The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง Prevalence of needle stick injuries among nursing students in China: A systematic review Dongyang Wang*, Kessarawan Nilvarangkul, Amornrat Anuwatnonthakate School of Health Science, Mae Fah Luang University, Chiang Rai, THAILAND School of Health Science, Mae Fah Luang University, Mueang, Chiang Rai, THAILAND *Co-responding e-mail: [email protected] Abstract Introduction: Needle stick injury (NSI) is a common occupational injury in all clinician who are working in health care setting. It leads to increase the risk of getting blood-borne diseases infections. Nursing students are the main victims of needle stick injuries among health workers, and needle stick injuries expose higher risks among them in developing countries, especially in populous countries such as China. More than half of Chinese nursing students face the risk of needle stick injuries in their clinical internship. Objective: This study aims to assess the prevalence, reporting rate and trend associated with needle stick injuries among nursing students in China. Methodology: Systematic review based on PRISMA guidelines. Literature from the PubMed, Science Direct, DOAJ, SinoMed and CNKI databases were reviewed and imported Citavi software for article management. By removing duplicate articles, filtering articles by relevance of titles and abstracts to the study, and further filtering articles by inclusion criteria, the final 16 articles were included in the study. The article data was processed and analyzed using Stata16.0 software. Results: The prevalence of needlestick injuries among Chinese nursing students in the past decade was 10% to 90%. The combined data shows that the prevalence of needle stick injuries among nursing students was 60.0% (95%CI 0.42-0.77). The prevalence of needle stick injuries among nursing students has declined in the past decade. Discussion and conclusion: Nursing students have a high prevalence and low reporting rate of needle stick injuries. However, nursing education institutions and medical institutions can strengthen the education of students to prevent needle stick injuries and optimize the health workforce structure to reduce needle stick injuries. Keywords: Needlestick injuries, China, Nursing students, Occupational health 43
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง สภาพแวดล้อมเชิงความรอ้ นภายนอกอาคารและภายในอาคารสำหรบั การปฏบิ ตั ิกิจกรรมทางกายที่ส่งผลต่อสมรรถภาพ ทางกายในเขตพืน้ ทีย่ า่ นใจกลางเมืองของภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนบน ประเทศไทย กรณศี กึ ษา: อดุ รธานี – ขอนแก่น – หนองคาย ภษู ณพาส สมนลิ 1, วินัย มแี สง2, เอราวัณ เบา้ ทอง2, ปรเมษฐ์ แสนอบุ ล3 1สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์การกฬี า คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2สาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ ิง่ แวดล้อม คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี 3ศูนย์ภาษา สำนักวิทยบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดย่อ บทนำ: งานวิจัยนี้ศึกษาผลกระทบของความร้อนต่อสมรรถภาพทางกาย วิเคราะห์โดยใช้ค่าดัชนีความร้อนของ ส่ิงแวดล้อมขณะปฏบิ ัติกจิ กรรมในพื้นที่ยา่ นใจกลางเมือง เพ่อื หาแนวทางความปลอดภยั และเพอื่ สรา้ งเกณฑ์มาตรฐานในการปฏิบตั ิ กิจกรรมทางกายในทีร่ ้อน วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินขนาดและความรุนแรงของผลกระทบต่อสมรรถภาพทางกายจากการสัมผสั พลังงานความร้อนขณะปฏิบัติกิจกรรมทางกายในเขตพื้นที่ย่านใจกลางเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประเทศไทย วิธีวิจัย: โดยตรวจวัดค่าดัชนีวัดสภาพความร้อน (WBGT) ในพื้นที่ 3 จังหวัด เป็นระยะเวลา 1 ปี ผลการวิจัย: พบว่า ดัชนี WBGT สภาพความร้อนภายนอกอาคารค่าต่ำสุดที่วดั ได้เท่ากับ 22.70 องศาเซลเซียส ค่าสูงสุดเท่ากับ 33.90 องศาเซลเซียส สภาพความ ร้อนภายในอาคารค่าต่ำสุดที่วัดได้เท่ากับ 22.20 องศาเซลเซียส ค่าสูงสุดเท่ากับ 39.80 องศาเซลเซียส ส่วนผลกระทบต่อ สมรรถภาพทางกายทีเ่ กิดจากความร้อนท่ีได้รับ ดัชนีความร้อนในพื้นที่ศึกษาตามฤดูกาลบริเวณภายนอกอาคาร ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน พบวา่ ดัชนคี วามร้อนในฤดูฝน (26.71 องศาเซลเซยี ส) มคี า่ สงู กว่าฤดูหนาว (26.02 องศาเซลเซยี ส) และฤดรู ้อน (25.88 องศาเซลเซียส) ตามลำดับ ในพื้นที่ภายในอาคาร ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน พบว่าดัชนีความร้อนในฤดูร้อน ( 30.88 องศา เซลเซียส) มีค่าสูงกว่า ฤดูฝน (27.00 องศาเซลเซียส) และฤดูหนาว (26.06 องศาเซลเซียส) ตามลำดับ อภิปรายและสรุป ผลการวิจัย: ผลการวิจัยพบมีค่าเฉลี่ยในพื้นที่ภายนอกอาคาร (79.45 องศาฟาเรนไฮน์) และภายในอาคาร (81.75 องศาฟาเรน ไฮน)์ ซ่งึ อยู่ในคา่ มาตรฐานของ WBGT ท่อี ่านไดค้ ือ ต่ำกวา่ 82 องศาฟาเรนไฮน์ ตามแนวทางความปลอดภัยใหค้ ำแนะนำคือปฏิบัติ กิจกรรมทางกายตามปกติ ใหพ้ ักอยา่ งนอ้ ย 3 ครง้ั ในแตล่ ะชั่วโมง พกั ข้ันต่ำครงั้ ละ 3 นาที ระหว่างการปฏบิ ตั ิ คำสำคญั : ดัชนวี ัดสภาพความร้อน, สมรรถภาพทางกาย, พ้ืนท่ยี า่ นใจกลางเมอื ง 44
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ประสิทธิผลของเบาะรองนง่ั เพื่อลดความสั่นสะเทอื นของกลมุ่ พนกั งานขบั รถยกชนดิ นั่งขับ ในท่าเรือแห่งหนงึ่ จังหวัดกรงุ เทพมหานคร ศิรประภา สนิ ใจ*1 ศรรี ัตน์ ล้อมพงศ์2 และธีรยุทธ์ เสงีย่ มศกั ด์ิ2 1หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาอาชวี อนามยั และความปลอดภยั คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา 2ภาควิชาสขุ ศาสตรอ์ สุ าหกรรมและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา *Corresponding author E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ บทนำ: กิจการท่าเรือขนส่งมีรถเครื่องมือทุ่นแรงหลายประเภทตามลักษณะการใช้งาน ผู้ที่ปฏิบัติงานขับรถยกมีโอกาส ได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงานและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น ความสั่นสะเทือน เป็นต้น วัตถุประสงค์: 1. เพื่อ ประเมินการรับสัมผัสความสั่นสะเทือนของพนักงานขับรถยกของพนักงานขับรถยกชนิดนั่งในท่าเรือแห่งหนึ่ง จังหวัด กรุงเทพมหานคร 2. เพ่อื เปรียบเทียบระดบั ความสัน่ สะเทอื นกอ่ นหลัง การใช้เบาะรองน่งั และความสัน่ สะเทือนทลี่ ดลงจากการใช้- รปู แบบ 2 เบาะรองนง่ั และเพอื่ เปรียบเทียบระดับพึงพอใจต่อการใช้เบาะรองน่ังท้ัง วิธวี จิ ยั : งานวจิ ยั น้ศี กึ ษาผลก่อนและหลังการ ทดลองผลของการใช้เบาะรองนง่ั สำหรบั รถยกชนิดน่ังขับ กล่มุ ตัวอย่างคือ รถยกขนาดพิกัดน้ำหนกั คัน 28 ตัน จำนวน 5เครอ่ื งมือ ที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และเครื่องวดั ความสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย ใช้สถิติ Wilcoxon Signed-Ranks Test ทดสอบความสัมพนั ธ์ ความสั่นสะเทือนระหว่างก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่ง และเปรียบเทียบความสั่นสะเทือนที่ลดลง ผลการวิจัย: การรับสัมผัส ความสัน่ สะเทอื นเปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี ความเร่งความสน่ั สะเทือนก่อนและหลังการใชเ้ บาะรองนง่ั แบบที่ 1 และ 2 พบว่า กอ่ นการใช้ เบาะรองน่ังมคี ่าเท่ากับ 2. 42m/s2 หลังใช้เบาะรองนั่งท่ี 1 เท่ากับ 2. 03m/s2 หลังใช้เบาะรองนัง่ 2 เท่ากับ 1.89 m/s2 คะแนน เฉลี่ยความพึงพอใจต่อการใช้เบาะนั่ง โดยรวมหลังการใช้เบาะรองนั่ง เท่ากับ 2. มีความพึงพอใจต่อเบาะรองนั่งแบบที่ 661 และ แบบที่ 2 โดยรวมระดับปานกลาง อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: หลังการใช้เบาะรองนั่งทั้งสองรูปแบบสามารถลดความ สั่นสะเทือน แต่ยังมีค่าสูงกว่ามาตรฐานกำหนดที่ 0. 5m/s2 อาจมีปัจจัยจากสภาพเครื่องยนต์ของรถยก สภาพพื้นผิว จำเป็นต่อ การหาแนวทาง การควบคมุ ความสั่นสะเทือนด้านอื่น ๆ คำสำคญั : เบาะรองนัง่ , ความสัน่ สะเทือนท่วั ร่างกาย, รถยกชนดิ น่ังขบั 45
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง ประสทิ ธิผลของโปรแกรมการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพตามแบบจำลองการวางแผนสง่ เสริมสขุ ภาพตอ่ พฤตกิ รรมการปอ้ งกันโรค ระบบทางเดินหายใจจากการสัมผสั ฝนุ่ ไม้ของคนงานแปรรูปไม้ยางพารา เสาวลักษณ์ ศรลอย และสาลี อนิ ทร์เจรญิ วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวัดตรัง บทคดั ยอ่ การวจิ ยั ครง้ั นม้ี ีรปู แบบการวจิ ัยกง่ึ ทดลองแบบกลุ่มเดียววดั ผลก่อนและหลงั การทดลองประยกุ ต์ใช้ทฤษฎีแบบจำลองการ วางแผนส่งเสริมสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยปัจจัยนำ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินหายใจ จากการสมั ผสั ฝนุ่ ไม้ กอ่ นและหลงั การเข้ารว่ มโปรแกรม 2) เปรียบเทียบคะแนนเฉลยี่ ปจั จัยเอือ้ ได้แก่ การเข้าถึงอปุ กรณ์ปอ้ งกันฝ่นุ ไม้ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงาน ก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรม 3) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยปัจจัยเสริม ได้แก่ การ ได้รบั แรงสนับสนุนทางสังคม ก่อนและหลงั การเข้าร่วมโปรแกรม และ 4) เปรียบเทียบคะแนนเฉลีย่ พฤติกรรมการปอ้ งกันโรคระบบ ทางเดิน หายใจจากการสมั ผสั ฝนุ่ ไมข้ องคนงานแปรรปู ไม้ยางพารา กอ่ นและหลงั การเขา้ ร่วมโปรแกรม กลุม่ ตวั อยา่ งคือ คนงานแปร รูปไม้ยางพาราแห่งหนึ่งในจังหวัดตรัง จำนวน 31 คน เครื่องมือในการดำเนินการวิจัย คือ โปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพตาม แบบจำลองการวางแผนส่งเสริมสุขภาพ ต่อพฤตกิ รรมการปอ้ งกันโรคระบบทางเดินหายใจ จากการสัมผัสฝุน่ ไม้ของคนงานแปรรูป ไม้ยางพารา เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างก่อนและหลังการใช้โปรแกรมด้วย Paired t –Test และ Wilcoxon Signed Rank Test ผล การศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินหายใจ จากการสัมผัสฝุ่นไม้ และพฤติกรรมการ ป้องกันโรคระบบทางเดินหายใจ จากการสัมผัสฝุ่นไม้ หลังการใช้โปรแกรม สูงกว่าก่อนการใช้โปรแกรม ซึ่งแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05 ส่วนคะแนนเฉลีย่ การเขา้ ถงึ อปุ กรณ์ปอ้ งกันฝนุ่ ไม้ ส่ิงแวดล้อมทีเ่ ออื้ ต่อการทำงาน และการไดร้ บั แรง สนบั สนนุ ทางสงั คม ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมไม่แตกตา่ งกัน คำสำคัญ: โปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพ, โรคระบบทางเดินหายใจจากการสัมผัสฝุ่นไม้, คนงานแปรรูปไม้ยางพารา, แบบจำลอง การวางแผนส่งเสริมสขุ ภาพ 46
Search