Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพาะเห็ดนางฟ้า

การเพาะเห็ดนางฟ้า

Published by 921aoddi, 2020-01-29 02:30:37

Description: อาชีพ

Search

Read the Text Version

1 หลกั สตู รการเพาะเหด็ นางฟา้ จานวน 30 ช่วั โมง รปู แบบ กลุ่มสนใจ ความเปน็ มา การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เ พ ร า ะ จ ะ เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ ช า ก ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการ ว่ า ง ง า น แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ใ ห้ แ ก่ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ชุ ม ช น ซง่ึ กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดยุทธ์ศาสตร์ ๒๕๕๕ ไดก้ าหนดภารกิจ จะพัฒนายกระดับการจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มศักยภ าพและ ขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ท่ีมั่นคง โดยสานักงาน กศน. ได้กาหนดหลักการในการจัดทาแผนพัฒนา การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาไว้ว่า ต้องเป็นการดาเนินงานที่มีความ ยืดหยุ่นด้านหลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้การวัดและประเมินผล ใน ๕ กลุ่มอาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ รวมถึงกลุ่มจัดการและการบริการ โยเน้นการ บูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ โดยมุ่งพัฒนาคนไทย ให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทาอย่างมีคุณภาพ ทวั่ ถงึ และเทา่ เทยี มกนั สามารถสร้างรายไดท้ ม่ี ั่นคง ศู น ย์ ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย อาเภอบอ่ ไร่ ไดน้ านโยบายและยุทธศาสตร์ข้างต้นไปสู่การปฏิบัติ จึงได้ จัดโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชนขน้ึ เพอ่ื เป็นศนู ยก์ ลางในการฝึก พัฒนา สาธิต และสรา้ งอาชพี ของผเู้ รยี นและชุมชนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้

2 ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งเป็นท่ีจัดเก็บแสดง จาหน่าย และกระจายสินค้าและบริการของชุมชนอย่างเป็นระบบครบ วงจร และเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความ ม่นั คงใหแ้ กป่ ระชาชนจงึ ได้เกิดแนวคิดในการพัฒนาอาชีพการเพาะเห็ด นางฟ้า ซึ่งเป็นการคิดสร้างสรรค์อีกรูปแบบหน่ึง ที่ช่วยลดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ และเป็นการเพิ่มมูลค่าวัสดุท่ีเกิดข้ึนมาจาก ความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงมีลักษณะท่ีสวยงามและจาหน่ายได้ นับเป็น ชอ่ งทางหน่งึ ในการประกอบอาชพี ต่อไป หลักการของหลักสตู ร ๑. เป็นหลักสูตรท่ีเน้นการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการ มีงานทา ท่ีเน้นการบูรณาการเนื้อหาสาระภาคทฤษฎีควบคู่ไปกับการ ฝึกปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนา ความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพ ได้จริงอย่างมีคณุ ภาพและมคี ณุ ธรรมจริยธรรม ๒. เป็นหลักสูตรท่ีเน้นการดาเนินงานร่วมกับเครือข่าย สถานประกอบการ เพอ่ื ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ ๓. เป็นหลักสูตรที่ผู้เรียนสามารถนา ผลการเรียนรู้ ไปเทียบโอนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบ อาชีพได้ ๔. เป็นหลักสูตรที่เน้นการใช้ศักยภาพ ๕ ด้านในการ ประกอบอาชีพ ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากรภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และทาเลท่ตี ั้ง ศลิ ปวฒั นธรรมประเพณีและ วถิ ชี วี ติ และด้านทรัพยากร มนุษย์

3 จุดหมาย เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีคุณลักษณะดังนี้ ๑. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้าง รายได้ที่ม่นั คง ม่ังคง่ั ๒. ตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับศักยภาพ ของตนเอง ชุมชน สงั คม และสง่ิ แวดล้อมอยา่ งมคี ุณธรรมจริยธรรม ๓. มีเจตคติทีด่ ีในการประกอบอาชพี ๔. มีความรูค้ วามเขา้ ใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการ ในอาชีพได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๕. มีโครงการประกอบอาชีพเพื่อใช้เปน็ แนวทางในการ พฒั นาอาชีพของตนเอง กลุ่มเป้าหมาย มี ๒ กล่มุ เปา้ หมาย คอื ๑. ผูท้ ีไ่ ม่มีอาชพี ๒. ผู้ทีม่ ีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชพี ระยะเวลา จานวน 30 ชว่ั โมง ภาคทฤษฎี 1๖ ชัว่ โมง ภาคปฏบิ ตั ิ ๑4 ชว่ั โมง

4 โครงสร้างหลกั สูตร ๑. ช่องทางการประกอบอาชพี การเพาะเหด็ นางฟา้ จานวน 6 ชว่ั โมง ๑.๑ ความสาคัญในการประกอบอาชีพการเพาะเหด็ นางฟา้ ๑.๒ ความเปน็ ไปได้การประกอบอาชีพการเพาะเห็ด นางฟา้ ๑.๒.๑ การลงทนุ ๑.๒.๒ การจดั หาวสั ดุ อปุ กรณ์ ๑.๒.๓ ความตอ้ งการของตลาด ๑.๓ การตดั สนิ ใจในการเลอื กอาชพี ๑.๓.๑ ความพร้อม ๑.๓.๒ ความต้องการของตลาด ๑.๓.๓ ความรทู้ ักษะและเทคนิคต่าง ๆ ๑.๓.๔ เงินทุน ๒. ทักษะการประกอบอาชพี การเพาะเห็ดนางฟา้ จานวน 10 ชว่ั โมง ๒.๑ ข้ันตอนการประกอบอาชีพ ๒.๑.๑ ความรู้ทเี่ กี่ยวข้องในการประกอบอาชีพการ เพาะเห็ดนางฟ้า ๒.๑.๒ การคดั เลือกวัสดุ อปุ กรณ์ ๒.๒ ข้นั ตอนการเก็บผลผลติ ๒.๓ ขน้ั ตอนการออกแบบและบรรจุภณั ฑ์

5 ๓. การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพการเพาะเหด็ นางฟ้า จานวน 8 ช่ัวโมง ๓.๑ การบริหารการผลติ ๓.๑.๑ การจัดการควบคมุ คุณภาพการผลติ ๓.๑.๒ การลดตน้ ทนุ การผลติ ๓.๑.๓ การวางแผนการผลิต ๓.๒ การจัดการตลาด ๓.๒.๑ การทาฐานขอ้ มลู ลูกคา้ ๓.๒.๒ การประชาสัมพนั ธ์ ๓.๒.๓ การวางแผนการตลาด ๓.๓ การจัดการความเสยี่ ง ๓.๓.๑ การวเิ คราะหศ์ ักยภาพ ๑) คา่ ใชจ้ า่ ยในการเพาะเห็ดนางฟา้ ๒) ผลกาไรจากการเพาะเหด็ นางฟา้ ๓.๓.๒ การแก้ปญั หาความเสย่ี ง ๔. โครงการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า จานวน 6 ชั่วโมง ๔.๑ ความสาคญั ของโครงการอาชีพ ๔.๒ ประโยชน์ของโครงการอาชีพ ๔.๓ องค์ประกอบของโครงการอาชีพ ๔.๔ การเขียนโครงการอาชีพ ๔.๕ การประเมนิ ความเหมาะสมและสอดคลอ้ ง ของโครงการอาชีพ

6 การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ๑. จัดทา กจิ กรรมสารวจและวิเคราะหต์ นเอง ทรพั ยากร อาชีพ และความต้องการของตลาด เพือ่ ให้ผูเ้ รียนเหน็ ชอ่ งทางในการ ประกอบอาชีพ ๒. จดั กจิ กรรมวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้กระบวนคิดเป็น และความเป็นไปได้ รวมทั้งการศกึ ษาดูงานเพ่ือการตดั สินใจเลือก ประกอบอาชีพ ๓. ฝกึ ทกั ษะการประกอบอาชีพ - เรียนรู้จากวทิ ยากร - เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง จากสือ่ ต่าง ๆ แหลง่ เรียนรู้ ผู้รู้ - เรยี นรจู้ ากการลงมือปฏิบตั จิ ริง - เรียนรจู้ ากภูมิปัญญา ทฤษฎี และ ปฏิบัติ - เรยี นรู้จากกล่มุ เพอ่ื แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ๔. จัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ กยี่ วกับการบรหิ ารจดั การ ในการประกอบอาชีพ การจดั การผลิต และการจัดการตลาด ๕. จดั ทา โครงการประกอบอาชีพ การเขียนโครงการ เสนออนมุ ัตโิ ครงการ ๖. ดาเนินการใหผ้ ้เู รียนทาโครงการประกอบอาชีพ ไปสู่การปฏบิ ตั ิจรงิ ๗. การนิเทศ ติดตามประเมินโครงการของผู้เรียนและ ให้ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ พัฒนา

7 สอ่ื การเรยี นรู้ ๑. เอกสารประกอบการเรยี นรู้ เรอื่ งการเพาะเห็ดนางฟา้ ๒. ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ , สื่อบุคคล , วิทยากรผชู้ านาญ ดา้ นการเพาะเห็ดนางฟ้า ๓. อุปกรณ์ประกอบการฝึกทักษะอาชีพ การวัดและประเมนิ ผล เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล ๑. การประเมินความรูภ้ าคทฤษฎี ๒. การประเมินตามสภาพจริงจากช้ินงาน ๒.๑ ความสวยงาม ๒.๒ ความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ ๒.๓ ความรบั ผิดชอบและระยะเวลาการเขา้ เรยี น ๓. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๓.๑ แบบประเมินผลระหว่างเรียน-หลงั เรียน ๓.๒ แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๓.๓ แบบประเมินผลชิ้นงาน การจบหลักสูตร ๑. มเี วลาเรยี นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. มีผลการประเมนิ ตลอดหลักสูตร ไมน่ ้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ๓. ได้ชนิ้ งานที่มคี ุณภาพเพียงพอทจี่ ะสามารถนาไป จดั จาหน่ายได้

8 เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา ๑. วุฒบิ ัตรออกโดยสถานศกึ ษา ๒. ทะเบยี นคุม ๓. หลกั ฐานการประเมนิ ผล การเทียบโอน ผ้เู รยี นที่จบหลกั สตู รนีส้ ามารถนาไปเทียบโอนผลการ เรียนรู้กบั หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ในสาระการประกอบอาชพี วิชาเลือกทสี่ ถานศกึ ษา ได้จดั ทาขน้ึ

9