วชิราวธุ วทิ ยาลยั น่คี อื ประวตั ิของโรงเรยี นวชิราวธุ วิทยาลยั
วชริ าวุธวิทยาลัย เปน็ โรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขนึ้ โดย พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อย่หู วั ในรชั สมัยของรชั กาลท6่ี น้ันเดมิ ชื่อโรงเรยี นชือ่ โรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง
แตร่ ัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั พระองคไ์ ด้มีพระบรม ราชโองการใหร้ วมโรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวทิ ยาลยั เขา้ ด้วยกัน โดยใหน้ ักเรยี นย้ายมาเรียนรวมกันท่โี รงเรยี นมหาดเลก็ หลวงกรุงเทพ พรอ้ มท้ังได้ พระราชทานนามโรงเรียนข้ึนใหมว่ า่ “วชริ าวุธวิทยาลัย” เพอ่ื เป็นพระบรมราชานุสรณข์ อง พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั และจึงช่อื ว่าโรงเรยี นวชริ าวุธวทิ ยาลัย
วชริ าวธุ วทิ ยาลัยมีตึกทพี่ กั นกั เรยี น เรยี กว่า \"คณะ\" เปน็ เสมือนบ้านของนกั เรียน แบ่ง ออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรบั นักเรียนชนั้ มัธยม แบง่ ออกเป็น ๖ คณะ คอื คณะผู้บังคับการ คณะดุสติ คณะจติ รดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักด์ิศรีมงคล สว่ นคณะเดก็ เลก็ สำหรับนักเรียนชนั้ ประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คอื คณะสนามจนั ทร์ คณะนนั ทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากน้ี ทางโรงเรยี นยงั ส่งเสริมใหน้ กั เรยี นได้ เลน่ กฬี าต่าง ๆ เชน่ รกั บี้ฟุตบอล แบดมินตนั นอกจากน้ี ยงั มีการจัดการแข่งขนั รักบี้ ประเพณกี ับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kansar) จาก ประเทศมาเลเซยี เป็นประจำทกุ ๆ ปีปัจจบุ นั ดำเนนิ การสอนในระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ถึงมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ตั้งอยทู่ ี่ ถนนราชวิถี แขวงดสุ ิต เขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร
กฬี า วชริ าวุธวทิ ยาลยั สง่ เสริมใหน้ ักเรียนไดเ้ ล่นกีฬา รวมทั้ง มีการจดั การแข่งขนั กฬี าภายในทกุ ปี โดยมีการแบง่ ประเภทกีฬาออกเปน็ ภาคการศึกษา ดังนี้ ภาค วสิ าขะ : รักบ้ีฟุตบอล สควอช ไฟฟ์ ภาค ปวารณา : บาสเกตบอล ฟตุ บอล ว่ายน้ำ ภาคมาฆะ : เทนนิส กรฑี า แบดมินตนั ระเบียบแถว
( ระเบยี บแถว ) เปน็ กฬี าท่ไี ม่ใช้แรงในการเลน่ แต่เป็นการใชค้ วามอดทนการฝึกฝนทไ่ี ด้มา อย่างเปน็ ระเบยี บ
หอพกั หรือคณะ วชิราวุธวทิ ยาลัยมีหอพกั หรือทเี่ รียกวา่ \"คณะ\" เพ่ือใหน้ ักเรยี นใชเ้ ปน็ ท่พี ักอาศัย ในช่วงระหวา่ งทอ่ี ยโู่ รงเรียนสองอาทิตย์ คณะหน่งึ นน้ั จะมีนักเรียนประมาณ 80 คน แต่ ละคณะนั้นจะแบง่ กระจายนกั เรยี นของแตล่ ะชัน้ เรียนให้เทา่ ๆ กัน แบ่งเปน็ สองฝง่ั คือ คณะเด็กใน และ คณะเด็กเล็ก โดยที่คณะเด็กในจะใช้เปน็ ทพ่ี กั พงิ ของนักเรียนตั้งแตช่ นั้ ม. 1 ถึง ม.6 ท้ังน้ี มดี ้วยกันอยู่ 6 คณะ คือ คณะผูบ้ ังคบั การ คณะดุสิต คณะจติ รดา คณะพญาไท คณะจงรกั ภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเลก็ น้ันจะใช้เปน็ ทพ่ี กั ของ เด็กนักเรยี นชั้น ป.4 ถึง ป.6 เมื่อนักเรียนแต่ละคนเข้าเรียนชน้ั ม.1 แล้วจะทำการย้าย เขา้ ไปอย่เู ดก็ ในกับร่นุ พี่ คณะของคณะเด็กเล็ก ได้แก่ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอทุ ยาน และคณะสราญรมย์ การปกครองของคณะเดก็ ใน และเด็กเลก็ น้ันจะต่างกันเพยี งเล็กน้อย โดยคณะเด็กเล็กนนั้ จะมีหัวหน้าครูคณะ และครูคณะมาช่วยดแู ล และควบคุมเด็ก ๆ ส่วน คณะเดก็ ในนน้ั จะมีเพยี งผู้กำกบั คณะคอยดูแล และหน้าท่ีควบคมุ เด็กในคณะนั้นจะตกอยกู่ ับ รุ่นพหี่ วั หน้าคณะโดยมผี ู้กำกับคณะเป็นทีป่ รกึ ษา การปกครองในคณะเดก็ ในน้นั จะเปน็ ระบบ รุ่นพ่ี ร่นุ น้อง โดยจะเนน้ อยูว่ ่า \"การจะเป็นผ้นู ำทีด่ ีได้ ต้องเคยเป็นผู้ตามที่ดีมา ก่อน\" ดังน้นั กอ่ นที่นักเรยี นแต่ละคนจะมาเป็นหวั หนา้ คณะปกครองรุ่นนอ้ ง กจ็ ะเคยเป็นผู้ ตามถูกปกครองโดยรนุ่ พ่มี ากอ่ น และเรียนรู้การปกครองนน้ั มาปกครองรุน่ น้องถัด ๆ ไป
อาคารเรียน อาคารเรยี น พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานกำเนิดโรงเรยี นมหาดเล็กหลวง โดยพระราชทานทด่ี ินและพระราชทรพั ยส์ ่วนพระองค์ เพื่อใช้ในการก่อสรา้ งอาคารต่าง ๆ ซ่ึงลักษณะของหอประชมุ หอนาฬกิ า อาคารจติ รลดา และ ตกึ ขาว เป็นอาคารที่มีรปู แบบของสถาปตั ยกรรมไทย ผสมผสานสถาปตั ยกรรมตะวันตก โดย ไดร้ บั รางวัลอาคารอนรุ ักษด์ ีเด่น จากสมาคมสถาปนกิ สยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปี พ.ศ. 2525
น่คี ืออาคารเรยี น 100 ปี
หอประชมุ นวมภมู ินทร์
เพลงโรงเรียน หนึง่ ในประเพณขี องวชริ าวุธวทิ ยาลัย คือ การร้องเพลงในงานสำคญั ตา่ งๆ รวมถงึ เพลงเชยี ร์กฬี า โดยเพลงทีม่ กั จะไดย้ นิ บอ่ ยๆ มีดังน้ี เพลงมหาวชริ าวุธราชสดดุ ี ประพนั ธโ์ ดยทา่ นผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา และทำนอง โดย โฉลก เนตรสูตร เปน็ เพลงประจำโรงเรยี นมักถูกขับรอ้ งในงานพธิ ีสำคัญ เพอ่ื เทดิ ทูน พระมหากรณุ าธคิ ุณของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว พระผ้สู ถาปนาโรงเรยี น เพลง Graduates Song Goodbye เปน็ เพลงภาษาอังกฤษทำนองและเน้ือ รอ้ งโดย F.Rico ถูกขับร้องในงานพระราชทานประกาศนยี บตั รนกั เรยี นเกา่ โดย นักเรียนปัจจุบนั ท่ีกำลังจะจบการศึกษา เนื้อหาของเพลงนั้นเพื่อนึกถงึ อนาคตเมอื่ ออกไปจาก โรงเรียน และรำลกึ ถึงชีวิตในโรงเรียน เพลงอีกส่ีสบิ ปี ประพันธ์โดยท่านผูห้ ญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา ทำนองน้ันคัดมาจาก Forty Years On ของโรงเรียนแฮรโ์ รว ในอังกฤษ มักถกู ร้องในงานราชพิธสี ำคญั เน้ือหาในเพลงเพ่ือรำลกึ ถึงชวี ิตในโรงเรยี น เพลงเราเดก็ ในหลวง พระราชนพิ นธโ์ ดยพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ทำนอง สงิ โตเล่นหาง เปน็ เพลงกลอนบรรเลงโดยวงดนตรีไทย เปน็ เพลงปฏญิ าณนึกถึง ความสำคัญของนักเรียนมหาดเลก็ ดังมตี ัวอย่างท่อนจบวา่ \"รักษาชาตศิ าสนากว่าจะตาย เป็นผ้ชู ายชาติไทยไม่ลมื เอย\" เพลงเชยี ร์กีฬา มกั ถกู ขบั รอ้ งในการแข่งขนั รกั บี้ระหวา่ งโรงเรียน นอกจากนั้นสำหรบั การ แขง่ ขันภายใน แต่ละคณะก็จะมีเพลงเชีย์กีฬาของตวั เองอีกดว้ ย
เพลงจรรยานักกฬี า เปน็ เพลงกลอนมักถูกขับร้องก่อนการแข่งขนั กฬี าระหว่างคณะ เพอ่ื นึก ถงึ จรรยาของนกั กีฬา รู้แพ้ ร้ชู นะ ร้อู ภัย เพลงมหาวชิราวธุ ราชสดุดี ใชต้ อนรบั เสดจ็ ดว้ ย
ผบู้ งั คบั การ ผบู้ งั คับการ เปน็ ผทู้ ี่มีความรบั ผิดชอบสงู สุดในการดูแลจดั การวชิราวธุ วิทยาลยั เป็นท้งั หัวหน้าฝา่ ยบริหาร และครูใหญ่ รวมท้ังผรู้ บั ใบอนุญาตผ้จู ัดการโรงเรียน ทัง้ นี้ เม่ือตำแหน่งผู้ บังคับการว่างลง คณะกรรมการอำนวยการวชิราวุธวทิ ยาลยั จะดำเนินการสรรหาผ้ทู ส่ี มควรดำรง ตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวทิ ยาลัย และนำความข้ึนกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เพอื่ ขอพระบรมราชานุมตั ิ จึงจะสามารถดำรงตำแหน่งผู้บงั คับการวชริ าวุธวทิ ยาลัยโดยสมบรู ณ์
ผ้บู ังคับการคนปจั จบุ นั
แหลง่ ท่ีมา https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8 %B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B8%E0%B8%98% E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8 %A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2 ส่วนเวบ็ browser ท่ีใชค้ น้ หาคือ GOOGLE
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: