Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore DSC Standard HAI

DSC Standard HAI

Published by wiangnon.pongsai519, 2019-09-23 10:43:54

Description: DSC Standard HAI

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการรบั รองเฉพาะโรค ตอนที่ I การบรหิ ารจัดการทวั่ ไป I-1. การนํา 1.1 ทีมนาํ สหสาขาร่วมกนั กําหนดวสิ ัยทศั น์ พันธกจิ ค่านิยม ของการจัดบรกิ าร และถา่ ยทอดสกู่ ารปฏบิ ตั ิ. 1.2 ทมี นําสหสาขากําหนดเป้าหมายการพัฒนา สนับสนนุ การพฒั นา และติดตามความก้าวหน้าในการ พฒั นา. 1.3 มรี ะบบการสอ่ื สารท่ีมปี ระสิทธภิ าพระหว่างทีมนาํ สหสาขากบั ผู้นาํ องคก์ ร และระหวา่ งทมี นําสหสาขากบั สมาชกิ ในทมี ทใ่ี หบ้ ริการ เพอ่ื ใหเ้ กดิ คณุ ภาพ ความปลอดภยั และผลงานทด่ี .ี ทีมนําสหสาขาสรา้ งความ รว่ มมือกับผู้เกย่ี วข้องทง้ั ในโปรแกรม ในองคก์ ร และนอกองค์กร เพ่ือใหเ้ กิดการดูแลอย่างต่อเนือ่ งตลอด สาย. 1.4 มีการวเิ คราะหแ์ ละดาํ เนินการเพอ่ื ใหม้ น่ั ใจว่ามกี ารปฏิบัตติ ามกฎหมายท่เี กีย่ วข้อง, มกี ารปฏิบัตอิ ย่างมี จรยิ ธรรม, และมกี ารปอ้ งกนั ความเสีย่ งหรอื ผลกระทบด้านลบ. I-2. การวางแผนและการบรหิ ารแผน 2.1 ทีมนาํ สหสาขาร่วมกันวางแผนจดั บรกิ าร โดยพจิ ารณาความตอ้ งการด้านสขุ ภาพ, ส่งิ แวดลอ้ มท่ี เปลย่ี นแปลงไป, จุดแข็ง/ข้อได้เปรยี บ, จดุ อ่อน/ความท้าทาย, และโอกาสต่างๆ ที่มคี วามสาํ คัญตอ่ ความสําเรจ็ ของการจดั บรกิ าร. 2.2 มีกาํ หนดวตั ถปุ ระสงค์ที่สาํ คญั ของการจัดบรกิ าร และกรอบเวลาที่จะบรรลุวตั ถปุ ระสงค์เหล่านน้ั . 2.3 มกี ารจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการและถ่ายทอดแผนสู่การปฏบิ ัตเิ พือ่ บรรลุวตั ถปุ ระสงค.์ 2.4 มีการประสานกับผนู้ ําองค์กรเพื่อให้ม่นั ใจวา่ มีทรัพยากรเพียงพอสําหรับส่งิ ท่ีจาํ เป็นตอ้ งปฏิบตั ิ. 2.5 มกี ารจดั ทาํ แผนดา้ นทรพั ยากรบคุ คลเพ่ือใหส้ ามารถปฏบิ ัตไิ ดบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ (รวมถงึ การให้อํานาจ ตัดสินใจ การสง่ เสริมความร่วมมือและประสานงาน การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ การสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ระบบ บรหิ ารค่าตอบแทน). 2.6 มีการคาดการณ์ผลการดาํ เนนิ งานตามกรอบเวลาของการวางแผน เปรียบเทียบผลการดําเนนิ งานกบั องคก์ รทจ่ี ัดบริการในลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั และตอบสนองอยา่ งเหมาะสม. I-3. การมงุ่ เนน้ ผู้ป่วยและสทิ ธผิ ปู้ ว่ ย 3.1 มีการรับฟังความต้องการของประชากรกลุ่มเปา้ หมาย เพอื่ นาํ มาออกแบบบรกิ าร/จัดทาํ ขอ้ กําหนดของ บริการ. 3.2 มชี อ่ งทางให้ผรู้ บั บริการคน้ หาขอ้ มลู ขา่ วสารเก่ียวกบั บรกิ ารและความรใู้ นการดูแลตนเอง. 3.3 มีการรบั เสียงสะท้อนจากผรู้ บั บรกิ ารหลงั เข้ารบั บรกิ าร เพ่ือนํามาปรบั ปรงุ บรกิ ารอยา่ งต่อเนอื่ ง. 3.4 มีช่องทางสาํ หรับรับคาํ ร้องเรียนจากผู้รับบรกิ าร จดั การกบั คําร้องเรียนอย่างได้ผลและทนั ทว่ งที รวบรวม และวิเคราะหค์ ําร้องเรียนเพื่อนํามาปรับปรงุ ทง้ั ระบบ. สถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล 1 กรกฎาคม 2558 1/8

3.5 มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร และนาํ ข้อมลู มาปรับปรุงบริการ. 3.6 ผรู้ บั บรกิ ารไดร้ ับขอ้ มลู เกยี่ วกบั สทิ ธิและหน้าที่ ผปู้ ฏิบตั ิงานมีความตระหนกั และทราบบทบาทของตนใน การคมุ้ ครองสทิ ธิผูป้ ่วย มกี ารคํานงึ ถึงสทิ ธิผู้ปว่ ยและศักดศ์ิ รขี องความเปน็ มนษุ ย์ในทกุ กจิ กรรมการดูแล. I-4. การวดั วิเคราะห์ และจดั การความรู้ 4.1 มีการกาํ หนดตวั ชว้ี ัดสาํ คัญเพ่ือใช้ในการตดิ ตามการปฏิบัตงิ านประจาํ วันและการตดิ ตามผลงานโดยรวม ของบรกิ าร (ครอบคลุมทง้ั ตวั ชีว้ ัดเชิงกระบวนการและผลลพั ธ์). มีการเลือกตวั ช้ีวดั ท่ีเชอ่ื ถอื ได้ ตรง ประเดน็ สัมพนั ธ์กบั กล่มุ เปา้ หมาย อยู่บนฐานแนวปฏบิ ตั ิทางคลนิ ิก(CPG)หรือข้อมลู วชิ าการ. ตัวช้ีวัดแต่ ละตัวมีคําจาํ กัดความที่ชดั เจน, มีการเกบ็ ขอ้ มลู ในเวลาทเี่ หมาะสม ถกู ตอ้ ง สมบูรณ,์ มกี ารติดตาม ประเมนิ ความน่าเช่ือถือไดข้ องข้อมลู , ใชก้ ารสุ่มตัวอยา่ งตามหลักการวัดผล. 4.2 มกี ารนําข้อมูลตัวชวี้ ัดมาวเิ คราะห์เพอ่ื พิจารณาความแปรปรวนในการปฏิบัตติ าม CPG ประเมิน ความกา้ วหน้าและความสาํ เรจ็ ของการจัดบรกิ าร รวมถึงการวิเคราะห์เปรียบเทียบกบั ขอ้ มลู จากภายนอก ตามความเหมาะสม. 4.3 มกี ารนาํ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลมาสนบั สนุนการตัดสินใจของทมี นาํ สหสาขา จดั ลาํ ดับความสาํ คญั เพือ่ การพฒั นาคุณภาพ และการดแู ลผปู้ ว่ ย. 4.4 มขี ้อมูลและสารสนเทศ ทจ่ี าํ เปน็ สําหรับการดแู ลผปู้ ว่ ย พรอ้ มใชง้ าน. ฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟทแ์ วรม์ คี วาม เช่อื ถือได้ ใช้งานงา่ ย พรอ้ มใชง้ านต่อเนื่องในภาวะฉกุ เฉิน. ขอ้ มูลและสารสนเทศมคี วามแมน่ ยาํ เชอ่ื ถอื ได้ ทันการณ์ และปลอดภยั . ผเู้ กี่ยวขอ้ งสามารถเขา้ ถึงข้อมลู ไดง้ ่าย ในเวลาทีเ่ หมาะสม โดยไมล่ ะเลยกฎการ รักษาความลับและความปลอดภัย. 4.5 มกี ารจดั การความรู้เพอ่ื ใหม้ ่นั ใจว่ามีการแลกเปลยี่ นเรียนรเู้ พอ่ื สรุปเป็นสินทรัพย์ความรู้ (knowledge asset) ของทีม, ทมี งานสามารถเขา้ ถงึ ความรทู้ จี่ าํ เป็น (ท้ังเอกสาร/ขอ้ มูลอ้างองิ และความรูเ้ ชิงปฏิบัต)ิ , เอกสารและขอ้ มูลอา้ งอิงมีความเป็นปจั จบุ ันและอยู่บนฐานขอ้ มูลวิชาการ, มีการทบทวนเพือ่ ตรวจสอบ ช่องว่างระหว่างความรกู้ ับการปฏิบัติ, มีการออกแบบระบบเพือ่ ใหม้ นั่ ใจวา่ ความรดู้ ังกลา่ วจะได้รบั การ ปฏิบตั ิเป็นปกตปิ ระจาํ ในการดแู ลผ้ปู ่วย. I-5. การม่งุ เนน้ ทรพั ยากรบคุ คล 5.1 มีบคุ ลากรสาขาต่างๆ ทม่ี คี วามรู้ความสามารถ (พิจารณาจากการศึกษา ประสบการณ์ การฝกึ อบรม) และจาํ นวนที่เหมาะสม. 5.2 มโี ครงสร้าง ระบบงาน และวัฒนธรรมการทาํ งานที่เอื้อตอ่ การส่ือสาร การประสานงาน การปรึกษา การ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ การสรา้ งนวตกรรม และมีความคล่องตัว. 5.3 ระบบประเมินผลงาน การยกย่องชมเชย การสรา้ งแรงจูงใจสาํ หรับบคุ ลากร ส่งเสรมิ ให้บคุ ลากรพยายาม สร้างผลงานท่ดี .ี 5.4 มกี ารสง่ เสรมิ การพัฒนาและเรยี นร้สู ําหรับบุคลากรในทมี งานทส่ี อดคล้องกบั ภาระหนา้ ทข่ี องบคุ ลากรแต่ ละคน มกี ารประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของระบบการพฒั นาและเรียนรูเ้ พื่อนาํ มาปรับปรงุ . สถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล 1 กรกฎาคม 2558 2/8

5.5 มีสภาพแวดล้อมในการทํางานและบรรยากาศที่สนบั สนุนให้บุคลากรมีสขุ ภาพดีและมีความปลอดภยั . มี การวเิ คราะห์ความเส่ียงตอ่ สุขภาพทส่ี าํ คญั เนอื่ งจากการทํางาน ดําเนนิ การปอ้ งกันหรอื ให้ภูมิคุม้ กนั อยา่ ง เหมาะสม. บุคลากรทีเ่ จ็บปว่ ยหรอื บาดเจบ็ จากการทํางานไดร้ บั การดแู ลอย่างเหมาะสม ทันทว่ งที. I-6.1การจดั การกระบวนการ 6.1 มกี ารออกแบบระบบงาน โดยระบุบทบาทหน้าทแี่ ละสมรรถนะหลกั ของหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งท้งั หมด รวมถึงการใช้ทรัพยากรจากภายนอก. 6.2 มกี ารกาํ หนดกระบวนการทาํ งานท่สี ําคญั ครอบคลมุ ทกุ ขน้ั ตอนของการดูแลต้ังแต่แรกรับจนสนิ้ สดุ การ รักษา รวมถงึ การดแู ลต่อเนอ่ื งที่จําเป็น. 6.3 มีการจดั ทําขอ้ กาํ หนดท่ีสําคัญของกระบวนการข้างต้น. 6.4 มกี ารออกแบบกระบวนการและสร้างสรรคน์ วตกรรม เพอ่ื ตอบสนองตอ่ ข้อกาํ หนดของกระบวนการ โดย คาํ นงึ ถงึ ความปลอดภยั ของผู้ปว่ ย หลกั ฐานทางวิชาการ มาตรฐานวิชาชีพ กฎหมาย เทคโนโลยีใหมๆ่ ความรขู้ ององคก์ ร ผลลพั ธส์ ขุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพและการลดความสญู เปล่า การสง่ มอบ (hand-over) และการดูแลนอกเวลาทําการปกติ. 6.5 มกี ารจดั ทํานโยบายและแนวทางปฏิบัติ เพื่อใชส้ ่อื สารใหม้ ีการปฏิบตั ติ ามกระบวนการทีอ่ อกแบบไว้ โดย มีระบบควบคุมเอกสารทีด่ แี ละมกี ารปรบั ปรงุ ให้ทันสมัย. 6.6 มกี ารนํากระบวนการท่อี อกแบบไวใ้ นไปปฏบิ ัติ ทําให้ม่นั ใจว่าจะเป็นไปตามขอ้ กาํ หนดสําคญั ของ กระบวนการ. 6.7 มกี ารจัดการหว่ งโซอ่ ุปทานทไ่ี ดผ้ ล เพ่อื ให้ไดเ้ วชภัณฑแ์ ละวัสดุอปุ กรณท์ ี่จาํ เป็นในทุกจดุ บริการท่ีกาํ หนด ไว้. มกี ารประเมินคุณภาพและความปลอดภัยของบรกิ ารกระทาํ ผ่านพันธสญั ญา. 6.8 มกี ารใชต้ ัวช้ีวัดสาํ คัญเพื่อควบคุมและบง่ ชโ้ี อกาสปรับปรงุ กระบวนการทาํ งาน. 6.9 มีการเตรียมการรองรบั ภยั พิบตั แิ ละภาวะฉกุ เฉิน โดยพจิ ารณาการป้องกนั การบริหารจดั การ ความ ต่อเน่อื งของการให้บริการ การเคลื่อนย้าย และการฟื้นฟ.ู I-6.2 การพฒั นาคณุ ภาพและบรหิ ารความเสยี่ ง 6.2.1 มกี ารกาํ หนดนโยบายและเปา้ หมายด้านคุณภาพและความปลอดภัยท่ชี ัดเจน. 6.2.2 มกี ารบรู ณาการและประสานระบบบรหิ ารความเสีย่ ง ระบบบริหารความปลอดภัย และระบบบรหิ าร คณุ ภาพ ของบริการเข้าดว้ ยกัน และประสานกบั ระบบใหญข่ ององคก์ ร. 6.2.3 มีโครงสรา้ งคณุ ภาพที่เหมาะสม มีการกําหนดหน้าที่รับผิดชอบในการพฒั นาคณุ ภาพใหเ้ ป็นของทกุ คน ในทมี บรกิ าร. 6.2.4 มกี ารประเมนิ ผลดว้ ยเทคนคิ และวธิ ีการทหี่ ลากหลาย เทยี บกับขอ้ กาํ หนดและความต้องการตา่ งๆ รอบ ด้าน (ความต้องการของผู้ปว่ ย มาตรฐานวิชาชพี เปา้ หมายขององคก์ ร คเู่ ทียบจากภายนอก). สถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล 1 กรกฎาคม 2558 3/8

6.2.5 มีการวางระบบบริหารความเสี่ยงของการจดั บรกิ าร ครอบคลมุ การวเิ คราะหค์ วามเสยี่ ง การกาํ หนด แนวทางป้องกัน การรายงานอบุ ัติการณ์และเหตเุ กอื บพลาด การวิเคราะหส์ าเหตุเฉพาะราย การวิเคราะห์ ข้อมลู โดยรวม การปรบั ปรุงระบบงานเพื่อป้องกนั . 6.2.6 ระบบบรหิ ารความเส่ียงมีการเชื่อมโยงและประสานงานเพอ่ื ครอบคลมุ ความเส่ียงด้านการตดิ เชื้อใน โรงพยาบาล และการใชย้ า. 6.2.7มกี ารพฒั นาคุณภาพการดูแลผู้ปว่ ยอยา่ งต่อเนื่อง กาํ หนดเป้าหมายทที่ ้าทาย กําหนดพมิ พเ์ ขียวของการ พัฒนา ใช้วิธกี ารท่ีหลากหลายในการพัฒนา เชน่ evidence-based, RCA, visual management & creativity, Lean, benchmarking ฯลฯ เพอื่ นาํ ไปสู่การลดความแปรปรวน ลดความสูญเปล่า เพ่ิม ประสิทธิภาพ ป้องกันความผิดพลาดและเหตุการณไ์ ม่พึงประสงค์ และทาํ ให้ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยดีขนึ้ ใน ทกุ ๆ มิต.ิ สถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล 1 กรกฎาคม 2558 4/8

ตอนที่ II ระบบงานสนับสนนุ 1. สงิ่ แวดลอ้ มในการดูแลผปู้ ว่ ย 1.1. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพขององค์กรเอื้อตอ่ ความปลอดภัยของผ้ใู ช้อาคารสถานที่ทกุ คน. มีการ ตรวจสอบอาคารสถานที่ ประเมนิ ความเสยี่ งดา้ นสิ่งแวดล้อมและการรกั ษาความปลอดภยั อย่าง สม่าํ เสมอ ดาํ เนินการแก้ไขวางมาตรการป้องกันทเ่ี หมาะสมและนาํ ไปปฏบิ ัติ 1.2. มรี ะบบทส่ี ร้างความม่ันใจว่าผอู้ ยูใ่ นพ้ืนท่ีอาคารสถานที่จะปลอดภัยจากอัคคีภัย ไฟฟา้ แก๊ส วสั ดุ และของเสยี อนั ตราย หรอื ภาวะฉกุ เฉนิ อน่ื ๆ. 1.3. บุคลากรไดร้ ับความรแู้ ละการฝกึ อบรมเกี่ยวกับบทบาทในการสร้างส่งิ แวดล้อมทปี่ ลอดภัย. 1.4. มีแผนจัดการเครอ่ื งมอื แพทย์ เพื่อใหม้ ่นั ใจวา่ มีเคร่ืองมือแพทยท์ ี่จาํ เปน็ พรอ้ มใช้อย่างปลอดภยั และมรี ะบบสาธารณูปโภคท่ีจาํ เปน็ ตลอดเวลา. 2. ระบบเวชระเบียน 2.1. มกี ารจดั ทาํ เวชระเบยี นสาํ หรบั ผู้ป่วยทุกรายซง่ึ มขี อ้ มูลเพยี งพอสาํ หรบั การบ่งช้ีผปู้ ว่ ย สนบั สนุน การวนิ ิจฉยั พิจารณาความเหมาะสมของการดแู ล ตดิ ตามการเปล่ียนแปลงของผูปป้ ว่ ยและ ผลลพั ธ์ สนบั สนนุ การดูแลตอ่ เนอ่ื ง. 2.2. มีการทบทวนเวชระเบยี นเพ่ือประเมนิ ความสมบูรณถ์ กู ต้องของการบนั ทกึ และคณุ ภาพการดแู ละ ผปู้ ่วย. สถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล 1 กรกฎาคม 2558 5/8

ตอนที่ III กระบวนการดูแลผปู้ ่วย 1. การเขา้ ถึงและเขา้ รบั บรกิ าร 1.1. มคี วามชดั เจนวา่ ผู้ปว่ ยกลุ่มเปา้ หมายจะเขา้ ถึงบรกิ ารอย่างไร (เหมาะสมกับลกั ษณะการเจบ็ ปว่ ย เช่น ฉุกเฉนิ เฉยี บพลนั เรื้อรัง). มีการวิเคราะห์ปญั หาอุปสรรคในการเขา้ ถึงบรกิ าร (เชน่ การ เดนิ ทาง กายภาพ ชว่ งเวลา การส่อื สาร วฒั นธรรม) และแสดงถงึ ความพยายามทจี่ ะลดปัญหา อปุ สรรคดงั กลา่ ว. 1.2. มีแนวทางในการประเมินเบ้ืองต้นเพือ่ พจิ ารณารับไว้ดูแลอยา่ งเหมาะสมกบั ความเร่งด่วนทจี่ ะตอ้ ง ไดร้ ับบรกิ ารของผปู้ ว่ ย. 1.3. การเตรยี มผ้ปู ่วยก่อนรับไว้รักษาเป็นไปอย่างเหมาะสม ทง้ั การให้ข้อมูล การขอความยินยอม การ เตรียมตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการและตรวจพิเศษตา่ งๆ. 1.4. Patient placement เปน็ ไปอย่างเหมาะสมกบั สภาวะของผ้ปู ว่ ยและหตั ถการทจี่ ะเกดิ ขึ้น (ถา้ มี) 1.5. มคี วามร่วมมอื และประสานงานระหวา่ งหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งอย่างมปี ระสทิ ธิภาพกรณีทมี่ ีระบบ fast track และมกี าร monitor การบรรลุเปา้ หมายของของระบบอย่างต่อเนื่อง. 2. การประเมินผปู้ ่วย 2.1. มกี ารประเมนิ ผ้ปู ่วยอยา่ งรอบด้าน ครอบคลมุ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม. 2.2. มกี ารใชแ้ นวปฏิบัตทิ างคลนิ ิกบนพ้นื ฐานวชิ าการชี้นําการประเมินผปู้ ่วย. 2.3. มีบริการตรวจวนิ จิ ฉยั ทางห้องปฏิบัติการ บริการตรวจภาพรงั สี และบรกิ าร investigation อื่นๆ ทจ่ี ําเป็น พร้อมให้บริการในเวลาที่ตอ้ งการ มีระบบประกนั คณุ ภาพหรอื การประเมนิ ความ น่าเชอื่ ถือของผลการตรวจตามความเหมาะสม และมกี ารประสานงานกบั ทีมสหสาขาทด่ี .ี 2.4. ผู้ประกอบวิชาชพี ทีเ่ กยี่ วขอ้ งร่วมมอื และประสานงานกนั ในการประเมินผปู้ ่วย มกี ารใชผ้ ลการ ประเมินรว่ มกัน. 2.5. มีการระบุปญั หาและความตอ้ งการของผปู้ ่วย การวนิ จิ ฉยั โรค การจําแนกความรนุ แรงหรือ staging ของการเป็นโรค (ในกรณีทจ่ี ําเป็นสาํ หรับการวางแผนการรักษา) รวมทง้ั ความเสย่ี งทอี่ าจ เกิดขึน้ ระหว่างกระบวนการดูแล. 2.6. มกี ารบนั ทึกผลการประเมนิ ในเวชระเบยี นในเวลาท่ีกาํ หนด และพร้อมให้ผ้เู ก่ียวขอ้ งใชป้ ระโยชน์. 2.7. มีการอธบิ ายผลการประเมนิ ใหผ้ ู้ป่วยและครอบครวั เข้าใจอย่างเหมาะสม. 2.8. มีการประเมนิ คุณภาพของการวนิ ิจฉยั โรค (เชน่ ความถกู ต้อง ความครอบคลมุ ความทนั กาล และ ความเป็นเหตเุ ป็นผลในการวนิ ิจฉยั .) 3. การวางแผนดแู ลผู้ปว่ ย 3.1. มีการจัดทําแผนการดแู ลผปู้ ว่ ยซึ่งตอบสนองตอ่ ปัญหา/ความต้องการของผู้ปว่ ยอย่างครบถว้ น. 3.2. มีการใช้แนวปฏิบัติทางคลนิ กิ บนพ้ืนฐานวิชาการชนี้ ําการวางแผนการดแู ลผู้ปว่ ย. สถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล 1 กรกฎาคม 2558 6/8

3.3. การวางแผนดูแลผ้ปู ่วยเปน็ ไปอยา่ งเชื่อมโยงและประสานกนั ระหว่างวิชาชพี แผนก และหนว่ ย บริการต่างๆ. 3.4. ผ้ปู ่วย/ครอบครวั มีโอกาสมสี ว่ นรว่ มในการวางแผนหลงั จากได้รบั ข้อมลู ทเ่ี พียงพอ. 3.5. แผนการดูแลมคี วามชัดเจนเพยี งพอสําหรับการประสานงานและตดิ ตามประเมนิ ผล. 3.6. มีการประเมนิ ซา้ํ และปรบั แผนตามความเหมาะสม. 4. การดแู ลผปู้ ว่ ย 4.1. ผู้ปว่ ยได้รับการดูแลตามแผนโดยผู้มีคณุ สมบตั เิ หมาะสม คาํ นึงถงึ ความปลอดภัยและการบรรลุ เปา้ หมายตามแผน. 4.2. การดูแลรวมถงึ ความชว่ ยเหลอื ในการดูแลตนเอง การบาํ บัดอาการปวดและอาการอื่นๆ การใช้ยา อาหาร/โภชนาการ การฟืน้ ฟูสภาพ/บําบดั /ออกกําลัง การปอ้ งกันความเสย่ี งอนื่ ๆ การระงบั ความรสู้ ึกและการทาํ หตั ถการ (ถ้าม)ี . 4.3. มีการเฝ้าระวงั การเปลยี่ นแปลงอย่างเหมาะสม ตามแนวทางและเปา้ หมายการรักษา. 4.4. มีการตอบสนองอยา่ งเหมาะสมเมื่อผู้ป่วยท่ีมอี าการทรดุ ลงหรอื เปลีย่ นแปลงเข้าสู่ภาวะวิกฤต.ิ 4.5. มีการประสานงาน/ขอคาํ ปรึกษาสาํ หรับผปู้ ว่ ยทม่ี ปี ญั หาการเจบ็ ป่วยร่วมอยา่ งเหมาะสม. 4.6. มีการประเมินคณุ ภาพของการดูแลรกั ษา (เช่น ความเหมาะสม/การฏิบตั ติ ามแนวปฏิบัติ ประสิทธิผล ความปลอดภยั ความทันเวลาในการตอบสนอง ฯลฯ) 5. การใหค้ วามรู้ เสรมิ พลงั วางแผนจําหนา่ ย การดแู ลตอ่ เนื่อง 5.1. มกี ารประเมนิ ความจําเปน็ ในการได้รบั ความรใู้ นแต่ละชว่ งเวลาสําคญั ของการดแู ล 5.2. มกี ารใหค้ วามรแู้ กผ่ ู้ปว่ ยและครอบครัวในลกั ษณะทีเ่ ขา้ ใจง่าย มีสอื่ ประกอบตามความเหมาะสมมี การประเมนิ ความเขา้ ใจของผปู้ ่วยและครอบครวั . 5.3. มีการประเมนิ ความต้องการการดูแล(healthcare need) ทจี่ ะเกิดขึน้ หลงั จําหนา่ ย. 5.4. มีการประเมินความพรอ้ ม ความเต็มใจ และความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยและ ครอบครวั . 5.5. ผู้ปว่ ยและทมี ผู้ใหบ้ ริการร่วมกนั จัดทาํ self-management planตามความตอ้ งการการดแู ล (ครอบคลุม การดูแลตอ่ เน่อื ง ทกั ษะท่ีต้องทําด้วยตนเอง การปรบั เปลยี่ นวิถีชวี ติ การปรับเปลย่ี น สงิ่ แวดลอ้ ม ฯลฯ) 5.6. มีการฝกึ ฝนทักษะทจ่ี ําเป็นใหแ้ กผ่ ู้ป่วยและครอบครัว รวมทัง้ การประเมนิ ความสามารถในการ ปฏบิ ตั .ิ 5.7. ผ้ปู ว่ ยทจี่ าํ หนา่ ยออกจากสถานพยาบาล ได้รับการส่งตอ่ ติดตาม ประเมินความก้าวหน้าและปรบั แผนการดแู ลเป็นระยะอยา่ งเหมาะสม. มกี ารส่งต่อขอ้ มลู ใหแ้ กส่ ถานพยาบาลใกลบ้ า้ นหรือชุมชน เพ่ือเตรยี มความพร้อมสาํ หรบั การดูแลตอ่ เนอื่ ง. สถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล 1 กรกฎาคม 2558 7/8

ตอนที่ IV ผลลพั ธ์ 1. นาํ เสนอระดบั ปจั จุบนั และแนวโนม้ ของตัวชวี้ ัดสาํ คัญเกยี่ วกบั การดูแลผปู้ ว่ ย ท้ังในดา้ นผลลพั ธ์และ กระบวนการ. 2. นําเสนอระดับปัจจบุ นั และแนวโน้มของตัวชวี้ ัดสาํ คัญเกี่ยวกบั ความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร คณุ คา่ จาก มุมมองของผูร้ บั บรกิ าร. 3. นาํ เสนอระดบั ปจั จบุ นั และแนวโน้มของตัวชว้ี ดั สาํ คญั เกีย่ วกบั ความผกู พนั ความพงึ พอใจ ขีด ความสามารถและทักษะของบคุ ลากร. 4. นําเสนอระดบั ปัจจุบันและแนวโน้มของตวั ชว้ี ัดสาํ คญั เก่ียวกับผลการดําเนนิ งานของระบบสนับสนุนที่ เก่ียวข้อง. 5. นาํ เสนอระดับปจั จบุ นั และแนวโน้มของตวั ช้วี ดั สําคญั เก่ยี วกับการบรรลุผลตามแผน พฤติกรรมท่ีมี จรยิ ธรรม การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบ. สถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล 1 กรกฎาคม 2558 8/8


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook