนัน้ กช็ วยใหผ ูร ว มกิจกรรมไดใชทักษะ การคิดวิเคราะหอยางมีวิจารณญาณและไมวาเปาหมายในการจัดกิจกรรมและละครสรางสรรคในแตละคร้ัง จะเปนอยา งไรก็ตาม สิง่ หนง่ึ ท่ผี ูนํากจิ กรรมควรจะตองทํากอนเร่ิมกิจกรรมในข้ันตอนแรกคือ การเตรียมความ พรอม (Warm-up) รางกายและสมาธิใหกับผูรวมกิจกรรม การเตรียมรางกายและจิตใจเปนข้ันตอนสําคัญมาก กอนท่ีจะเร่ิมกิจกรรมหลักอื่นๆ ผูนําไมควรมองขามความสําคัญของขั้นตอนน้ี ตัวอยางกิจกรรมการเตรียม ความพรอ ม เชน การเดิน การวิ่งเบาๆ การยดื เสนยืดสายแบบงายๆหรือเปนการเลนเกมสตางๆ เม่ือเตรียมความ พรอ มอบอนุ รา งกายเสร็จแลว จะตามดว ยกระบวนการตอไปนี้ คือ กิจกรรมจูงใจ (Motivation) กิจกรรมเตรียม ทกั ษะละคร (Predrama) และกิจกรรมละคร (Drama Playing) และการประเมินผล (Evaluation) ซงึ่ มรี ายละเอียด ดังนี้ 1.กจิ กรรมจูงใจ (Motivation) หมายถึงการใชคําถามหรือสื่อประเภทตางๆในการกระตุนความสนใจ ของผรู ว มกิจกรรมเพอื่ ใหผ รู วมกิจกรรมเกดิ ความตองการท่ีจะเรียนรหู รอื ทาํ ความเขา ใจกับประเด็นท่ีไดถูกหยิบ ยกข้ึนมา ขน้ั ตอนในในการสรา งแรงจูงใจนี้อาจจะเร่ิมตนดวยการถามคําถามทเี่ รา ปฏิกริ ยิ าตอบสนอง เพอ่ื ดงึ ใหผ ู รวมกิจกรรมมีสวนเริ่มตั้งแตแรกเริ่ม จากนั้นผูนํากิจกรรมอาจจะนําเสนอขอมูลท่ีจะจําเปนตอการแสดงใน ชวงทาย “ขอมูล” ที่วานี้ หมายถึง สื่อท่ีสะทอนใหเห็นถึงประเด็นที่จะนําไปสูการอภิปราย หรือการเรียนรู

81 ตามเปาหมายที่ไดวางไว สื่อที่วานี้มีหลายรูปแบบ เชน เกมส นิทาน บทกวี บทเพลง วีดีทัศน บทสัมภาษณ ขาวสาร บทความ เรือ่ งสน้ั ภาพจําลอง แผนผัง เปนตน ผนู าํ ตองพจิ ารณาตามความเหมาะสมเองวา จะใชขอมลู ใด เวลาเทา ไร และอยา งไร เพอื่ เปนการปูพน้ื ฐานและสรา งแรงจงู ใจในการแสวงหาคําตอบใหกับผูรวมกิจกรรมให มากทส่ี ุด กิจกรรมจงู ใจ แบง ออกเปน 3 ประเภท คอื 1) การเคล่ือนไหว (Movement and Game) ไดแกทาใบ (Pantomime) การเคลื่อนไหวสรางสรรค (Creative Movement) การเลนเกมส (Game) การทําทาทางการเคล่ือนไหวประกอบจังหวะดนตรี หรือเพลง (Movement with music and song) 2) การใชภ าษา (Language or Word Games) ไดแก การถามคําถามการเลานิทาน (Story Telling) ดวย เทคนิคตางๆ การรอ งเพลง (Song) การอานบทกลอน คําสภุ าษติ คาํ รอ งในการละเลน และการไขปริศนาคําทาย (Riddles) 3) การใชสือ่ ตางๆ เชน ใชหุน สิง่ พิมพ ภาพเขยี น ถา ยภาพ แผน พบั เปนตน 2. กิจกรรมเตรียมทักษะละคร (Per-drama) กอนที่จะไปถึงข้ันตอนการแสดงละครนั้นผูนํากิจกรรม ควรวางแผนไวว า จะใหผ รู ว มกจิ กรรมเตรียมตวั ในเรื่องใดบาง เชน เตรียมพรอมรางกาย การทําความเขาใจกับ ละครที่จะแสดง การจดั เตรยี มพืน้ ทสี่ าํ หรบั แสดง การคดั เลือกผแู สดง ตลอดจนการฝกซอมบทบาทในบางตอน ตามความจําเปน การที่ผูนํากิจกรรมจะเตรียมความพรอมกับผูรวมกิจกรรมอยางไรบางน้ัน จําเปนตอง จนิ ตนาการไปลว งหนา ใหเห็นภาพของการแสดงละครในหอ งทาํ กิจกรรมนนั้ ภายในระยะเวลาและองคป ระกอบ ทางเทคนิคท่ีจาํ กดั เพอ่ื จะไดแ สดงละครทีใ่ ชด น สดไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพและบรรลเุ ปา หมายทป่ี ระสงค 3. กจิ กรรมละคร (Drama Playing) เมอ่ื มกี ารเตรียมความพรอมมาพอสมควรแลว ผูรวมกิจกรรมก็จะมี ความม่ันใจและความพรอมท่ีจะแสดง ผูนํากิจกรรมควรสรางบรรยากาศท่ีปลอดภัย อบอุนเปนกันเอง เพื่อที่จะใหทั้งผูแสดงและผูชมซึ่งเปนผูมารวมดวยกันน้ัน สามารถทุมเทสมาธิใหกับละครที่กําลังจะเกิดข้ึน ภายในหอ งทาํ กิจกรรม ในการแสดงละครสรางสรรคผ ูนาํ กิจกรรมควรมีความเขาใจที่ถูกตองวาการแสดงละคร สรางสรรคนัน้ ไมใชก ารแสดงละครเวที ดงั นั้น จึงไมจาํ เปน ตอ งกังวลเกี่ยวกับความสมบูรณแบบของการแสดง แตจําเปนตองเขาใจวาการแสดงแตละครั้งจะนําไปสูเปาหมายและวัตถุประสงคที่ต้ังไดอยางไร ตัวอยางเชน การนําเรื่องหนูนอยหมวกแดงมาเปนแรงจูงใจในการทําละคร ผูนํากิจกรรมอาจตองใหผูรวมกิจกรรมพัฒนา ทกั ษะการพดู ดนสด โดยกระทําภายใตโ ครงเรือ่ งท่งี ายและตวั ละครที่ไมซับซอน ในการแสดงละครจึงอาจใหผู รว มกจิ กรรมแสดงโดยตลอดทงั้ เร่ือง เพ่ือให เปนการฝก ฝนทกั ษะการดนสด แตถ าหากเรอื่ งหรอื นทิ านทนี่ าํ มาใช เปนแรงจูงใจท่ีมีความยาวมาก ก็อาจจะเปนอุปสรรคตอการแสดงภายในเวลาที่จํากัดได ดังนั้น ผูนํากิจกรรม อาจจะเลอื กแสดงเฉพาะบางตอนโดยเฉพาะตอนท่กี ระตนุ ใหเ กดิ การดนสดท่มี ีคณุ ภาพ กลาวคือ เปนการดน สดท่ี นาํ ไปสูป ระเดน็ การพูดคุย อภปิ รายในชวงตอ ไปได

82 จะเห็นไดวา ผูนาํ กิจกรรมจะตองรูจกั จินตนาการและเลือกเฟนวาจะใหผูรวมกิจกรรมแสดงละครเรื่อง อะไรตอนไหนเพื่อทจี่ ะนําไปสูก ารประเมินผลทีม่ คี ณุ ภาพ แตในการแสดงออกอยางไรนั้นผูนํากิจกรรมควรจะ ปลอยใหผูแสดงมีอิสรภาพในการแสดงโดยไมจําเปนตองเขาไปกํากับการแสดงมากจนเกินความจําเปน แตอาจจะทําหนา ทค่ี ลา ยกับกรรมการการแสดงละครมากกวา เพื่อทจ่ี ะดูวาผรู ว มกจิ กรรมไดใหความรวมมือใน การทํากิจกรรมน้นั ตามกตกิ าท่ตี กลงกนั ไวไดหรอื ไม ประโยชนของการสรา งสรรค ประโยชนข องละครสรางสรรคม ีมากมาย โดยจะกลา วแบบกวา งๆ ไดดงั น้ี 1. ละครสรางสรรคพ ัฒนาจนิ ตนาการและความคดิ สรางสรรค จนิ ตนาการเปน จดุ เร่มิ ตน ท่ีสําคญั กอนจะ ไปถึงขน้ั ตอนของการลงมอื ทํา จนิ ตนาการ คือ ความสามารถในการขา มพน ขอบเขตและสภาวะแหงปจจุบันคือ ความสามารถที่จะมองเห็นตวั เองในสถานการณใ หมๆ หรือมองเหน็ ตวั เองในชวี ิตของผอู ่นื ความคิดสรางสรรค หมายถึง ความคดิ หรือการกระทาํ ในส่งิ ทีใ่ หมโดยไมซ าํ้ แบบหรอื เลียนแบบใคร ในระยะแรกเร่ิมของการฝกใชจินตนาการนั้นผูรวมกิจกรรมควรจะเร่ิมตนจินตนาการในสิ่งท่ีตนเอง มปี ระสบการณมากอน โดยเฉพาะอยางยิ่งประสบการณจากการใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 จะชวยใหเกิดจินตภาพ ซง่ึ เปน บอเกิดแหงการขยายจินตนาการใหกวางไกลและลึกซ้ึงในลําดับตอๆไป การเลนบทบาทสมมติจึงเปน สวนหน่งึ ของการฝกพฒั นาจินตนาการและความคิดสรา งสรรค 2. ละครสรางสรรคพัฒนาทักษะการคิด การคิดเปน ทําเปน และการแกปญหาเปน เปนกระบวนการ ซึ่งเปนเครอื่ งมือสาํ คญั ในการเรยี นรูของผูรวมกจิ กรรมทุกคน ดังนน้ั การสอนกระบวนการคิดจงึ เปน ส่ิงจําเปนที่ ผูนํากิจกรรมทุกคนตองเขาใจ เนื่องจากกระบวนการของละครสรางสรรคน้ันตองอาศัยทักษะในการถาม อยางสรางสรรคจ ากผูนํากิจกรรม กระบวนการคิดมักจะเกิดขึ้นเม่ือผูรวมกิจกรรมถูกถามดวยคําถามท่ีชวนคิด ซ่ึงเปนคําถามท่ีทําใหเกิดการแสวงหาคําตอบ กระบวนการคิดในละครสรางสรรคเกิดขึ้นอยูแทบตลอดเวลา ความซับซอนหรือระดับของการคิดน้ันขึ้นอยูกับลักษณะของกิจกรรมและลักษณะของคําถาม ตัวอยางเชน หลงั จากท่ผี นู ํากจิ กรรมเลนนิทานใหผรู ว มกิจกรรมฟงเรียบรอ ยแลว ผนู ํากจิ กรรมอาจจะใหผรู วมกจิ กรรมลองคดิ หาวธิ ีการในการนํานิทานมาจัดแสดงเปน ละครภายในเวลาทีก่ ําหนด หลงั จากน้นั อาจมีคําถามท่ชี วนคดิ ทเ่ี กยี่ วกบั ละครที่แสดงจบไปแลว เพื่อใหผูรวมกิจกรรมรูจักการคิดในหลายลักษณะ เชน คิดคลอง คิดหลากหลาย คดิ ละเอยี ด คิดอยา งมเี หตผุ ล คิดถกู ทาง คดิ กวา ง คิดลกึ ซง้ึ คิดไกล เปน ตน 3. ละครสรา งสรรคพัฒนาทักษะของการส่ือสารกับผูอ่ืน กิจกรรมของละครสรางสรรคสวนใหญเปน กิจกรรมท่ีอาศัยทักษะของการเคล่ือนไหว การพูด การอาน โดยการกระทําเปนกลุม ทุกๆ ขั้นตอนในการ วางแผนของกลุม ทุกคน จะตองระดมความคิด ระดมสมอง และรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน มีการเสนอ ความคิดเห็น สรางขอตกลงรวมกันเพ่ือนําเสนอออกมาเปนช้ินงานที่จะสื่อสารกับทุกคน ในหองกิจกรรม และภายในกระบวนการแสดงละครสรางสรรค น้นั ผสู วมบทบาทสมมติก็ตองตั้งใจฟงตัวละครอื่น ๆ เพื่อท่ีจะ สามารถตอบโตดว ยการดนสดได

83 4. ละครสรางสรรคพัฒนาทักษะทางสังคม ทุกคร้ังที่ผูรวมกิจกรรมทํางานรวมเปนกลุม การเรียนรู เกยี่ วกบั สมาชิกในกลุม ยอ มเกิดขน้ึ โดยธรรมชาติ โดยเร่มิ เรียนรทู ่ีจะเปดใจใหกวา ง รบั ฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน และรจู กั ท่จี ะเปน ผูเ สยี สละหรอื เปน ผูใ หแกก ลมุ เพ่อื ผลของงานทีด่ ี กระบวนการกลมุ ทําใหสมาชิกในกลุมเขาใจ ความหมายของการพ่ึงพาซึ่งกันและกัน 5. ละครสรางสรรคพัฒนาการมองคุณคา เชิงบวกในตนเอง เน่อื งจากกระบวนการของละครสรางสรรค นัน้ ใหโอกาสผรู วมกิจกรรมทุกคนมีสวนรวม นับตั้งแตการแสดงความคิดเห็น การวางแผน การมีปฏิสัมพันธ และการไดแสดงออกอยา งเปนตวั ของตวั เองภายใตบ รรยากาศทีป่ ลอดภัยและเปนกนั เอง ผนวกกับปฏกิ ิรยิ าในแง บวกคําชืน่ ชม การใหกําลังใจซึ่งกันและกัน ทําใหผูรวมกิจกรรมเกิดความรูสึกที่ดีเก่ียวกับตัวเอง พัฒนาการท่ี เกี่ยวกับการมองเหน็ คุณคาของตนน้ันเปนพน้ื ฐานสาํ คัญของความม่นั คงในจิตใจและตอ บุคลิกภาพบคุ คลผูนนั้ 6. ละครสรางสรรคพัฒนาการรับรูและสรางความเขาใจถึงสภาพความเปนจริงในสังคม และชวยให ตระหนักถึงปญหาที่มีอยูในสังคม การไดลองสวมบทบาทเปนตัวละครตางๆรวมทั้งการไดชมตัวละครที่มี ตัวละครมาปรากฏอยูอยางมีชีวิตชีวานั้น ทําใหผูรวมกิจกรรมนั้นมีโอกาสเขาไปอยูในสถานการณเดียวกับ ตัวละคร บอยคร้ังท่ีผูเขารวมกิจกรรมจําเปนตองคํานึงถึงเหตุผลที่ตัวละครตัดสินใจกระทําส่ิงใดสิ่งหนึ่งหรือ เหตผุ ลที่ตวั ละครแสดงทาทางลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ทําใหผูรวมกิจกรรมรูและเขาใจในสภาพของตัวละคร ลึกซง้ึ ดวยตนเอง 7. ละครสรางสรรคพัฒนาทักษะในการใชรางกายและการใชภาษา เกมสและกิจกรรมของละคร สรา งสรรคนัน้ มักจะเปน แรงจงู ใจที่ดี ซ่งึ ชวยใหผ ูรว มกจิ กรรมเกิดความตอ งการท่จี ะแสดงออกดว ยรางกายและ ดวยการใชภ าษาที่ถกู ตอ งชัดเจนภายใตก ารเลน บทบาทสมมติที่สนกุ สนานและปลอดภัย เปนโอกาสท่ีดีที่ทําให ผูนาํ และผรู ว มกจิ กรรมไดม ีโอกาสเห็นความสามารถที่มีอยใู นตัวของผูรวมกจิ กรรมทุกคน 8. ละครสรา งสรรคพ ฒั นาทกั ษะการอาน กิจกรรมสวนใหญของละครสรางสรรคมักจะมีจุดเริ่มตนมา จาก นิทาน คํากลอน บทกวี เรื่องสั้น หรือสารคดี ฯลฯ เร่ืองราวที่ถูกจินตนาการแลวกลายมาเปนละคร สรา งสรรคน้นั มกั จะสรา งความประทบั ใจทดี่ ใี หกับผูร ว มกจิ กรรม เมอ่ื ผรู วมกจิ กรรมมปี ระสบการณเกย่ี วกับการ อานท่ีดี ประสบการณน้ันก็จะเปนการปลกู ฝงนิสยั รักการอา นไดอ ีกทางหนึง่ 9. ละครสรา งสรรคเปนจดุ เริมตน ไปสูความเขา ใจในศิลปะของการละคร ถึงแมว า ละครสรา งสรรคไมได มีจุดมงุ หมายท่จี ะฝกใหผรู วมกิจกรรมไปเปนนักแสดง อีกท้ังบรรยากาศในการจัดกิจกรรมละครสรางสรรคนั้น จะแตกตางจากบรรยากาศในการแสดงละครเวที ซ่ึงละครเวทีจะมุงเนนที่ภาพรวมของการเปนละคร แตละคร สรา งสรรคม งุ เนน ท่กี ระบวนการเรียนรขู องผรู ว มกิจกรรม แตก ารแสดงละครสรา งสรรคยังมีลักษณะบางสวนที่ เหมือนกบั ละครเวที คือละครสรางสรรคเสนอบรรยากาศของการสมมติที่อยูบนพ้ืนฐานของขอตกลงรวมกัน การแสดงละครสรางสรรคท่เี กดิ ขึ้น จงึ มลี ักษณะของ “โลกสมมต”ิ ท่ีใหความเช่ืออยางจริงใจกับผูชม ผูท่ีน่ังชม ละครสรา งสรรคก ็จะไดเ รียนรูบทบาทของการชมที่ดี บทบาทของการเปน นกั แสดงที่ดี และเรียนรถู ึงบทบาทท่ีดี ดว ย การเรยี นรูเหลานลี้ วนเปน พน้ื ฐานอนั สาํ คัญตอความเขาใจในศลิ ปะของละคร

84 10. ละครสรางสรรคพ ฒั นาจิตใจใหละเอียดออนและสรา งเสรมิ จริยธรรมในจิตใจ การท่ีผูรวมกิจกรรม ไดม โี อกาสใชก จิ กรรมตา งๆในละครสรา งสรรคเพอื่ ท่ีจะเขาใจถงึ ประสบการณจากประสาทสัมผัสท้ัง 5 การใช จนิ ตนาการทดแทนความรูสึกของตวั เองดวยความรสู ึกของผอู น่ื การทําสมาธเิ พือ่ การเคลอ่ื นไหวอนั ละเอยี ดออน เหลาน้ี ลว นแตเปน การสรางความละเอยี ดออ นใหกับจติ ใจไปทีละนอ ย และนาํ ไปสูวุฒภิ าวะทางอารมณและทาง ความคดิ ไดในที่สุด 11. ละครสรางสรรคเปนเทคนคิ การสอนในศาสตรอนื่ ๆ การเรียนรูจากละครสรางสรรคเปนการเรียนรู ผา นประสบการณ จงึ นบั วา เปนวิธีการเรียนรูที่ไดผลดี เพราะทําใหผูเรียนหรือผูรวมกิจกรรมมีสวนรวม โดยมี จินตนาการความรคู วามเขาใจ และความรูสึกของตนเปนศูนยกลาง วิธีการเรียนรูแบบน้ีจึงเปนวิธีการเรียนรูท่ี ยั่งยืน ซึ่งครูสามารถนําเอาวิธีการของละครสรางสรรคมาเปนเทคนิคในการเรียนการสอนโดยนําหนวย การเรยี นรทู เี่ กิดขึ้นไปขยายผลตอเนือ่ งเขา สูเนอ้ื หาวิชาอน่ื ๆไดอกี ดว ย คาํ ถามตรวจสอบความเขาใจ 1. ละครสรางสรรคห มายถึงอะไร 2. กจิ กรรมจูงใจหมายถึงอะไร 3. กิจกรรมจูงใจมกี ี่ประเภทอะไรบาง 4. กิจกรรมการเตรียมทกั ษะละครของผูน ํากจิ กรรมตอ งทําอยา งไร 5. กจิ กรรมละครมกี ารจดั การอยา งไรอธบิ ายมาพอเขา ใจ 6. จดุ หมายของการทาํ ละครสรางสรรคตา งจากการสรางละครเวทีอยางไร 7. จนิ ตนาการคืออะไร 8. ความคดิ สรางสรรคค อื อะไร 9. ละครสรางสรรคมปี ระโยชนใ นดา นใดบา งอธบิ ายมาพอเขาใจ

85 เรื่องท่ี 7 ประวตั คิ วามเปนมาและวิวฒั นาการของลลี าศสากล 1. ประวัตคิ วามเปนมาของลีลาศสากล การลีลาศมีพื้นฐานมาจากการเตนรําพ้ืนเมือง ซึ่งชนแตละชาติแตละเผา ใชในการพิธีกรรม ตา ง ๆ แตจากความเปน มาไมม ีหลกั ฐานบง บอกวา การลีลาศเกิดข้ึนเม่ือใด และจากการไมมีหลักฐานบงบอกวา การลลี าศเกดิ ขนึ้ เมือ่ ใด และจากการคนพบหลกั ฐานการผนังถํ้าไดพบวามนุษยมีการเตนรํามาเปนเวลา 5,000 ป มาแลว แตเปนการเตนรําเพ่ือเปนการประกอบกิจกรรมพิธีทางศาสนา หรือความเช่ือตาง ๆ จึงกลาวไดวา การลลี าศหรอื การเตนราํ นาจะเกิดขึ้นมาพรอมกับมนุษยนั่นเอง และไดมีวิวัฒนาการมาเร่ือย ๆ ตามวัฒนธรรม ประเพณี และความเปนอยูข องชนชาตติ าง ๆ เชน การเตนรําพื้นเมอื งของชาติตา ง ๆ ที่ไดมีการพัฒนารูปแบบให เปนทามาตรฐานมากขนึ้ จนเปนรปู แบบสากลนยิ ม หรือการลลี าศในปจจุบนั นั่นเอง 2. ประเภทของลลี าศ ลลี าศแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 2.1 การลีลาศทเ่ี ปน จังหวะมาตรฐานสากลนยิ ม แบงเปน 2 รูปแบบ คอื 1. การลีลาศแบบบอลรมู (Ballroom หรือ Standard) มี 5 จงั หวะไดแ ก 1) วอลซ (Waltz) 2) แทงโก (Tango) 3) สโลว ฟอกซท รอท (Slow Foxtrot) 4) เวยี นนีสวอลซ (Viennese Waltz) 5) ควกิ สเตป็ (Quick Step) 2. การลีลาศแบบละติน – อเมริกา (Latin-Amarican) เปนท่ีนิยมแพรหลายเน่ืองจากเปนจังหวะที่ สนุกสนาน คึกคัก และในบางจังหวะสามารถเตนได โดยไมมีพ้ืนท่ีกวางนัก การลีลาศ และลาติน-อเมริกา มจี งั หวะทเี่ ปนมาตรฐาน 5 จงั หวะคือ 1) ชา ชา ชา (Cha Cha Cha) 2) แซมบา (Samba) 3) ควิ บนิ รัมบา (Cuban Rumba) 4) พาโซโดเบล (Paso Doble) 5) จังหวะไจวฟ (Jive)

86 3. การลีลาศแบบไมเปนมาตรฐานหรือการลีสาศเพ่ือเขาสงั คม มกี ารพฒั นามาจากการเตนระบําพนื้ เมือง มอี ยู 5 รปู แบบคอื 1) แบบละตนิ -อมเริกา เปนแบบลลี าศเพ่ือการเขา สังคมและสนกุ สนาน มีจังหวะตางๆดังน้ี เชน จังหวะ แมมโบ (Merenque) อารเ จนตินา แทงโก (Argentina Tango) 2) แบบอเมรกิ นั สไตล เปนการเตน แบบบอลรมู และละตนิ เชน เดยี วกับ จังหวะมาตรฐาน แตมี วิธีหรอื เทคนิคในการเตนที่แตกตา งไปบางตามความนิยมของชาวอเมริกัน นอกจากนี้จังหวะที่ชาวอเมริกันใช เตนในงานตา งๆ เชน จงั หวะ ร็อกแอนดโรล (Rock & Roll) และจังหวะสวงิ (Swing) 3) แบบโอลดไ ทมแ ดนซ เปนลักษณะลีลาศ ทมี่ วี ิวัฒนาการมาจากการเตนราํ แบบโบราณท่ีนิยม ใชเตนตามงานเล้ียงสังสรรค โดยจะจับเปนคู แตเวลาเตนจะเตนพรอมกันทุกคู ไปเปนรูปแบบวงกลมโดย ใชจงั หวะหลายๆจังหวะในการเตน เชน สวิง วอลช (Swing Waltz) เปนตน

87 บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชีพ การออกแบบทางศิลปะสามารถนําไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพไดหลายสาขา ดังน้ี งานมัณฑนากร หรือนักออกแบบตกแตง (Interior-Decorator) นักออกแบบเคร่ืองเฟอรนิเจอร นักออกแบบ เครอื่ งเรอื น (Furniture Designer) และนักออกแบบเสื้อผาแฟชัน่ (Fashion-Designer) เปนตน ลกั ษณะเฉพาะของอาชีพดานการออกแบบแตล ะสาขา 1. งานมัณฑนากรหรือนักออกแบบตกแตง(Interior-Decorator) ทํางานเก่ียวกับการออกแบบและ ตกแตงภายในอาคารสาํ นกั งาน อาคารอยูอาศัย และบา นเรอื น ใหเ ปนไปตามความตองการของลูกคา 2. นักออกแบบเคร่ืองเฟอรนิเจอร(Furniture-Designer)ทําหนาท่ีออกแบบและสรางแบบเครื่อง เฟอรน เิ จอรหรือเครอ่ื งเรือนประเภทตา งๆเพ่ือนํามาผลิตเปนเชิงอุตสาหกรรม และเชิงพาณิชยกรรมโดยการใช วสั ดุท่แี ตกตางกนั นาํ มาผสมผสานกนั เพอ่ื ใหเกิดความสวยงามและประโยชนใ ชสอย 3. นักออกแบบเสือ้ ผาแฟชัน่ (Fashion-Designer) ทําหนาทสี่ รา งสรรคก ารออกแบบสิ่งทอเสอ้ื ผา รวมทั้ง การออกแบบเนื้อผา หรือลายผาสวยงามเหมาะกับแฟช่ันแตละยุคสมัยใหแกบุคคล และวิธีการตัดเย็บหรือ ผลิตเสื้อผาสาํ เร็จรปู ในทางอุตสาหกรรมและมีการพฒั นาเพือ่ ใหม ีการแขงขนั กับตลาดตา งประเทศได 1. งานมัณฑนากรหรือนกั อออกแบบตกแตง (Interior - Decorator) ลักษณะของงานทที่ ํา มัณฑนากรเปนผูออกแบบการตกแตงภายในสถานที่อยูอาศัยหรือสถานที่ทํางาน ตองทํางานตาม ขน้ั ตอน และกาํ หนดเวลาชิ้นผลงานตา งๆรว มกับผวู า จา งดงั นี้

88 1. บันทึกรายละเอียดความตองการของลูกคาเพ่ือออกแบบใหสรางสรรคท่ีสุดและเปนท่ีสะดุดตา ประทบั ใจและไดรสนยิ มตรงตามความตองการของลกู คา 2. ศึกษาโครงสรา งของงาน จัดดาํ เนินการออกแบบตกแตง คาํ นวณแบบ ประมาณราคา และเลือกวัสดุ ตกแตง ทีม่ คี ุณภาพเหมาะสม และใหป ระโยชนสูงสดุ กบั ลกู คา และใหต รงเปาหมายและประโยชนใชสอย 3. สงแบบที่วาดและเสนองบประมาณใหลกู คาพิจารณา 4. เม่อื ผา นการแกไขดดั แปลงแบบใหสมบรู ณแ ลว จงึ สงแบบใหกบั ชา งตางๆเชน ชางไม หรือชา งเชื่อม เหล็กใหท ํางานตามโครงสรา งทีอ่ อกแบบไว 5. ปฏิบตั ิงาน และประสานงานกบั ระบบและหนว ยงานท่เี กี่ยวของ 6. ใหคําปรกึ ษาแนะนําแกชางเพ่อื ใหการออกแบบเปน ไปตามเงอ่ื นไขสัญญา สภาพการจางงาน มณั ฑนากรท่ีรับราชการจะไดรบั เงินเดอื นตามวฒุ ิการศึกษาถาทํางานกับภาคเอกชนจะไดรับ เงินเดือน ข้นั ตน อยรู ะหวาง15,000 - 20,000 บาทข้นึ อยูกับฝมือและประสบการณในการฝกงาน ขณะท่ีกําลังศึกษาอยูและ ไดรับสวัสดิการตามที่กฎหมายแรงงานกําหนด และสิทธิประโยชนอ ่นื เชน โบนสั ขึน้ อยูกบั ผลประกอบการ สภาพการทาํ งาน การปฏบิ ตั งิ านการออกแบบ สวนมากตองทํางานท้ังในและนอกสํานักงาน เชน ในอาคาร ในสถานที่ กําลังตกแตง อาจตอ งใชค อมพิวเตอรแ ละโปรแกรมชว ยในการออกแบบ คุณสมบัตขิ องผปู ระกอบอาชพี ผปู ระกอบอาชพี มณั ฑนากรหรอื นกั ออกแบบตกแตง ตองมคี ุณสมบัตดิ ังน้ี 1. มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปตยกรรมศาสตร สาขาตกแตงภายใน หรือ มีประสบการณใ นดา นการออกแบบตกแตงสงู มากอน 2. มคี วามคดิ สรางสรรค ผลิตผลงานทไ่ี มเ หมือนใคร เปน คนมคี วามละเอยี ดรอบคอบ 3. มีความสามารถในการรูจกั ประยกุ ตใชว สั ดทุ มี่ ีในประเทศ เพื่อแสดงเอกลกั ษณและประโยชน ใชสอย สงู สุด 4. มที กั ษะในการใชโ ปรแกรมคอมพิวเตอรในการชวยวาดรูปหรอื ออกแบบหรือมคี วามสามารถในการ เขยี นภาพหรือออกแบบสงู 5. มรี ะเบยี บวนิ ัยเขาใจถงึ การบริการทางธุรกิจ 6. มมี นษุ ยสัมพันธท่ีดี ใหค วามรว มมือกบั ทีมงานดี และมคี วามสามารถในการประสานงาน 7. มวี สิ ัยทศั นก วา งไกลและปรับปรุงความรูค วามสามารถอยูต ลอดเวลา 8. รแู หลง ขอมลู หรอื แหลง ผลิตและจาํ หนายวัตถุดบิ เพอ่ื ซ้ือหาวัตถดุ ิบมาใชในผลงาน 9. ออกแบบตกแตงภายในอาคารบานเรือนใหถูกหลักและตรงตามความตองการของผูบริโภค และ เพอ่ื ความปลอดภัย ประหยดั เหมาะสมกับภาวะสงั คมและเศรษฐกิจในยุค

89 โอกาสในการมีงานทํา สภาพเศรษฐกจิ ในปจจุบนั ทาํ ใหอุตสาหกรรมวงการกอ สรางและอสงั หารมิ ทรพั ยไดรับผลกระทบมาก ในการจดั หาเงินมาดาํ เนินการลงทุนทางดา นกอสราง ทําใหมัณฑนากรสะดุดไประยะหนึ่งแตผูประกอบอาชีพ มัณฑนากรพยามเปลี่ยนวกิ ฤตใหเปนโอกาส คอื ใชความรูค วามสามารถ และประสบการณเปลี่ยนไปออกแบบ เฟอรน เิ จอร ของเลน อุปกรณการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ และผลิตภัณฑเครื่องใชตางๆเพ่ือเจาะตลาดลูกคา กลมุ เปา หมายเฉพาะ โอกาสความกาวหนาในอาชพี ในภาครัฐบาลผูที่ปฏิบัติในหนาท่ีนี้จะไดรับการเลื่อนตําแหนงและขั้นตามความสามารถถาพยายาม ปรบั พฒั นาฝม ือ และสรา งสรรคผ ลงานตําแหนงอาจเลอ่ื นถึงผูอํานวยการของหนวยงานที่ตนสังกัดอยูประกอบ อาชีพสวนตัวในการออกแบบทําสินคาพรีเมี่ยม (สินคาทั่วๆไป มีไวสําหรับแจกเพื่อสมนาคุณลูกคา ในวาระ ตางๆ เชนปใหม , ครบรอบวันกอต้ัง , ประชาสัมพันธสินคาใหมๆ และโอกาสอื่นๆ) สินคาที่ระลึก ผูท่ีจะ ประกอบอาชีพมัณฑนากรที่ตองการความกาวหนา ควรศึกษาตอจนมีวุฒิการศึกษาอยางนอยปริญาตรีใน สาขาศิลปกรรม มณั ฑณศลิ ป หรือสถาปต ยกรรม อาชพี ที่เก่ียวเนื่อง นกั ออกแบบเฟอรนิเจอร หรอื อุปกรณตางๆ นกั ออกแบบกราฟฟค ครู -อาจารย ในคณะสถาปตยกรรม ของสถาบนั การศกึ ษาตางๆ 2. นักออกแบบเครื่องเฟอรน เิ จอร (Furniture - Designer) เกาอี้ผลงานออกแบบของ Chishen Chiu นกั ออกแบบเฟอรน เิ จอรจ าก Flexiblelove ลักษณะของงานทที่ าํ ผปู ระกอบอาชพี นกั ออกแบบเครอ่ื งเฟอรนิเจอรจะปฏบิ ัตงิ านตามขัน้ ตอน ดังน้ี 1. ออกแบบผลิตภณั ฑ โดยอาจใชก ราฟฟค คอมพิวเตอรเขาชวยในการออกแบบ เพ่ือใหภ าพออกมามีมิติ และสมบรู ณแ บบเสนอผูว า จา งหรอื ลกู คา พิจารณา

90 2. สรางแบบจําลองและทดลองทําผลิตภัณฑตนแบบโดยผสมผสานวัสดุทองถ่ินท่ีแตกตางกันซ่ึง มคี วามแข็งแรงและทนทานโดยคํานึงถึงประโยชนใชสอยสูงสดุ และตรวจสอบการทดลองใช 3. เขียนเทคนิควธิ ีการประกอบแบบ ระบบพิกดั พรอ มท้ังขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติในโรงงาน 4. ประมาณการตนทุนคา ใชจา ย เพอื่ ใหม รี าคายอมเยาสาํ หรบั ผูใช สภาพการจา งงาน ผปู ระกอบอาชีพนักออกแบบเคร่ืองเฟอรนิเจอร ที่มีความสามารถจะไดรับคาตอบแทนเปน เงินเดือน ประมาณเดือนละ 6,000 - 10,000 บาทตามความสามารถและวุฒิทางการศึกษา มีสวัสดิการอยางนอยตาม กฎหมายแรงงาน สว นโบนัสและผลประโยชนอยา งอนื่ ขึน้ อยกู ับผลกาํ ไรของผปู ระกอบการ ผปู ระกอบอาชีพนักออกแบบเคร่อื งเฟอรน ิเจอรโดยปกติทํางานวันละ 8 ช่ัวโมง หรือสัปดาหละ 40 - 48 ช่ัวโมง อาจตองทํางานลวงเวลาวันเสาร วนั อาทิตย และวันหยุด เมื่อมีความจาํ เปนเรงดวน สภาพการทํางาน สถานที่ทาํ งานจะเหมือนสาํ นักงานออกแบบท่ัวไปที่มีบรรยากาศของการสรางสรรคงาน นักออกแบบ เครอ่ื งเฟอรน ิเจอรจะตอ งตดิ ตามดคู วามเรยี บรอ ยของงานตน แบบในโรงงานท่ีผลติ คณุ สมบตั ิของผูประกอบอาชพี ผทู ่ีประกอบอาชพี นักออกแบบเครือ่ งเฟอรน ิเจอรค วรมีคุณสมบัติดงั นี้ 1. มคี วามสามารถในการวาดภาพแสดงรปู รา ง (Perspective) หรือใชคอมพิวเตอรช วยในการออกแบบ 2. มีความรแู ละเขาใจในจติ วิทยาอุตสาหกรรม 3. สามารถเดินทางไปตา งจังหวดั หรือออกพื้นทีไ่ ด 4. มีความเขาใจในวัสดุท่นี ํามาผสมผสานประยุกตใชออกแบบไดเ ปน อยา งดี โดยใหเขา กบั ทองถน่ิ และ แสดงถึงเอกลกั ษณข องทอ งถิ่นนน้ั ไดอ ยา งดี 5. สนใจความเคลื่อนไหวของงานออกแบบตางๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรคเพ่ือสรางผลิตภัณฑ นวัตกรรมใหก ับวงการอตุ สาหกรรม 6. มีระเบียบวินยั และความรบั ผิดชอบสงู โอกาสในการมีงานทาํ สําหรับผูประกอบอาชีพนักออกแบบเครื่องเฟอรนิเจอรท่ีมีความสามารถในการริเริ่มสรางสรรคเม่ือ ทํางานในองคกรธุรกิจเอกชนอยูระยะหน่ึงจะออกมาประกอบอาชีพอิสระเปดกิจการธุรกิจของตนเอง เพ่ือออกแบบผลิตภณั ฑท ี่แปลกใหมใ หต รงกับกลุมเปา หมายที่วางไวซ่งึ จะทํารายไดดีเพราะผูวาจางจะเปนผูที่มี ฐานะ นักออกแบบเคร่ืองเฟอรนิเจอรจึงเปนอาชีพท่ีไมมีการตกงาน ถามีไฟในการทํางานควรเปดโลกทัศน ใหกวาง สนใจคนควาหาขอมูล เพิ่มเติมและสรางสัมพันธกับองคกรและลูกคาในเชิงธุรกิจ แนวโนม ในตลาดแรงงานอยใู นระดับปานกลาง สวนมากผูประกอบอาชีพนักออกแบบเครื่องเฟอรนิเจอรมักจะศึกษาตอในสาขาตกแตงภายในซ่ึงมี วชิ าการออกแบบเครือ่ งเรอื นทาํ ใหม ีโอกาสเลือกทํางานประเภทนีไ้ ดกวางขวางข้ึน