Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างวิชาผลิตภัณฑ์งานโลหะแผ่น

โครงสร้างวิชาผลิตภัณฑ์งานโลหะแผ่น

Published by aunyodwarit, 2018-10-28 04:15:06

Description: โครงสร้างวิชาผลิตภัณฑ์งานโลหะแผ่น

Search

Read the Text Version

วช-ร 03 การจัดทําโครงสรางรายวชิ ารายวชิ า ผลติ ภัณฑงานโลหะแผน รหสั วชิ า ………………. ระดับช้ัน มธั ยมศึกษาตอนตน กลุม สาระการเรียนรู การงานอาชพี และเทคโนโลยี จัดทาํ โดย นายยศวรศิ เพ่ิมบุญ ตาํ แหนง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 31 ตาํ บลชางเคิง่ อําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม สาํ นักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สํานกั งานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คําอธบิ ายรายวชิ า ผลิตภัณฑงานโลหะแผน รหสั วชิ า ...........จดุ ประสงครายวชิ า 1. เพอ่ื ใหปฏบิ ัติงานโลหะแผนดว ยความปลอดภัยตามหลกั อาชวี อนามัย 2. เพอ่ื ใหส ามารถใชเครื่องมือและอปุ กรณในงานโลหะแผน 3. เพ่ือใหมกี ิจนสิ ยั ในการทาํ งานดว ยความเปนระเบียบเรยี บรอย ประณีตรอบคอบและตระหนกั ถงึ ความปลอดภยัสมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเก่ียวกับงานโลหะแผน 2. เพื่อใหส ามารถปฏิบัติงานโลหะแผนคําอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาเกยี่ วกบั ความปลอดภยั ในงานโลหะแผน เคร่ืองจักรและเครื่องมือในงานโลหะแผน การเขียนแบบแผนคล่ีอยางงาย ดวยวิธีขนานและแบบรัศมี หลักการบัดกรี การเขียนแบบลงแผนงาน การทําตะเข็บ การบัดกรี การข้ึนรูปดวยการพับ ดัด เคาะ ข้ึนขอบและประกอบชิ้นงาน โดยใชอุปกรณความปลอดภัยสวนบุคคลถูกตองตามหลกั อาชวี อนามยั และความปลอดภัยรายวชิ า ผลติ ภัณฑงานโลหะแผน ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน จาํ นวน 40 ช่วั โมง ภาคเรียนที่ 2 ปการศกึ ษา 2561

โครงสรา งรายวชิ า รายวชิ า ผลิตภณั ฑงานโลหะแผน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน จาํ นวน 40 ช่วั โมง ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2561ท่ี ชือ่ หนวย รหสั มฐ.ตวั ช้วี ัด/ สาระสาํ คญั เวลา คะแนน ผลการเรยี นรู (ชม.) K P A1 ความรเู บ้ืองตนในงาน 1. อธบิ ายถึงหลักความปลอดภยั ในงาน งานโลหะแผนจึงไมมีโอกาสหมดไปจากชีวิตประจําวัน 2 3 1 1 โลหะแผน ไดโลหะแผน 2. จําแนกประเภทและชนิดของโลหะแผน ของมนุษยได เนื่องจากชิ้นงานที่ทําจากโลหะแผนน้ันมีความ ได แข็งแรง สามารถขึ้นรูป และตกแตงใหเกิดความสวยงาม ได และท่ีสําคัญมีอายุการใชงานไดนาน ถึงแมวาปจจุบันไดมี การนาํ เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาชวยในการออกแบบและผลิตโลหะ แผนก็ตาม แตงานโลหะแผนบางประเภทไมสามารถผลิตดวย เคร่ืองจักรได ดังนั้นงานโลหะแผนท่ีตองใชฝมือในการข้ึนรูป ยัง มีใหเห็นอยูตลอดเวลา จึงมีความสําคัญอยางมากที่ชาง อุตสาหกรรมตางๆ ตองศึกษาและปฏิบัติใหรู เพ่ือนําไป ประยุกตใชและเสริมสรางประสบการณในการทํางานของตนเอง ตอ ไป

2 การใชเ ครื่องมือโลหะ 1. แนะนําการใช คอน กรรไกร แทนข้นึ รปู งานโลหะแผน 2 53 2 และคมี โลหะแผน ไดแผนและการรักษาความ 2.แนะนําการรักษาความปลอดภยั โลหะ อปุ กรณทีใ่ ชใ นการตกแตง ผิว 7.1.1. เคร่ืองและอปุ กรณ ปลอดภัย แผนได งานตกแตงผิว 1. การตกแตง ผิวงานโลหะท้ังหมดสามารถ 3.เพือ่ ใหมกี จิ นิสยั ท่ีดีในการทํางานดวย แบง ออกเปน กลุมใหญ ๆ 3 กลุม คือ 1. การเพ่ิมวัสดุบน ความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ยประณีต ผวิ หนา ช้นิ งาน เชน การชุบไฟฟา เปนตน 2. การขดั วัสดุ รอบคอบ ซื่อสตั ย และปลอดภัย ออกจากผิวหนาชน้ิ งาน เชน การเจยี ระไน เปนตน 3. การ ทาใหผวิ หนา ช้ินงานมีความแขง็ แกรง ขนึ้ การอบชบุ การยงิ ผวิ ดว ยเม็ดทราย เปนตน เคร่ืองมือและอุปกรณในการ ตกแตงผวิ ชน้ิ งาน 1. อุปกรณในงานชุบเคลอื บผวิ ดว ยไฟฟา ทัง้ หมด 2. เครอ่ื งขดั ชนดิ ตางๆ 3. เครื่องยงิ ผวิ ดวยเมด็ ทราย 4. เตาอบใชส าหรบั อบช้นิ งาน 5. อุปกรณทเ่ี ก่ยี วกบั งานสี 6. ตะใบ 7.1.2 วธิ ีการบารุงรักษาเคร่ืองมอื 1. อุปกรณในงานชบุ เคลือบผวิ ดว ยไฟฟาท้งั หมด เมอ่ื ใช อุปกรณตางแลวควรจดั เก็บใหเปนระเบยี บเรยี บรอยและ ตอ งมีการทาความสะอาด บริเวณที่ปฏบิ ตั งิ านควรคานึงถึง อันตรายของการเก็บเพราะอุปกรณเ ลา เก่ยี วกับ กระแสไฟฟา 2. เครื่องขัดชนิดตางๆ เคร่ืองขัดเมือ่ ใชง าน เสรจ็ แลว ควรปดสวติ ยเพ่อื ไมใหเ กดิ อนั ตรายและควร จัดเกบ็ ใหเ ปน ระเบียบ 3. เครื่องยงิ ผิวดวยเม็ดทราย ควร รูจ กั วธิ กี ารรกั ษาเครื่องเมือ่ ทางานเสร็จแลว ควรทาความ สะอาด 4. เตาอบใชส าหรบั อบชิน้ งาน ควรรจู ักวิธกี ารปรบั อุณหภูมใิ หเ หมาะสมตามช้ินงานและปฏบิ ตั ติ ามขอ กาหนด ของเครอ่ื งท่ี กาหนดใหใชใ นการปฏบิ ตั งิ าน 5. อุปกรณท่ี เกยี่ วกบั งานสี อุปกรณเ ก่ยี วกับสนี ้ีตองจดั เก็บใหอ ยูหา ง อุณหภูมิที่มีความรอนเพื่อป องกนั การเกิดไฟไหม ไดและสี เมื่อเปด ฝาแลว ควรปดใหดีป องกนั การแหงของสี 6. ตะใบ เม่ือใชงานเสร็จแลว ควรทาความสะอาดดว ยแปรงลวดขัด เอาเศษโลหะท่ีเกาะติด

3 การเขียนแบบแผนค่ี 1. บอกวิธีการเขียนแบบแผนคล่ีดวยวิธี การเขียนแบบแผนคลี่โลหะแผน นับวาเปนหัวใจสําคัญ 6 54 14 พกิ ัดโลหะแผนและการ 4 10 3 2 ตา งๆได ของการทํางานเก่ียวกับงานโลหะแผน หลักในการเขียนแบบแผน เขียนแบบลงแผนงาน 2. เขียนแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมี , คลีง่ านโลหะแผน สามารถแบงออกได 4 ชนดิ ขนาน และสามเหลี่ยมได 1) การเขียนแบบแผนคล่ีอยางงาย (Simple layout 3. เลอื กการเขียนแบบเหมาะสมกับงานได method) 2) การเขียนแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนขนาน (Parallel Line Development) 3) การเขยี นแบบแผนคล่ีดวยวิธีเสนรัศมี (Radial Line Development) 4) การเขียนแบบแผนคล่ีดวยวิธีสามเหลียมมุมฉาก (Triangulation Development) 1. อธิบายสาระประจาํ หนว ยได ความรูเ บอื้ งตน ทีค่ วรศกึ ษาในพกิ ดั เหล็ก 2. อธบิ ายมาตรฐานความหนาและ อตุ สาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา ประกอบดวยผลติ ภณั ฑชนิดตา ง ๆ มากมาย ซึ่งสามารถ มาตรฐานความโตโลหะแผนได แบง เปน ประเภทใหญ ๆ ตามข้นั ตอนหรือกระบวนการผลติ ไดด งั น้ี 3. แนะนาํ การเขียนแบบลงผานงานได เหล็กขน้ั ตน (Raw Steel Product) ไดจากการนาํ สินแรเหลก็ มาถลงุ เหลก็ ที่ ไดจากการถลงุ เรียกวา เหลก็ ถลงุ (Pig Iron) และเหลก็ พรุน (Sponge Iron) ซึง่ ใชเ ปนวัตถุดิบพน้ื ฐานในการผลิตเหล็ก (Steel Making) เหล็กข้นั กลาง (Semi-Finished Steel Products) เปนการนําเหลก็ พรุน เหลก็ ถลงุ และเศษเหลก็ (Scrap) มาหลอม ผลติ ภัณฑเ หลก็ ขนั้ กลางทไี่ ด คอื เหล็กแทงกลม (Billet) เหลก็ แทง แบน (Slab) เหลก็ แทง เหล็กขัน้ ปลาย (Finish Steel Products) เปนการนําผลติ ภณั ฑขั้นกลางมาผา น กระบวนการแปรรูป ทําได 2 ขน้ั ตอน คือ การแปรรปู รดี รอ นและการแปรรูปรีดเยน็ เหลก็ แทง ยาว (Billet) เปนผลิตภัณฑทรงยาว เชน เหลก็ เสน, ลวดเหลก็ เปนตน เหล็กแทง แบน (Slab) เปนผลติ ภณั ฑทรงแบบ เชน เหลก็ แผนรดี รอ นและรีดเยน็ เหลก็ แทงใหญ (Bloom, Beam) เปนเหลก็ โครงสรา งรูปพรรณ เศษเหลก็ (Scrap) สว นใหญจะเปน ผลิตภณั ฑเหลก็ หลอข้ึนรูป

5 การพบั ขอบงานและตอ 1. อธิบายสาระประจําหนวยได 18 5 9 1ตะเข็บโลหะงาน 2. แนะนาํ การพับขอบงานโลหะแผนได ตะเขบ็ เกย (Lap Seam) เปนการตอชน้ิ งานโดยนําขอบงาน 3. แนะนําการตอตะเข็บเกยและตะเข็บเก่ียว ทั้งสองมาวางซอนกนั ซ่ึงรอยตอนี้จะตองมีกระบวนการอื่น ๆ เพ่ือ งานโลหะแผนได ยึดช้ินงานเขาดวยกันอีก เชน การย้ําหมุด การบัดกรี หรือเช่ือมจุด 4. แนะนําการเขาตะเข็บกนกระปองสวม ตะเข็บเกยน้ีอาจทําไดหลายแบบเพ่ือความสวยงามหรือเพื่อ นอกและสวมในได ประโยชนการใชงาน ไดแก ตอเกยปกติ ตอเกยผิวเรียบ ตอเกยมุม สว นการเผื่อขนาดเพอื่ ทาํ ตะเขบ็ เกย A=W A = ระยะเผือ่ ของการพับ ขอบตะเข็บแตละดาน W = ความกวางของตะเขบ็

6 การบดั กรอี อ น 1. อธบิ ายสาระประจาํ หนว ยได การบัดกรเี ปนกระบวนการท่รี ายการสองหรอื มากกวา 6 221 2. แนะนําการใชห ัวแรงเผาและหวั แรง โลหะมีรว มกันโดยการหลอมและการไหลของโลหะฟล เลอร ไฟฟา ได (ประสาน) ลงรว มโลหะฟล เลอรท ม่ี จี ุดหลอมละลายท่ีตาํ่ กวาชน้ิ งาน 3. แนะนาํ การใชตะกว่ั บัดกรีและนา้ํ ยา ที่ แตกตางจากการบดั กรีเชื่อมในการบัดกรที ี่ไมเกี่ยวขอ งกับการ ประสานบัดกรีได หลอมชนิ้ งานท่ี มีสามรูปแบบของการบัดกรีแตล ะตองอณุ หภมู ทิ ี่ 4. ปฏบิ ตั กิ ารเตรียมชิ้นงานและเทคนดิ การ สูงข้ึนและแตล ะความแรงของการผลติ ทแ่ี ขง็ แกรงรวมกันมากขน้ึ มี บดั กรอี อน ดงั น้ี : 1 การบัดกรีออ นซงึ่ แตเ ดิมท่ีใชโ ลหะผสมดบี กุ ตะกัว่ เปนโลหะบรรจุ, 2 เงนิ บดั กรีท่ีใชโลหะผสมทม่ี ีสเี งนิ , 3 ประสานทใ่ี ชโ ลหะผสมทองเหลืองสําหรบั การบรรจุ โลหะผสมของโลหะฟลเลอรสําหรบั ชนิดของการบดั กรีแตละจะ สามารถปรบั ไดในการปรบั เปล่ยี นอุณหภูมหิ ลอมเหลวของสารตัว เตมิ การบดั กรจี ะปรากฏเปน กระบวนการกาวรอน แตมันแตกตา ง จากการตดิ กาวอยางมีนยั สาํ คัญในการที่บรรจุโลหะผสมโลหะทมี่ ี ชนิ้ งานที่แยกในรปู แบบกา ซและของเหลวพันธบตั รแนน การบัดกรี ออนเปน ลักษณะโดยมจี ดุ หลอมละลายของโลหะฟลเลอรดานลา ง ประมาณ 400 ° C (752 ° F) ในขณะท่ีเงินบดั กรแี ละประสานการ ใชอ ุณหภมู ิท่สี ูงขึ้นซึง่ โดยปกติจะตองมีเปลวไฟหรอื ไฟฉายอาร คารบ อนเพอ่ื ใหบรรลกุ ารละลายของสารตวั เติมที่ สารตัวเติมโลหะ บัดกรอี อนมักจะมโี ลหะผสม (มกั จะมตี ะกว่ั ) ทม่ี ีอุณหภูมติ ํ่ากวา 350 liquidus องศาเซลเซียส

7 การใชและการบํารุงรกั ษา 1. อธิบายสาระประจาํ หนวยได การตดั โลหะแผน 2 221 เคร่ืองจักรงานโลหะแผน 2. แนะนําการใชเคร่ืองตัดตรงละเครื่องพับ การตัดโลหะแผนดวยการใช Punch และ Die แผน โลหะแผน ได 3. แนะนําการใชเครื่องมวนข้ึนรูปและทําสัน ช้ินงานจะถูกตัดดวยคมตัดสองอยางคือ จะถูกตัดดวยคมตัดของ โลหะแผน ได Punch ซ่ึงเปนขอบของคมตัดในและคมตัดของ Die ซึ่งเปนขอบ 4. ปฏบิ ตั กิ ารบํารงุ รักษาเครอื่ งจักรโลหะแผน ของคมตัดนอก ระหวางขอบของคมตัดดานในและคมตัดดานนอก ได จะมชี องวางเล็กๆเกิดข้ึนชองวางน้ีเรียกวา “Clearance” ในการตัด โลหะแผนแรงที่ใหแก Punch และ Die เพ่ือใชในการตัดโลหะ เรียกวา แรงเฉือน (Shear force) แรงน้ีจะมีขนาดเทากันและอยูตรง ขามกันโดยมีชองวางเล็กๆ อยูคั่นกลางแรงท้ังสองนี้ เมื่อมีแรงมา กระทําตอโลหะจะทําใหเกิดความเคนเฉือน (Shear Stress) ขึ้นบน ช้ินงาน แตในโลหะแผนจะมีแรงท่ีตอตานแรงเฉือน (Shear Strength) ถา แรงเฉอื นมีขนาดมากพอท่ีจะทําใหเกิดความเคนเฉือน มากกวา ความแข็งแรงของโลหะนัน้ กจ็ ะทําใหโ ลหะขาดออกจากกัน -สอบกลางภาค 20 สอบปลายภาค 20 รวมทง้ั สิ้น 40 72 24 9


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook