1 หน่วยท่ี 1 นาฏศลิ ปแ์ ละการละครของไทย ตวั ช้วี ดั 1.! วเิ คราะหแ์ กน่ ของนาฏศิลปแ์ ละการละครท่ตี ้องการสอื่ วามหมายวนการแสดง (ศ 3.1 ม.4-6/5) ประวัติความเปน็ มาของนาฏศิลป์และการละครของไทย * นาฏศิลป์ * ละคร ววิ ฒั นาการประวตั ิของนาฏศลิ ปแ์ ละการละครของไทย * สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตรต์ อนต้น * สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย * สมัยกอ่ นสุโขทัย * สมยั สุโขทัย * สมันอยุธยา * สมยั ธนบรุ ี * สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ความงามและคณุ ค่าของนาฏศลิ ปแ์ ละการละครของไทย * ความงามของนาฏศลิ ปแ์ ละการละครของไทย * คุณคา่ ของนาฏศลิ ป์และการละครของไทย สาระสำคญั การแสดงนาฏศลิ ป์และละครไทยมกี ำเนดิ มาช้านาน เปน็ ศิลปะทมี่ คี วามงดงามในทกุ ดา้ นและมีคณุ ค่าตอ่ สงั คม ทำให้ผชู้ มมคี วามสขุ สนุกสนานเม่ือได้รับชม เป็นศลิ ปะท่ีเป็นเอกลักษณส์ บื ทอดตอ่ ไป
2 ประวตั ิความเปน็ มาของนาฏศิลป์และการละครของไทย นาฏศลิ ป์ เป็นศิลปะแหง่ การละครและฟอ้ นรำ การดนตรแี ละการขับรอ้ ง ประกอบไปดว้ ยศลิ ปะ 3 ประการคือ การฟอ้ นรำ การดนรแี ละการขับรอ้ ง รวมเขา้ ดว้ ยกัน นาฏศิลปไ์ ทยเกดิ ขึ้นจากอารมณ์ ความร้สู กึ และความเชอื่ ต่างๆ เชน่ ความสุขหรือความทุกขซ์ ง่ึ สะท้อนออกมาเป็นทา่ ทางแบบธรรมชาติและประดิษฐข์ น้ึ เป็นท่าทางและลลี าการฟ้อนร ำ หรอื เกิดจากลัทธคิ วามเชอื่ ในการนบั ถือส่ิงศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ เทพเจ้า โดยแสดงความเคารพบชู าด้วยการเตน้ รำ ขบั รอ้ ง ฟ้อนรำ เพอื่ ความพึงพอใจ นอกจากนนี้ าฏศิลปไ์ ทยยังได้รับอิทธิพลจากแบบแผนหรือแนวคดิ ของชาวต่างชาตเิ ข้ามาผสมด้วยเช่น วัฒนธรรมอินเดยี เกีย่ วกับวรรณกรรมท่ีเป็นเร่ืองของเทพเจา้ และตำนานการฟอ้ นรำ โดยผา่ นเขา้ สู่ประเทศไทยท้งั ทางตรงและทางอ้อม คือผา่ นชนชาตชิ วาและเขมร กอ่ นท่ีจะนำมาปรับปรุงใหเ้ ป็นเอกลกั ษณ์ของไทย ตวั อย่างเช่น เทวรูปศวิ ะปางนาฏราช ท่สี รา้ งเปน็ ทา่ การร่ายรำของพระอิศวร ซึง่ มที งั้ หมด 108 ท่า โดยทรงฟอ้ นรำคร้ังแรกในโลก ณ เมอื งมทั ราส อนิ เดยี ใต้ นับเป็นคัมภีร์สำหรบั การฟอ้ นรำ แตง่ โดยพระภรตมุณี เรียกวา่ คัมภรี ์ภรตนาฏยศาสตร์ ถอื เป็นอิทธพิ ลสำคัญต่อแบบแผนการสืบสานและถ่ายทอดนาฏศิลปข์ องไทย จนเกดิ ขึ้นเปน็ เอกลักษณ์ของตนเองทม่ี ีรปู แบบ แบบแผนการเรียน การฝึกหัด จารีต ขนบธรรมเนยี มมาจนถึงปจั จบุ นั อย่างไรกต็ ามบรรดาผเู้ ชี่ยวชาญที่ศกึ ษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยไดส้ นั นษิ ฐานวา่ อารยธรรมทางศิลปะดา้ นนาฏศิลป์ของอินเดยี นี้ ไดเ้ ผยแพร่เขา้ มาสปู่ ระเทศไทยตั้งแตส่ มัยอยธุ ยา ตามประวตั ิการสรา้ งเทวลยั ศวิ ะนาฏราชทส่ี รา้ งข้นึ ใน พ.ศ. 1800 ซง่ึ เปน็ ระยะทไ่ี ทยเริม่ กอ่ ตั้งอาณาจักรสุโขทัย จากหนังสือลกั ษณะไทยศิลปะการแสดงไดก้ ล่าวว่า มีผ้รู หู้ ลายท่านพยายามท่จี ะช้ใี ห้เหน็ ว่าทา่ รำตา่ งๆ มีอิทธพิ ลมาจากประเทศอนิ เดียเข้ามาครอบงำ หรอื คนไทยได้จดทา่ ทางต่างๆ ในการฟอ้ นรำของอนิ เดยี เอามาใชใ้ นการฟอ้ นรำของตนเอง และไดม้ กี ารพฒั นาท่ารำและละครไทยมาเรือ่ ยๆจนถงึ ปัจจบุ ัน ละคร เป็นศิลปะการแสดงทม่ี ขี น้ึ เพือ่ ความบันเทิงพฒั นามาจากการเล่านิทานท่มี ลี กั ษณะการแสดงเป็นเรอื่ งราวและสาม ารถนำมาเล่าใหผ้ ู้ที่ไม่ไดช้ มการแสดงสามารถเขา้ ใจ รบั รูเ้ รอื่ งราวการแสดงได้ เพราะในการแสดงและการดำเนนิ เร่อื งเป็นการรา่ ยรำเข้ากบั บทร้อง ทำนองเพลง และเพลงหน้าพาทย์ทีบ่ รรเลงดว้ ยวงปีพ่ าทย์ มแี บบแผนการเลน่ ทั้งของชาวบ้านและของหลวง
3 วิวฒั นาการประวัตขิ องนาฏศลิ ปแ์ ละการละครของไทย นาฏศลิ ป์และการละครของไทยมวี วิ ฒั นาการเกดิ ขน้ึ ในแตล่ ะสมัย สามารถสรปุ ได้ดังนี้ สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ตอนตน้ มกี ารแสดงระบำงา่ ยๆ ไมม่ กี ระบวนทา่ รำ สมยั ก่อนประวตั ิศาสตรต์ อนปลาย เปน็ การแสดงระบำเลียนแบบสตั ว์ตา่ ง ๆ สมัยกอ่ นสโุ ขทัย ระบำท่ีนำเอาเครอื่ งใช้ในชวี ติ ประจำวนั มาประกอบการแสดง สมยั สโุ ขทยั ระบำนักรบ เรมิ่ มีการพัฒนาเปน็ ระบำท่ีมีกระบวนทา่ รำมากข้นึ สมยั อยธุ ยา สมัยธนบรุ ี มกี ารแสดงระบำตา่ ง ๆ รำแบบพ้ืนเมือง รำแบบภารตนาฎยัม สมัยรัตนโ์ กสนิ ทร์ ชว่ งรชั กาลท่ี 1-4 มกี ารแสดงประเภทฟอ้ น ระบำ รำ เกดิ ขนึ้ สมัยรตั นโ์ กสนิ ทร์ ชว่ งรัชกาลท่ี 5-ปจั จุบัน มกี ารแสดงระบำ รำ ฟ้อน ละครโนราชาตรี ละครใน ละครนอก เกดิ ขึ้นและแสดงกนั อยา่ งแพรห่ ลาย มกี ารแสดงละครโนราชาตรี ละครนอก ละครใน เชน่ เดยี วกบั สมัยอยธุ ยา มกี ารแสดงระบำ รำ ฟ้อน ละครโนราชาตรี ละครนอก ละครใน ที่มีรูปแบบหลากหลายขึน้ มคี วามสวยงามมากขึ้น ในช่วงสมัยรชั กาลท่ี 2 ถือว่าการละครมีความเจรญิ รงุ่ เรอื งมาก เกิดการแสดงละครตา่ ง ๆ มากมาย ไดแ้ ก่ * ละครรำ เป็นละครท่ีมีการร่ายรำในการดำเนินเรอ่ื ง คอื ละครโนราชาตรี ละครนอก ละครใน ละครดึกดำบรรพ์ ละครพนั ทาง ละครเสภา * ละครพดู และละครร้อง เป็นละครที่ใช้การขบั รอ้ งและการพดู ดำเนินเร่ือง ละครพดู ละครร้องแบบปรีดาลัย ละครพดู สลับลำ ละครรอ้ ง ละครสงั คีต ละครชายจริงหญิงแท้ ละครเวที ละครหลวงวจิ ติ รวาทการ ละครวทิ ยุ ละครโทรทัศน์ ละครเพลง ละครสากลชนดิ ต่าง ๆ จะเห็นได้ว่านาฏศิลปแ์ ละการละครของไทยมีการพฒั นารปู แบบจากการแสดงระบำ รำ ฟ้อน แลว้ วิวัฒนาการมาเป็นละครทมี่ กี ารร่ายรำทางนาฏศิลป์ เป็นละครพดู และขบั รอ้ ง ซ่ึงละครไทยในยคุ ปัจจบุ ันมกี ารพัฒนาเปลย่ี นแปลง เพอื่ ตอบสนองความต้องการของผู้ชมในสังคม
4 ความงามและคณุ ค่าของนาฏศิลป์และการละครของไทย นาฏศิลปแ์ ละการละครไทยนอกจากลลี าท่ารำท่ีสวยงามแล้ว ยังมีความงามและคณุ ค่าดา้ นตา่ ง ๆ ซงึ่ ถือวา่ เป็นองค์ประกอบสำคัญทใ่ี ชใ้ นการแสดงดังนี้ ความงามของนาฏศิลป์และการละครของไทย 1.1 ตวั ละคร ในวรรณกรรมมีตวั ละคร 4 ประเภท ดังน้ี ประเภทท่ี 1 ในการแสดงเรยี กวา่ ตัวนายโรง หรือตวั พระเอก เรียกสน้ั ๆว่า ตัวพระ หมายถึงผ้แู สดงจะเปน็ หญิงหรือชายกไ็ ด้ และต้องแสดงบทบาทลีลาท่ารำเป็น ผ้ชู าย ประเภทท่ี 2 ในการแสดงเรียกว่า ตวั นาง หมายถงึ ผแู้ สดงจะเป็นหญงิ หรือชายก็ได้ และตอ้ งแสดงบทบาทลีลาท่ารำเปน็ ผหู้ ญิง ประเภทที่ 3 ในการแสดงเรยี กวา่ ตวั ยกั ษ์ หมายถงึ ผแู้ สดงเปน็ ตวั ยกั ษ์ มกั ใชผ้ ู้ชายทีร่ ูปร่างใหญแ่ สดง ประเภทท่ี 4 ในการแสดงเรยี กวา่ ตวั ลงิ หมายถงึ ผู้แสดงเปน็ ตวั ลิง มักใชผ้ ้ชู ายที่รูปร่างเลก็ แสดง ตวั ละครทัง้ 4 ประเภทมลี ักษณะลลี าทา่ รำ ท่าเต้น แตกต่างกัน และมีความงดงามตามรปู แบบของละคร ดงั น้ี ตัวพระ แบ่งตามลักษณะเพศของผแู้ สดงได้ 2 แบบ ดงั นี้ 1.! แบบตัวพระแท้ ใชผ้ ชู้ ายจรงิ แสดง ใช้ในการแสดงโขนและละครประเภทจา่ ง ๆ ยกเวน้ ละครใน 2.! แบบตัวพระในละครใน ใช้ผู้หญงิ แสดงเป็นตวั พระ โดยแสดงบทบาทลลี าท่ารำเปน็ ผชู้ าย ตวั นาง แบ่งตามลักษณะท่ารำเปน็ 2 แบบ ดังนี้ 1.! นางกษตั ริย์ มีลักษณะทา่ รำทอ่ี ่อนชอ้ ย งดงาม นมิ่ นวล ออ่ นโยน เช่น นางสีดา นางบุษบา 2.! นางตลาด มีลกั ษณะทา่ รำที่กระฉบั กระเฉง วอ่ งไว เชน่ นางแกว้ หนา้ ม้า นางวลั ลา ตัวยักษ์ ลกั ษณะลลี าทา่ รำของตัวยักษ์แบ่งแยกตามอารมณ์ เช่น โกรธ เจา้ ชู้ ขงึ ขัง เป็นนักรบองอาจและแบ่งระดบั ของยักษ์ในละครเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1.! ยกั ษใ์ หญ่ เชน่ ทศกัณฐ์ สหสั เดชะ 2.! ยกั ษ์เลก็ เช่น อินทรชติ รามสูร 3.! ยักษ์ต่างเมือง เช่น ไมยราพ มงั กรกณั ฐ์ 4.! การแบ่งระดับของยักษม์ ีไวเ้ พ่ือการคัดเลือกตัวผแู้ สดงให้เหมาะสม รวมถึงการใช้ลลี าท่ารำให้เหมาะสมกับลักษณะของยกั ษ์แตล่ ะตวั ตัวลิง ในการแสดงโขนเรอื่ ง รามเกยี รติ์ แบง่ ลีลาลกั ษณะของลิงออกเป็น 3 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1.! ลิงยอด มลี ักษณะการร่ายรำเชื่องชา้ แตส่ งา่ งาม เช่น พาลี สคุ รพี 2.! ลงิ โล้น มีลกั ษณะการร่ายรำท่คี ลอ่ งแคลว่ ว่องไว องอาจ เช่น หนมุ าน นิลพัท 3.! ลิงเลก็ หรือลงิ ป่า มลี กั ษณะการรา่ ยรำรวดเร็ว ไมอ่ งอาจหรอื งดงามเทา่ ลงิ อ่ืน เช่น ลิงถวายผ้าสไบให้พระราม หรือสงั ขวานร สิง่ เหลา่ นี้มสี ว่ นชว่ ยให้การแสดงมคี วามงดงาม มีคณุ ค่า ทำใหผ้ ู้ชมมคี วามเขา้ ใจและซาบซึง้ ในความงดงามของนาฏศลิ ป์และละครไทย
5 1.2 การแต่งกาย การแสดงนาฏศิลปท์ ุกประเภท โดยเฉพาะโขนและละคร การใช้สีแต่ละสใี นการแตง่ กายมีความสำคญั เพราะตวั ละครแต่ละตัวจะใช้การแตง่ กายทม่ี สี ีประจำตัวละครนั้น ๆ เชน่ หนมุ านจะตอ้ งแต่งสขี าว-แดง พระรามจะต้องสเี ขยี ว-แดง สำหรบั การปักด้ินเงิน ทอง หรือเล่อื ม แม้แตล่ ายทใ่ี ช้กบั การปกั จะต้องเหมาะสมกับตัวละคร จะทำให้ผูช้ มได้รับความสนุกสนาน ประทับใจในการแสดงมากข้ึน 1.3 เคร่ืองประดับศรี ษะ การรูจ้ กั และเขา้ ใจเคร่อื งประดบั จะทำใหเ้ ข้าใจการแสดงมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในการแสดงโขน เพราะมีตวั ละครมากมายในเรื่องรามเกยี รติแ์ ตล่ ะฝา่ ยจะสวมใส่หวั โขน ไม่วา่ จะเปน็ เทพเจ้า ฤๅษี วทิ ยาธร ยกั ษ์ ลงิ และสัตว์ตา่ ง ๆ ถา้ จะทราบว่าเปน็ ใครตอ้ งดูทีย่ อดของศรี ษะ เชน่ พระอินทรม์ ใี บหน้าสีเขยี วมงกฎุ ยอดเดนิ หน พระอิศวรใบหน้าสขี าว มเี ทริดยอดน้ำเตา้ สิ่งเหลา่ นีเ้ ปน็ ความงามและคณุ ค่าของนาฏศลิ ปท์ ี่ทำให้การแสดงมคี ณุ ค่าและมีความงดงามท้ังตอ่ ผ้แู สดงและผูช้ ม 1.4 ฉาก ฉากเป็นสว่ นสำคญั ในการจดั การแสดง อปุ กรณ์ท่ีใช้ในฉากละครล้วนมคี วามสำคญั ในการแสดงละครทัง้ สิ้น เพราะฉากเป็นองค์ประกอบสำคญั ท่ที ำใหก้ ารแสดงมคี วามงดงาม มีคุณคา่ ทำให้ผชู้ มเขา้ ใจการแสดงได้งา่ ยขึ้น เช่น ฉากเปน็ ต้นไม้ ก้อนหนิ มสี ัตว์ป่า แสดงถึงว่าขณะน้นั มีเรอ่ื งราวดำเนนิ อย่ใู นป่า และเปน็ องค์ประกอบของการแสดงที่ทำให้การแสดงสนุกสนานมากยิง่ ข้นึ 1.5 ดนตรี ในการแสดงนาฏศิลปแ์ ละละครจะต้องมกี ารบรรเลงดนตรแี ละขบั รอ้ งบทเพลงประกอบการแสดงดว้ ย จงึ จะทำใหก้ ารแสดงมีความสนุกสนาน น่าสนใจ เพราะถา้ การแสดงมกี ารบรรเลงดนตรแี ละบทเพลงทีไ่ พเราะจะทำให้ผ้ชู มประทับใจ เกดิ ความซาบซ้ึงในการแสดง และทำใหเ้ ขา้ ใจเนื้อเรอื่ งได้งา่ ยข้ึน เชน่ ในเรือ่ งรามเกยี รตติ์ อนที่พระรามสกู้ บั ทศกัณฐ์ จะมีการบรรเลงดนตรีท่ีมีจังหวะและทำนองเรว็ บรรเลงเพลงเชิดฉิง่ เชิดกลอง คณุ คา่ ของนาฏศลิ ป์และการละครของไทย การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทย เป็นการแสดงทีม่ คี ณุ ค่าต่อชาติและสังคม สรปุ ได้ ดงั น้ี 1.! ให้คณุ คา่ ด้านความเพลดิ เพลินและความสนุ ทรยี ์ คือ การแสดงนาฏศลิ ป์และละครไทย เปน็ ศิลปะทีม่ ี ความออ่ นช้อยงดงาม มีการนำวรรณคดไี ทยตา่ ง ๆ มาถา่ ยทอดเป็นทา่ ร่ายรำ ทำให้เกดิ ความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ 2.! ให้คุณค่าด้านพธิ กี รรมตา่ ง ๆ คือ การแสดงนาฏศิลป์และละครไทยมีสว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั ความเชอ่ื ต่าง ๆ จน เกิดการแสดงแกบ้ น เพอื่ ให้สิ่งศักดิ์สทิ ธพ์ิ ึงพอใจ เชน่ การแสดงละครรำแกบ้ น การฟ้อนรำแห่นางแมวใหฝ้ นตกตามฤดูกาล 3.! ให้คุณค่าด้านการอนรุ กั ษแ์ ละเผยแพร่ คอื การแสดงนาฏศลิ ป์และละครไทยเปน็ เอกลกั ษณ์และมรดก ของชาติท่ีควรคา่ แก่การอนรุ ักษ์ สืบทอดและเผยแพร่ เพอ่ื มใิ ห้สญู หายไป 4.! ให้คณุ ค่าดา้ นความบนั เทิง คอื การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละครไทยมีขึน้ เพือ่ ความสนุกสนาน ผอ่ นคลาย ความเหน็ดเหนือ่ ยหลงั จากการทำงาน หรอื ในยามเทศกาลงานรน่ื เรงิ ตา่ ง ๆ
6 5.! ใหค้ ณุ ค่าด้านพิธีการในสงั คม คือ นำการแสดงนาฏศิลป์และละครไทยมาแสดงต้อนรับแขกบา้ นแขกเมอื ง ใหผ้ ู้มาเยอื นมคี วามสุข ประทับใจทไ่ี ดม้ าเยอื น เชน่ แสดงรำอวยพร ฟอ้ นบายศรีสูข่ วัญ ส่ิงเหล่านีล้ ้วนเปน็ คุณคา่ ของนาฏศิลปแ์ ละละครไทย ทำใหก้ ารแสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละครไทยมีความงดงามและมีคณุ คา่ ต่อสงั คมและชาติไทย ทีม่ า : หนงั สอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน ช้ัน ม.4-6 สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: