Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บ้านเปื้อนพิษ

บ้านเปื้อนพิษ

Published by lawanwijarn4, 2022-01-03 05:32:34

Description: บ้านเปื้อนพิษ

Search

Read the Text Version

บา้ น..... เปื้อนพิษ ลาวัณย์ วจิ ารณ์

1 บา้ นเปือ้ นพษิ ปรบั ปรงุ คร้งั ที่ 1 : พฤษภาคม 2564

สารบญั 2 เกริ่นนำ ตัวอยา่ งมลสารทางอากาศท่พี บในบ้านพกั อาศยั 1 3 ฝุ่นละออง 3 สารฟอร์มาลดไี ฮด์ 10 โทลูอนี 14 เบนซนี 16 ไซลีน 18 แอมโมเนีย 20 คาร์บอนมอนอกไซด์ 22 ไนโตรเจนไดออกไซด์ 25 ภาพรวมมลสารอากาศในผลิตภัณฑ์ตา่ งๆที่พบในบา้ น 29 การจัดการมลพิษทางอากาศในบ้าน 30 ท่มี าของการใชต้ ้นไม้ดดู สารพษิ จากอากาศ 31 ต้นไมด้ ดู สารพาไดอ้ ย่างไร 32 ตวั อยา่ งตน้ ไมท้ ่ใี ชด้ ูดสารพษิ ในบ้าน 35 เอกสารอา้ งองิ 44 Assignment 46

1 เกร่นิ นำ https://siamrath.co.th/n/106183 จากสถานการณภ์ ัยพิบัติ PM2.5 ท่ีวิกฤตไปทว่ั โลก ไดส้ รา้ งผลกระทบอย่างรุนแรง ตอ่ การดำเนนิ ชีวิตให้กับผู้คนมากมาย และแม้วา่ ประเทศต่างๆท่ัวโลก รวมท้ังประเทศไทย เอง ก็ได้พยายามที่จะกำหนดมาตรการในการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบที่เกิดข้ึน อย่างต่อเนื่อง แต่ดูเหมือนว่าเป็นเรื่องยากที่จะทำให้ประสบความสำเร็จได้ในเร็ววัน เนื่องจากสภาพปัญหาดังกล่าว มีความรุนแรง และมีปัจจัยเกี่ยวข้องที่เป็นสาเหตุของการ เกดิ ปญั หาทีห่ ลากหลาย ทัง้ ปัจจยั จากกิจกรรมมนษุ ยแ์ ละปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งยากต่อ การควบคมุ ทางออกทางเดียวที่สามารถทำได้ในช่วงเวลาที่ยากลำบากกับการแก้ไขปัญห า มลพษิ ทางอากาศ ก็คือ การดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากมลพษิ ทางอากาศเหล่าน้นั อย่างไร ก็ตาม สำหรับในประเทศไทยนั้น “มาตรการอยู่บ้าน ลดกิจกรรมกลางแจ้ง” เป็น มาตรการหนึ่งที่ได้รับส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมและ สาธารณสุข ด้วยเพราะมีความเข้าใจโดยท่ัวกนั ว่า “บ้าน”เป็นสถานที่พักอาศัยท่ีทุกคนคิด

2 ว่าปลอดภัยที่สุด แต่หากพิจารณาอย่างรอบครอบแล้ว เราจะพบว่าบ้านที่เต็มไปด้วยสิ่ง อำนวยความสะดวกหลากหลายส่งิ ทผี่ ู้อยูอ่ าศยั นำเข้าสบู่ ้านของตนนนั้ กลบั มีบางสิ่ง(ที่เป็น พษิ )ซอ่ นเร้นอยู่ ซึ่งทั้งหมดนี้เกิดจากรูปแบบการใช้ชีวิตที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหลากหลาย ลักษณะของผู้อยู่อาศัยในบ้านแต่ละหลัง ไม่ว่าจะเป็นการใช้ผลิตภัณฑ์ต่างๆที่เป็นแหล่ง ปลดปลอ่ ยสารเคมีอันตรายและสารอินทรีย์ระเหยสู่อากาศในบา้ นพักอาศัยของตน ทัง้ โดย ต้งั ใจและมไิ ด้ต้งั ใจก็ตาม รูปแบบการใช้ไหม้เช้ือเพลงิ ท้ังการปรุงอาหาร การสบู บุหร่ีซึ่งเป็น สาเหตุของการเกิดสารมลพิษทางอากาศนานาชนิดที่ อีกทั้งรูปแบบการใช้ผลิตภัณฑ์หรือ พฤติกรรมทีท่ ำให้เกดิ เช้ือราและเชื้อแบคทีเรยี สะสมในบ้านพักอาศัย ก็เปน็ อีกสาเหตุหนึ่งที่ ยิ่งทำให้บ้านพักอาศัยของเราเต็มไปด้วยสิ่งที่เป็นอันตรายถึงชีวิต และยิ่งไปกว่านั้นการ จัดระบบการระบายอากาศภายในทีพ่ ักอาศยั ท่ีไมเ่ หมาะสม ก็เป็นปัจจัยเสริมสำคัญที่ทำให้ บ้านพักอาศัยของเรากลายเป็นแหล่งสะสมของสารมลพิษทางอากาศนานาชนิด จากทุก แหล่งกำเนิด เกิดเป็นมลพิษทางอากาศในบ้าน( indoor air pollution ) ซึ่งก่อให้เกิด อันตรายต่อสุขภาพอนามยั ของผู้อยู่อาศัยในบ้านหลังนั้น ๆในท้ายที่สุด ขณะที่การศึกษา เกยี่ วกบั มลพิษทางอากาศในอาคารขององค์การอนามยั โลก (WHO) ยงั ระบดุ ว้ ยว่า ร้อยละ 30 ของอาคารทั่วโลก มีปัญหาด้านคุณภาพอากาศ และบางพื้นที่มีปริมาณสารมลพิษสูง กวา่ ภายนอกอาคารถงึ 100 เทา่ จากทกี่ ล่าวขา้ งต้นจะเห็นได้วา่ บ้านของเราทกุ คนในยุคนี้....จึงแทบจะไม่หลงเหลือ ความปลอดภัยให้เห็นแม้แต่น้อย หากผู้อยู่อาศัยขาดความเข้าใจถึงต้นเหตุของการเกิด มลพิษทางอากาศที่สะสมภายในบ้านพักอาศัยของเรา ฉะนั้น....การรู้เท่าทันถึงสิ่งเป็นพิษที่ซ่อนเร้นอยู่ในส่วนต่าง ๆของบ้าน แล้ว ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชวี ิตให้เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เพื่อลดต้นเหตุของปัญหามลพษิ ทางอากาศภายในบ้านพักอาศัยของเรา จึงเป็นทางรอดทางเดียวที่จะทำให้บ้านพักอาศัย ของเรานั้น มีความปลอดภัยเพียงพอสำหรับเอาชีวิตรอดในภาวะวิกฤตของมลพิษทาง อากาศในปัจจบุ นั

3 ซึ่งในที่นี้จะขอยกตัวอย่างมลสาร1ทางอากาศที่ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศใน บ้านพักอาศัยเป็นเพียงบางส่วน เพื่อให้นักศึกษาเห็นภาพของปัญหาพอสังเขป ทั้งมลสาร ทางอากาศท่เี กิดขึน้ ภายในบ้านพกั อาศยั และมลสารทางอากาศจากภายนอกที่เคล่ือนท่ี เข้าสู่บา้ นพกั อาศยั มลสาร คอื สารทีก่ อ่ ใหเ้ กิดมลพิษ เชน่ ไดออกซิน ในอากาศ เป็นสารทกี่ อ่ ให้อากาศเกิด มลพษิ ทางอากาศ ทส่ี ่งผงกระทบต่อสุขภาพของเรา. ตัวอยา่ งมลสารทางอากาศทเี่ กิดขนึ้ ภายในบา้ นพกั อาศยั และมลสารทางอากาศจากภายนอกทเี่ คลื่อนทีเ่ ข้าสบู่ า้ นพกั อาศยั ภายในบ้านพักอาศัยนัน้ จะพบมลสารทางอากาศได้หลากหลายชนดิ ทั้ง ที่เกิดขึ้นภายในบ้านและเกิดการเคลื่อนที่จากภายนอกเข้าสู่บ้าน ซึ่งในที่นี้ขอ ยกตัวอย่างมลสารทางอากาศเป็นเพียงบางส่วน โดยตัดตอนมาจากเอกสาร ประกอบการดำเนินงานตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ ด้านอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม เรือ่ ง“มลพิษ ทางอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ”ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข2. ดังน้ี ฝุ่นละออง ฝ ุ ่ น ล ะ อ อ ง ( Particulate matter) หมายถึง อนุภาคของแข็งและหยดละออง ของเหลวที่แขวนลอยกระจายในอากาศ ซึ่งมี https://decor.mthai.com/home- ขนาดแตกต่างกันไปตั้งแต่ 100 ไมโครเมตรลงมา idea/tips-home-idea/38321.html บางชนิดมีขนาดใหญ่จนมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น ฝุ่นควันจากการเผาไหม้ 1 มลสาร คอื สารท่ีก่อให้เกิดมลพษิ 2 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/GENERAL/DATA0000/00000195.PDF

4 เชอ้ื เพลงิ ในการประกอบอาหาร การป้ิงย่าง ฝุ่นควันจากการสบู บหุ ร่ี เป็นตน้ แต่ บางชนิดมีขนาดเล็กมากจนมองไม่เห็น ซึ่งฝุ่นเหล่านี้มีส่วนสำคัญต่อการสร้าง ผลกระทบต่อผูอ้ ยูอ่ าศัยอย่างมาก แหลง่ กำเนดิ ฝนุ่ ละอองภายในบ้าน แหล่งกำเนิดฝุ่นในบ้านประกอบด้วย 2 แหล่งหลัก คือ แหล่งกำเนิดจาก กจิ กรรมทกี่ ่อให้เกดิ ฝนุ่ ภายในบ้าน และภายนอกบา้ นพกั อาศัย สำหรับฝ่นุ ภายใน บ้าน เกิดจากเส้นใยจากเสื้อผ้า พรมปูพื้น เครื่องที่นอนโดยเฉพาะพวกที่เป็นนนุ่ สำลี เซลล์ผิวหนังและผมที่หลุดร่วง รังแค เศษอาหาร หรือขนของสัตว์เลี้ยงท่ี แสนน่ารัก เศษชิ้นส่วนเล็ก ๆ และสิ่งขับถ่ายของแมลงโดยเฉพาะแมลงสาบ แบคทีเรีย เชื้อรา รวมทั้งตัวไรที่อาศัยอยูใ่ นฝุ่นละอองทั้งทีต่ ายแล้วและยังมีชีวติ อยู่ ตัวไรในฝุ่นมีขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าแทบไม่เห็น ต้องใช้กล้องขยาย สอ่ งดู มันมีชวี ติ อยไู่ ด้โดยการกินขี้ไคลและรังแคของคน และชอบอาศัยอยู่ตามที่ นอน หมอน พรม เอกสาร หนงั สอื นอกจากนนั้ กย็ ังรวมไปถึง กจิ กรรม ประกอบ อาหารภายในบ้าน โดยเฉพาะการประกอบอาหารประเภทปิ้ง ย่าง เป็น แหลง่ กำเนดิ ฝ่นุ ทสี่ ำคญั ส่วนแหล่งกำเนิดนอกบ้าน จะมาจากฝนุ่ จากการเผาไหม้ ในระบบการขนส่ง การเกษตร (การเผาตอซัง) การเผาขยะ การเผาในทีโ่ ลง่ และ รวมถึงร้านค้าที่มีกิจกรรมการปิ้งย่าง ก็เป็นแหล่งกำเนิดฝุ่นภายนอกบ้านท่ี สามารถเขา้ สู้บา้ นพกั อาศยั เราไม่ยากนกั สำหรับมลพิษทางอากาศจาการประกอบอาหารประเภทปิ้งย่าง ภายใน บ้านที่เราอยู่อาศัย เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคน ทุกคน และมักถูกมองข้าม การประกอบอาหารประเภทปิ้งย่างเป็นกิจกรรมที่ ก่อให้เกิดมลสาร3 หลากหลายชนิดที่ส่งผลกระทบตอ่ คุณภาพชีวิตของคนทุกคน 3 มลสาร คือ สารท่ีกอ่ ใหเ้ กิดมลพิษต่างๆ เช่น ฝ่นุ PM2.5 ในอากาศ เป็นมลสารในอากาศที่ทาใหม้ ลพิษทาง อากาศ ทส่ี ง่ ผงกระทบต่อสขุ ภาพของเรา

5 เช่น เป็นแหล่งก่อฝุ่น PM 2.5 และPM10 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โพลีไซ คลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน สารไดออกซิน สารอินทรีย์ระเหย เป็นต้น ซึ่งมล สารเหล่านี้เมื่อสะสมอยู่ในอากาศที่เราหายใจ ก็จะส่งผลเสียต่อสุขภาพของผู้ อาศัย จนนำไปสู่การเกิดโรคที่ยากต่อการรักษาในท้ายที่สุด เนื่องจากสารมลพษิ อากาศเหล่านี้ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ มีผลกระทบตอ่ การทำงานของปอด เป็นสาเหตุหน่งึ ของโรค “ปอดอักเสบเรือ้ รัง”และ“มะเร็ง” ตัวอย่างฝุน่ ละอองขนาดเลก็ ที่สรา้ งผลกระทบกับมนุษยป์ ระกอบด้วย ฝ่นุ ละอองทม่ี ีขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (ไมครอน) หรอื PM10 เป็น ฝุ่นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 2.5 - 10 ไมโครเมตร มีสภาพเป็นได้ทัง้ ของแขง็ และของเหลวทีค่ วามดันและอณุ หภมู ิปกติ

6 ฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมโครเมตร (ไมครอน) หรือ PM2.5 เป็นอนุภาคของแข็งที่อยู่ในสภาพกึ่งระเหย แขวนลอยอยู่ในอากาศได้นานหลายสัปดาห์ โดยจะมีก๊าซต่าง ๆ ในอากาศ เช่น ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (SO2) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) และสารประกอบอินทรีย์ที่ระเหยได้ (Volatile Organic Compounds; VOCs) ที่ เกิดจากการเผาไ หม้ เช ื้อ เพ ลิ ง เ ป็ น ส่วนประกอบอยู่ด้วย ซึ่งทำให้ PM2.5 เป็น มลสารทางอากาศที่สร้างผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัยของมนษุ ย์เราได้อย่างมาก http://www.amwaytodaythai.com/product/atmosphere/atmosphere-drive-SPM.html ผลกระทบจากฝนุ่ ต่อสขุ ภาพ การได้รบั ฝนุ่ ละอองเขา้ สรู่ ่างกาย กอ่ ให้เกดิ ผลกระทบหลากหลาย ข้นึ อยู่ กบั ขนาดของฝนุ่ ละอองและองคป์ ระกอบทอ่ี ยใู่ นฝุน่ น้ันๆ เชน่ ฝุ่นที่มีขนาดใหญ่ตั้งแต่ 10 ไมโครเมตรขึ้นไป เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะเกิด การระคายเคือง จามและเจ็บคอได้บ่อย โดยส่วนใหญ่ฝุ่นเหล่าน้ีจะถูกจับไว้โดย ขนจมูกและจะถูกขับออกไปกับน้ำมูก ผู้ที่ต้องสัมผัสกับฝุ่นเป็นประจำเป็น ระยะเวลาหน่งึ มโี อกาสเกิดโรคภูมิแพ้ข้ึนได้

7 สว่ นฝุ่นทม่ี ขี นาด PM10 ซึง่ แขวนลอยอยู่ในอากาศได้นาน สามารถผ่าน เข้าสทู่ างเดินหายใจได้ลกึ กวา่ ทำให้เกดิ การระคายต่อกลอ่ งเสยี งและหลอดลมคอ เกิดอาการคนั คอ ไอ เสียงแหบลง ถา้ สมั ผสั เปน็ ประจำระยะเวลานาน ๆ จะเกิด การอักเสบเรอื้ รงั และเซลลใ์ นบรเิ วณน้ันมีโอกาสกลายเป็น มะเร็งได้ https://www.greennetworkthailand.com/pm-2 - 5 - % E0 % B8 % AA%E0 % B8 % B8 % E0 % B8 % 8 2 % E0 % B8 % A0 % E0 % B8 % B2 % E0 % B8 % 9 E- %E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8 %B1%E0%B8%A2/ ขณะที่ฝุ่น PM2.5 สามารถผ่านเข้าไปถึงถุงลมได้ อาจทำใหเ้ กดิ โรคต่างๆ ไดม้ ากมาย ตามรายละเอียดดงั น้ี ... “ฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน มีขนาดเล็กมาก พอทจี่ ะหายใจเข้าไปสปู่ อด และซมึ ผา่ นผนังปอดเข้าสู่กระแส เลอื ด ดังนั้นแล้วผลที่เกิดขึ้นกับร่างกายจึงมีทั้งแบบ ‘เฉียบพลัน’ (เห็นผลใน 1 – 2 วัน) ซึ่งส่วนมากจะเกิดกับ ระบบทางเดินหายใจ คือ ไอ เจ็บคอ หายใจแล้วมีเสียงฟืด ฟาด เลอื ดกำเดาไหล ซ่ึงหากเลอื ดไหลลงคอก็จะทำให้เสมหะ มีเลอื ดเจอื ปน

8 หากเข้าตากจ็ ะทำให้เคอื งตา ตาแดง และหากโดนผวิ หนงั ก็ จะทำใหเ้ กดิ ผน่ื คัน เป็นตมุ่ ได้ ส่วนผลแบบ ‘เร้อื รงั ’ (ค่อย ๆ สะสม แล้วแสดงผลในระยะยาว) คือ เสน้ เลือดหวั ใจตีบตันทำให้ หวั ใจวาย หวั ใจเตน้ ผิดปกติ, เส้นเลือดไปเลย้ี งสมองตีบ ทำใหเ้ กดิ ภาวะอัมพาตหรอื เสียชีวติ , การเปน็ มะเร็งปอดเพราะฝุ่นขนาด เล็กจะมีสารก่อมะเร็ง Polycyclic Aromatic Hydrocarbon (PAH), อกี ระบบคือเข้ารกไปทำอันตรายเดก็ ในทอ้ ง ทำให้เด็ก คลอดกอ่ นกำหนด น้ำหนักน้อย ตดิ เชื้อง่าย ทุพโภชนาการ และ เป็นโรคออทสิ ซึม ซึง่ ผลกระทงผลกระทบเหล่านี้มกี ารยืนยันที่ ตรงกนั จากงานวจิ ัยทั่วโลก”.... https://researchcafe.org/pm2-5-health-infograhic/

9 สรุปเปน็ ผลกระทบตอ่ ร่างกาย ดังภาพ http://cmi.nfe.go.th/lib/Lib_Doisaket/popup.php?name=news 1&file=readnews&id=245

10 สารฟอรม์ าลดีไฮด์ เป็นก๊าซไมม่ สี ี จัดเปน็ พิษทป่ี นเปอ้ื นในอากาศท่ีเป็นปัญหาสุขภาพของ มนุษยท์ ั้งในระยะส้นั และระยะยาว สารชนดิ นี้จะพบในผลิตภณั ฑ์ต่างๆในบ้านพัก อาศัย ได้แก่ เฟอร์นิเจอรใ์ นบา้ นทีท่ าแลคเกอร์เคลือบพืน้ ไม้ ฝ้าเพดานสำเร็จรปู พรมปูพื้น ผนังมีวอลเปเปอร์ เครื่องเรือนที่ใช้ไม้อดั และวัสดุที่เรียกว่า พาร์ทิเคลิ บอร์ด (particle board) ที่ใช้ทำตู้ โต๊ะ และเครื่องเรือน ต่าง ๆ สีทาบ้าน น้ำยาเคลือบเงาไม้ ใยสังเคราะห์ ถุง กระดาษใส่สิ่งของ กระดาษเช็ดหน้า/กระดาทิชชู กาว วทิ ยาศาสตร์ เสอ้ื ผา้ อัดกลีบ เตาแกส๊ หงุ ต้ม และควนั บุหรี่ https://www.facebook.com/sense.design.furniture/photos/a.155941881620179/198929193988114 โดยปัจจัยที่ทำให้ฟอร์มาลดีไฮด์ถูกปล่อยออกจากเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ คือ อุณหภูมิที่สูง และการระบายอากาศ ทไ่ี ม่ดีพอ ซึ่งในสถานการณด์ ังกล่าวนี้ ผู้ที่อยู่อาศัยในบ้าน จึงมีโอกาสอาจ สัมผัสกับฟอร์มาลดีไฮด์ที่แอบแฝง ตามเครื่องไม้ เฟอร์นิเจอร์ ใน ลักษณะต่างๆได้ ทั้งการหายใจ สัมผสั ทางผวิ หนัง และทางปาก 4 4 อนั ตรายจากฟอรม์ าลดไี ฮดใ์ นสานกั งานและท่พี กั อาศยั Hazard of Formaldehyde in Office and Residential Buildingsธนาวุฒิ สรุ าษฎรม์ ณ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อีสเทริ น์ เอเชีย file:///C:/Users/asus/Downloads/134716-Article%20Text-379581-1-10-20180828%20(1).pdf EAU Heritage Journal Science and Technology Vol. 12 No. 2 May-August 2018

11 นอกจากน้ันยังพบว่า มกี ารใชฟ้ อร์มาลดไี ฮด์ เป็นสารถนอมเคร่ืองสำอาง ทำยาสีฟัน ยาบ้วนปาก สบู่ ครีมโกนหนวด ใช้ในน้ำยาดบั กลิ่นตัวและกล่ินอื่น ๆ รวมถงึ ใชใ้ นอตุ สาหกรรมการทำกระดาษเพื่อให้กระดาษลืน่ และกันนำ้ ได้ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ อาการเฉยี บพลนั : กรณที ่ีไดร้ ับสารเขา้ สูร่ า่ งกายในปรมิ าณน้อย อาจทำให้ เกิดการระคายเคืองได้ทั้งต่อระบบทางเดินหายใจและดวงตา ซึ่งเป็นอวัยวะที่มี ความไวต่อสารสูงและฟอร์มาลดีไฮด์เปน็ สารท่ีละลายน้ำไดด้ ี จึงรสู้ ึกระคายเคือง ทางเดินหายใจและเยื่อบไุ ด้ง่าย แมไ้ ด้รับสัมผัสในปรมิ าณเลก็ น้อย หากได้รับเข้า ไปปริมาณมากจะมฤี ทธิ์ระคายเคืองทางเดินหายใจรุนแรง ทำให้เกิดอาการปอด อักเสบและหอบหดื ได้ การสมั ผัสทางผิวหนังทำให้ผิวหนังไหม้เปน็ ผน่ื แดง อักเสบ และหากใช้มอื สมั ผสั สารโดยตรงอาจทำให้เลบ็ ผดิ รปู ที่มา: http://thitiwarada.blogspot.com/2013/08/blog-post.html

12 ส่วนรายละเอียดผลกระทบสุขภาพท่ีเกิดข้ึนจากการได้รับฟอร์มาลดีไฮด์ เข้าสรู่ า่ งกายแตกต่างกันไปตามความเข็มข้นของสารท่ีไดร้ บั ดงั น้ี5 อาการระยะยาว: สารฟอร์มาลดีไฮดเ์ ปน็ มลพิษทางอากาศสามารถพบได้ ในอากาศภายในอาคาร (indoor air) สัมผัสทางการหายใจ ทางผิวหนัง และ ทางการกิน องค์กรสากลของประเทศสหรัฐอเมริกาจัดให้สารฟอร์มาลดไี ฮด์เปน็ สารก่อมะเร็งในมนุษย์ (carcinogen)6 การสัมผัสในระยะยาวมีผลต่อการเกิด มะเรง็ โพรงหลงั จมูก (nasopharyngeal cancer) ไดใ้ นมนุษย์ 5 กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . เอกสารประกอบการดาเนนิ งานตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ ดา้ นอนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม เร่ือง “มลพิษทางอากาศและผลกระทบต่อสขุ ภาพ”มนี าคม 2558 http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/GENERAL/DATA0000/00 000195.PDF 6 อนั ตรายจากฟอรม์ าลดีไฮดใ์ นสานกั งานและทพ่ี กั อาศยั Hazard of Formaldehyde in Office and Residential Buildingsธนาวฒุ ิ สรุ าษฎรม์ ณ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อสี เทริ น์ เอเชยี file:///C:/Users/asus/Downloads/134716-Article%20Text-379581-1-10- 20180828%20(1).pdf EAU Heritage Journal Science and Technology Vol. 12 No. 2 May-August 2018

13 https://www.facebook.com/NHSO.Thailand/photos/a.126899292983 3927/2113463872053491/?type=3

14 โทลอู นี (Toluene) เป็นตัวทำละลายอินทรีย์ (Organic solvent) มีลักษณะเป็นของเหลวใส ไม่มสี ี มกี ลนิ่ คล้ายเบนซีน โทลูอีนจะซอ่ นเร้นพบในผลติ ภณั ฑ์หลายชนดิ เชน่ ทิน เนอร์ แลคเกอร์ กาววิทยาศาสตร์ ฝา้ เพดาน สำเร็จรูปพรมปูพื้น พาร์ทิเคิล บอร์ด ยาทาเล็บ (particle board) สีทาบ้าน สีที่เคลือบ เครื่องเรือนและพื้นไม้ สีวาดรูป หมึกพิมพ์ น้ำมันวานิช น้ำมันเคลือบเงา ยาทาเล็บ ยาล้างเล็บ น้ำยาลบสี น้ำยาทำความ สะอาด ยาฆ่าแมลง และนำ้ ยาล้างคราบมนั และยังพบในควนั บุหร่ี เป็นตน้ 7 7 เอกสารประกอบการดา เนนิ งานตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ ดา้ นอนามยั ส่งิ เเวดลอ้ มเร่ือง มลพษิ ทางอากาศและ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/GENERAL/DATA0000/00 000195.PDF

15 ผลกระทบตอ่ สุขภาพ • อาการเฉียบพลนั ไอระเหยของโทลูอนี จะทำใหร้ ะคายเคืองจมูก คอ ทางเดินหายใจมีอาการไอ หลอดลมตีบ แน่นหน้าอกและปอดบวมน้ำ การสัมผสั ที่ผิวหนังทำให้ผิวแห้ง แดงเกิดผื่นแพ้ และตุ่มน้ำขึ้นได้ หากเข้าตา จะทำให้ ระคายเคืองตา ถ้าเป็นมากอาจเกิดเยื่อบุตาขาวบวมและกระจกตาบวมได้ ฤทธิ์ ตอ่ กล้ามเน้ือหัวใจ ทำใหห้ ัวใจเต้นผิดจังหวะเป็นเหตใุ ห้ผทู้ ่ีสมั ผัสปริมาณสูง อาจ เสียชีวิตแบบเฉียบพลันได้(sudden death) ฤทธิ์กดประสาททำให้ง่วงซึม มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน ความรูส้ ึกตัวลดลง ชกั ความดนั ตกและหมดสตไิ ด้ • อาการระยะยาว การสัมผัสในระยะยาว เช่น ในคนดมกาวหรือจากการ ทำงานที่ไม่มีการควบคุมสภาพแวดล้อมที่ดีพอ จะทำให้มีอาการมึนเมา อ่อนเพลีย ปวดหัว วิงเวียนเบื่ออาหาร ความจำไม่ดี ความสามารถในการคิด คำนวณไม่ดี อาการทางสมอง นี้สามารถเป็นอย่างถาวรได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ตับเสื่อม ไ ต เ ส ื ่ อ ม ( Renal tubular acidosis) ระดับเกลือแร่ในเลอื ดผิดปกติ (hypokalemia)

16 เบนซนี (Benzene)8 เป็นสาร มีลักษณะเป็นของเหลวใสที่อุณหภูมิห้อง ไม่มีสี มีกลิ่นหอม เฉพาะตัว ละลายนำ้ ได้ดเี ลก็ นอ้ ย ระเหยเปน็ ไอไดง้ า่ ยตดิ ไฟง่าย จดั อยู่ในกลมุ่ สาร ตัวทำละลายอินทรีย์ ด้วยคุณสมบัติของเบนซีนที่เป็นตัวทำละลายที่ดี ทำให้ ในชว่ งต้งั แตป่ ลายคริสตศ์ ตวรรษท่ี 19 ได้มกี ารนำเบนซีนมาใช้อยา่ งแพร่หลายใน อุตสาหกรรมตา่ งๆ เช่น อตุ สาหกรรมการผลิตยาง อตุ สาหกรรมผลิตสี หมึกพิมพ์ สารกำจัดแมลง และการผลิตสารเคมีก่อนจำกัดการใช้และทดแทนด้วยสารที่ ปลอดภัยกว่า เมื่อมีรายงานว่าเป็นสาเหตุของ Aplastic anemia และเป็นสาร ก่อมะเร็ง นอกจากนั้นยังพบเบนซนี ในควนั บุหรี่ ควันธปู ผลกระทบต่อสุขภาพ • อาการเฉยี บพลัน: หากไดร้ บั เข้าไปปรมิ าณมากจะมีฤทธิ์กดสมองอยา่ ง ทันทีทันใด ทำให้ปวดหัว คล่นื ไส้ วงิ เวียน จนถึงชักและโคม่าได้ ฤทธิร์ ะคายเคือง เยื่อบุจะทำให้เคืองตา จมูกคอมีอาการไอ แน่นหน้าอก และอาจมีปอดบวมน้ำ ฤทธิ์กระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะเต้นเร็วผิดปกติ การสัมผัส ทางผวิ หนงั ทำใหผ้ ิวหนังไหม้ เป็นผื่นแดง และอกั เสบได้ 8 เอกสารประกอบการดา เนินงานตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉินดา้ นอนามยั สิง่ เเวดลอ้ มเร่อื ง มลพษิ ทางอากาศและ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพhttp://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/GENERAL/DATA0000/00000195.PDF

17 • อาการระยะยาว : เบนซีนทำลายไขกระดูก ทำใหเ้ กดิ มะเรง็ เม็ดเลอื ด ขาวได้ และพิษต่อระบบประสาท ทำให้เกิดอาการตับอักเสบ ระคายเคืองต่อ ผวิ หนัง ทำให้ผวิ แหง้ เปน็ ผ่ืนแดง พพุ อง และตกสะเกด็ ได้ https://khaoroietwannee.com/?p=2941

18 ไซลนี (Xylenes)9 ไซลีน เป็นตัวทำละลายที่ผสมอยู่ในผลิตภัณฑ์หลายชนิด เช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาว สีทาบ้าน สีวาดรูป หมึกพมิ พ์ น้ำมันวานิช น้ำมนั เคลอื บเงา ยาทา เล็บ ยาลา้ งเลบ็ น้ำยาทำความสะอาด สารฆ่าแมลง นำ้ ยาลา้ งคราบมัน และเป็น สารตวั กลางในกระบวนการสังเคราะห์เส้นใยโพลิเอสเตอร์และพบในควันบุหร่ี ผลกระทบตอ่ สุขภาพ อาการเฉียบพลัน: การสัมผัสทาง ผิวหนังจะทำให้เกิดระคายเคือง http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/84/chemistry/solvent.htm ผิวหนงั เป็นผ่นื แพ้ ผวิ แห้ง สัมผัสนาน ๆ อาจทำให้เกิดตุ่มนำ้และเนื้อตายได้ ส่วนการหายใจไอระเหยเข้าไปใน ปริมาณสูง จะทำให้ระคายเคือง ทางเดินหายใจ อาจทำให้ปอดบวมน้ำ ภายใน 48 ชั่วโมง 9 เอกสารประกอบการดา เนนิ งานตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ ดา้ นอนามยั สิ่งเเวดลอ้ มเร่อื ง มลพษิ ทางอากาศและ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพhttp://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/GENERAL/DATA0000/00000195.PDF

19 อาการระยะยาว : หากสัมผัสกับไอระเหยนานติดต่อกันจะทำให้เยื่อตา อักเสบผิวหนังและจมกู แห้ง คอแห้ง ถา้ สมั ผสั กับของเหลวโดยตรงผิวหนังจะเป็น สะเก็ดหรือเป็นโรคผิวหนังชนิดไม่รุนแรง ส่วนการหายใจเอาไอระเหยเข้าสู่ ร่างกาย จะมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง เช่นเกิดอาการชา สั่นกระตุก หวาดกลัว ความจำเสื่อม อ่อนเพลีย จิตใจกระวนกระวาย ทรงตัว ลำบาก ปวด ศีรษะ เบอื่ อาหาร คล่นื เหยี น ทอ้ งอดื

20 แอมโมเนยี (Ammonia) ในบรรยากาศปกติแอมโมเนีย (Ammonia) จะมสี ถานะเป็นกา๊ ซ ไม่มสี ี มี กลิ่นฉุนคลา้ ยกล่นิ ปัสสาวะ มีความเปน็ พิษสูง ละลายนำไ้ ดด้ ี และมีฤทธ์ิกัดกร่อน สูง และด้วยความสามารถในการละลายน้ำได้ดี เป็นส่วนประกอบของสูตรน้ำยา ทำความสะอาดบางชนิด น้ำยาเชด็ กระจก และพบในควันบหุ รี่แอมโมเนยี แอมโมเนีย https://www.thaihealth.or.th/Content/38366%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B 1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0 %B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%83%E0%B8 %99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88.html ผลกระทบต่อสุขภาพ • อาการเฉียบพลัน : การสูดดมแอมโมเนยี เขา้ ไปจะทำใหเ้ นื้อเย่ือร่างกาย ถูกด่างกัดกร่อนอาการมักเกิดขึ้นทันทีที่สัมผัส อาการที่พบได้แก่ แสบตา แสบ จมกู แสบคอ ไอ แน่นหนา้ อกหากสมั ผสั ในปริมาณสงู จะทำใหท้ างเดนิ หายใจบวม เริ่มแรกจะมีอาการเสียงแหบ ไอ จากนั้นจะทำให้เกิดการบวมและอุดกั้นของ ทางเดินหายใจส่วนบนได้ ทางเดินหายใจส่วนล่างจะทำให้หลอดลมตีบ ตรวจ รา่ งกายจะพบเสียงวีด๊ หากสัมผสั ในปริมาณสงู มาก ๆ จะทำใหเ้ กิดภาวะปอดบวม

21 น้ำ (Pulmonary edema) และถึงแก่ชีวิตได้ การสัมผัสที่ตา ถ้าก๊าซมีความ เข้มข้นสูงมากก็อาจกัดกร่อนกระจกตาอย่างรุนแรงแต่โอกาสเกิดน้อยกว่าการ สัมผัสในรูปสารละลายการสัมผสั ที่ผิวหนงั ทำให้แสบไหม้ไดเ้ ช่นกัน ปริมาณและ ผลกระทบต่อสุขภาพในระดบั ต่าง ๆ ดังนี้ • อาการระยะยาว :หากการสมั ผสั ในระยะเฉียบพลันน้นั รนุ แรงสัมผัสใน ปริมาณสูงมากจนเนื้อเยื่อปอดถูกทำลายถาวร แล้วอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการ หอบเหนื่อยจากปอดเป็นพังผืดในระยะยาวได้ การสัมผัสในปริมาณสูงในคร้ัง เดียว อาจทำใหเ้ กดิ เปน็ โรคหอบหืดขน้ึ การสัมผสั ที่ตาอาจกดั กรอ่ นกระจกตาจนมี ปญั หาการมองเหน็ ในระยะยาว

22 คารบ์ อนมอนอกไซด์(Carbon monoxide) คาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon monoxide : CO) เป็นก๊าซชนิ ด หนึ่ง ลักษณะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มี รส เป็นก๊าซที่เกิดขึ้นจากการเผา ไหม้สารอินทรยี อ์ ย่างไม่สมบูรณ์ ท้ัง ในครัวเรือน ระบบการขนส่ง ภาค การเกษตรกรรม และโรงงาน อุตสาหกรรม ผลกระทบต่อสขุ ภาพ • อาการเฉยี บพลนั หากได้รบั คาร์บอนมอนอกไซด์จากการหายใจในระดบั เล็กน้อยถึง ปานกลางจะทำ ให้เกิดอาการปวดศีรษะ อ่อนเพลยี คลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะ กระสับกระส่าย สับสน การมองเห็นผิดปกติ ความดันโลหิตต่ำ หัว ใจเต้นเรว็ และหายใจที่เร็วขึน้ กรณีได้รบั เป็น ปริมาณมาก ๆ จะทำ ให้เกิดภาวะ หมดสติ ชัก ภาวะช็อก กดการหายใจ รวมท้ังระบบหวั ใจและ หลอดเลอื ด ภาวะ

23 สมองบวมและอาจเสียชีวิตได้ ถ้าหากไม่ เสียชีวิตหลังจากที่ได้รับ คาร์บอนมอนอกไซด์ปริมาณมากแล้ว ก็มักจะเกิดภาวะแทรกซ้อนของระบบ ประสาทตามมา เช่น ภาวะหลงลืม การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ ภาวะอารมณ์ ผิดปกติ เปน็ ต้น ทม่ี า:https://witsanook.wordpress.com/2015/09/01/%E0%B8%81%E0%B9%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0% B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%A D%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%94%E0%B9%8C- %E0%B8%A0%E0%B8%B1/

24 http://www.smokefreezone.or.th/media_page/247/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9% 8C%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0% B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88.html

25 • อาการระยะยาว การได้รบั คาร์บอนมอนอกไซด์ในปรมิ าณต่ำ ๆ เป็น ระยะเวลานานจะทำ ให้มีอาการ อาเจียน ถ่ายเหลว ปวดท้อง ปวดศีรษะ ออ่ นเพลยี เวียนศีรษะ ใจส่ันได้ ซึ่งเป็นอาการท่ีไม่เฉพาะเจาะจง แยกได้ยากจาก ภาวะอาหารเป็นพษิ หรือการตดิ เชื้อไวรัส https://www.scimath.org/article-chemistry/item/7856-2018-02-22-02-37-59 ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2 ) มีลักษณะเปน็ สีนํา้ ตาลแกมแดง และมีกลิ่นฉุน เกิดจากกระบวนการเผา ไหม้เชื้อเพลิงที่อุณหภูมิสูง เช่น ยานพาหนะ และโรงไฟฟ้า เป็นต้น การได้รับ ไนโตรเจนไดออกไซด์ สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพโดยก๊าซ ชนิดนี้ในบรรยากาศถูกปลอ่ ยจากการเผาไหม้โดยตรง และเกิดจากปฏิกิริยาโฟโตเคมีคลั ของก๊าซไนตริกออก ไซด์ นอกจากนี้ ทั้งไนตริกออกไซด์และไนโตรเจนได ออกไซด์ ยังเป็นสารต้ังต้นของการเกิดสารมลพษิ ทุตยิ ภูมิหลายชนิด เช่น โอโซน (O3)ในบรรยากาศชั้นโทร โพสเฟียร์ กรดไนตรกิ (HNO3) และอนุภาคแขวนลอย ในรูปของไนเตรต(nitrate aerosol) ซึ่งก่อให้เกิดการ ตกสะสมของกรด เป็นต้น

26 ที่มา : การพัฒนาชุดเก็บขอ้ มูลแบบแพสซิฟในการตรวจวดั ไนโตรเจนไดออกไซดเ์ พื่อใช้ใน ชมุ ชน. สทุ ศั สา วงศร์ าช, 2553

27 https://www.facebook.com/deqpth/posts/3800629513301461/

28 ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ • อาการเฉียบพลัน เน่อื งจากเปน็ กา๊ ซทีล่ ะลายน้ำได้ไมด่ ี ดังนัน้ การรับ สัมผัสในปริมาณน้อยจะทำให้เกิดการระคายเคืองเยื่อบุทางเดินหายใจส่วนบน เพียงเล็กน้อยเท่านั้นมกั ไม่แสดงอาการชัดเจน อาจก่อให้เกิดผลเสยี เนือ่ งจากจะ ไมท่ ำใหเ้ กดิ อาการไอ คนั คอ แสบจมูกซ่ึงเป็นอาการเตอื นท่สี ำคัญ ทำให้มีการสูด ดมไนโตรเจนไดออกไซดเ์ พิม่ เปน็ ระยะเวลานานทำให้รบั สมั ผัสมากขนึ้ ได้ ในกรณี ทส่ี มั ผัสในปริมาณมากจะทำให้เกิดอาการระคายเคืองทางเดนิ หายใจส่วนบน คือ แสบจมูก ไอ เจ็บคอ และมีอาการแสบตาร่วมด้วยได้ อาการสำคัญที่ต้องระวัง ของผู้ที่ได้รับสัมผัสไนโตรเจนไดออกไซด์คือ การระคายเคืองทางเดินหายใจ สว่ นล่างซงึ่ มกั เกิดหลังจากสมั ผัสสารชนิดน้ีไปแล้วประมาณ 24 ช่ัวโมง โดยทำให้ เกิดภาวะน้ำท่วมปอด ซึ่งทำให้ร่างกายขาดออกซิเจนรุนแรงจนเสียชีวิตได้ และ อาการอาจเร็วขึน้ ถ้าสัมผัสในปรมิ าณมากขนึ้ และหลังจากรกั ษาภาวะปอดบวมน้ำ จนดีขึ้นแล้ว อาจเกิดภาวะหลอดลมฝอยอุดกั้น ซึ่งเกิดจากการอักเสบอย่าง ตอ่ เนือ่ งและเกิดพงั ผืดในหลอดลมฝอย

29 ภาพรวมของตวั อยา่ งมลสารทางอากาศทพี่ บในบา้ นพกั อาศัยเราได้ดงั นี้

30 การจดั การมลพิษทางอากาศในบ้าน อากาศภายในบ้านพักอาศัยของเรานั้น หากมีการปนเปื้อนด้วยสารพิษหรือส่ิง ปนเปื้อนที่ทำให้เกดิ สภาพอากาศที่ไม่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิต ทั้งที่เกิดขึน้ จากกิจกรรม ภายในบ้านและมลพิษทางอากาศที่เกิดจากกิจกรรมจากภายนอกเคลื่อนที่เข้าสู่บ้านพัก อาศัยของเรา จนเป็นต้นเหตุสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้อยู่อาศัย และเกิดโรค ร้ายนานาชนิด ดังนั้นการจัดการอากาศในบ้านให้เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตจึงเป็น สิ่งจำเป็น และหากการจัดการดังกล่าวสามารถทำได้โดยงา่ ย ใคร ๆ ก็ทำได้ แถมยังไม่ทำ ร้ายสิ่งแวดลอ้ มในมิติอ่ืน ๆ ก็เป็นทางเลือกหน่ึงของการใช้ชวี ติ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมท่ี ใคร ๆ กแ็ สวงหา การบำบัดสารมลพิษ(สิ่งเป็นพิษที่ปนเปื้อน)ในสิ่งแวดล้อม ทั้งในดิน น้ำ และ อากาศโดยการใช้เทคโนโลยีการกำจัดและบำบัดสิ่งปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมดังกล่าว มี หลากหลายวิธี การใช้ต้นไมน้ านาชนิดเปน็ เคร่ืองมอื ในการบำบัดสงิ่ ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม (เทคโนโลยี phytoremediation) 10เป็นวธิ กี ารจัดการส่ิงแวดลอ้ มรูปแบบหนึง่ ทีไ่ ดร้ ับความ สนใจ เนอื่ งจากเปน็ เทคโนโลยจี ากธรรมชาติ ทำได้งา่ ย ไม่ย่งุ ยาก ตวั อยา่ งเชน่ ดา้ นการบำบัดน้ำเสยี มีการใช้ต้นไมน้ านาชนดิ เป็น เทคโนโลยีธรรมเพื่อบำบัดน้ำเสีย เช่น การใช้ต้น โกงกางในป่าชายเลน ผักตบชวา หญ้าแฝก บำบัด น้ำเสียในชุมชน การใช้ต้นไม้นานาชนิดดูดซับ สารพิษทป่ี นเป้ือนในดิน เชน่ การใชต้ ้นดาวเรอื ง11 ตน้ กล้วยดดู ซับสารหนูจากดิน การใชต้ ้น ทานตะวนั ดึงดูดโลหะหนกั (สังกะสี ตะกั่วและทองแดง12)เพ่อื ลดความเปน็ พษิ ในดิน เปน็ ต้น 10 การบำบดั สารมลพิษโดยใชเ้ ทคโนโลยี phytoremediation คอื การเลือกใชพ้ ชื ในการบำบัดสารมลพษิ ในบรเิ วณที่มกี าร ปนเปอื้ น เพื่อลดอันตรายของสารมลพิษตอ่ มนษุ ย์และส่ิงแวดลอ้ ม เทคโนโลยีนสี้ ามารถประยกุ ตใ์ ช้ในการบำบัดสารมลพิษทง้ั ทอ่ี ยู่ ในรปู สารอินทรยี แ์ ละสารอนินทรีย์ทอ่ี ยใู่ นตัวกลาง ดนิ นำ้ หรือ อากาศ เบนซนิ โทลูอนิ ไซลีน เป็นตน้ จงึ เป็นการบำบดั สารมลพิษ โดยการพง่ึ พาสง่ิ ท่มี ีอยแู่ ล้วในระบบธรรมชาติ ซ่ึงถอื วา่ เปน็ วธิ ีท่ปี ระหยัดตน้ ทนุ ในการบำบัดสารมลพษิ โดยไม่จำเปน็ ต้องใช้สารเคมีที่ มรี าคาแพง และเป็นสาเหตขุ องการทำลายธรรมชาติhttp://siweb.dss.go.th/information/FAQ/search_FAQ.asp?QA_ID=447 11 เทดิ ศกั ด์ิ โทณลกั ษณ สมุนไพรดูดซับสารพิษในดิน - มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้ file:///C:/Users/asus/Downloads/erp256401050943450ee68c3ce5eb44ad9ea6041c4b814201.pdf file:///C:/Users/asus/Downloads/erp256402030711488312a56c931744179e9130ec98763179.pdf 12 ดวงกมล คำสอน1*และ ชมพูนทุ ไชยรกั ษ์1

31 สำหรับด้านการบำบัดสารมลพิษทางอากาศ หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “การใช้ ต้นไม้ดูดสารพิษจากอากาศ” ก็เป็นทางเลือกหนึ่งที่กำลังได้รับความสนใจในปัจจุบัน ซ่ึง ตน้ ไมส้ ามารถใชด้ ูดสารพิษในอากาศไดท้ ้ังภายในบา้ นพกั อาศัยและรอบบ้านของเรา ท่ีมาของการใชต้ น้ ไม้ดูดสารพษิ จากอากาศ” จุดเริ่มของการใช้ต้นไม้ดูดสารพิษจากอากาศนั้น เกิดจากผลการศึกษาวิจัยของ ดร.บี ซี วูฟเวอร์ตัน ( Dr. B. C. Wolverton/ Billy C. Wolverton ) นักวิจัยแห่ง สถาบันวิจัยอวการศ NASA พบวาการปลกู ตนไมในอาคารเปนวิธีการกรองอากาศที่รวดเร็ว และมปี ระสทิ ธภิ าพในการลดมลสารทางอากาศในอาคารได้ (ฟอรมัลดไี ฮด ไตรคลอโรเอทธิ ลีน(TCE) เบนซนี และคารบอนมอนนอกไซด) 13 13 การวิจยั สมรรถนะการลดกา๊ ซคารบอนไดออกไซดของพืชดูดสารพษิ เพือ่ คณุ ภาพอากาศทดี่ ีภายในอาคาร พนธวรรธน์ วงษรักษ์ พาสินสี นุ ากร และพชั รยี า บุญกอแก้ว http://researchconference.kps.ku.ac.th/article_7/pdf/p_sci_tech29.pdf

32 ตน้ ไม้ลดสารพิษในอากาศได้อยา่ งไร? ต้นไม้สามารถดูดซับสารพิษในอากาศ แล้วเปลี่ยนกลับมาเป็นอากาศดี ให้เรา หายใจได้ ซึ่งความสามารถดังกล่าวเกี่ยวข้องกับกระบวนการคายน้ำทางปากใบของตน้ ไม้ นานาชนดิ และโดยเฉพาะอย่างย่ิงตน้ ไม้ทเี่ ป็นไม้ประดับจะคายนำ้ ได้สงู กวา่ ต้นไมอ้ ืน่ การคายน้ำของต้นไม้จะทำให้อุณหภูมิของผิวใบไม้แตกต่างจากอากาศภายนอก ทำให้เกิดการไหลเวยี นของอากาศจากภายนอกซ่ึงมีสารพิษปนเป้ือน สามารถเคลื่อนเข้าสู่ ภายในใบ ต้น และเคลื่อนตัวลงสูร่ าก ซึ่งเป็นบริเวณที่มีจุลนิ ทรีย์จำนวนมากทำหน้าที่ยอ่ ย สลายสารพิษไปเป็นอาหาร กิจกรรมดังกล่าวนี้ทำให้ต้นไม้จึงมีคุณสมบัติในการดูดซับ สารพิษได้ และหากจะอธิบายในเชิงของกลไกการดูดซับสารพิษจากอากาศของต้นไม้ สามารถอธบิ ายได้วา่ เกิดจาก 3 กลไกหลักดงั นี้ 1.กลไกการดดู ซึม ต้นไมแ้ ตล่ ะชนดิ มกี ารดูดซึม(absorption) มลพิษในรูปของก๊าซ ผ่านทางปากใบ การดูดซึมก๊าซในบรรยากาศผ่านทางปากใบและผิวใบ ทำให้ก๊าซพิษใน อากาศดูดซึมเข้าสู่ต้นไม้ได้ด้วยกระบวนการดูดซึม โดยเฉพาะไม้ท่ีมีใบเรียบ กว้าง มี ศักยภาพในการลด ออกไซด์ของไนโตรเจน ซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ โอโซน14 และโอโซน ตัวอย่างเช่น ใบทองกวาว ซึง่ เป็นต้นไมช้ นดิ หนึ่ง ทจ่ี ัดอยใู่ นกลุ่มท่สี ามารถลด ออกไซด์ของไนโตรเจน ซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ และโอโซน ตามฐานขอ้ มลู พรรณไม้ทม่ี ี ศกั ยภาพลดมลพษิ ในพนื้ ท่จี ังหวัดระยองและพ้ืนทใ่ี กลเ้ คยี ง ฉบบั ประชาชน เอกสารภายใต้ โครงการชุมชนอยคู่ ู่อุตสาหกรรม (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ) ตน้ ใบละบาท 14 สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ พรรณไมท้ ม่ี ศี กั ยภาพลดมลพษิ ในพื้นท่ีจงั หวัดระยองและพนื้ ท่ีใกล้เคยี ง ฉบบั ประชาชน เอกสารภายใตโ้ ครงการชุมชนอย่คู อู่ ตุ สาหกรรม

33 นอกจากนน้ั ยงั มีการรายงานผลการศึกษาวา่ ไม้เล้ือยหลายชนิด เชน่ ใบระบาท เครือออน(พวงประดิษฐ)์ เลบ็ มือนาง ก็สามารถนำมาใช้ในการดกั จับฝุน่ ในพืน้ ทีเ่ มอื งทม่ี ีตึก สงู และถนนแคบได้ โดยทำเปน็ สวนประดษิ ฐ์แนวตงั้ บนตกึ และบริเวณรอบ ๆถนนในพ้นื ที่ เมอื ง จะชว่ ยลดฝุ่นได้อยา่ งดี (ธรรมรัตน์ พุทธไทย,และคณะ)15 พวงครามและเลบ็ มอื นาง 2. กลไกการดูดซับ ตน้ ไมห้ ลายชนดิ มกี ารดูดซบั (adsorption) มลพษิ ในรปู ของ ก๊าซไวท้ ผ่ี ิวใบ สารพษิ ในอากาศหลายชนดิ เชน่ สารประกอบอินทรยี ์ ประเภทโพลีคลอริ เนตไบฟินิล(polychlorinated biphenyls-PCBs) ไดออกซนิ (dioxins) และฟูแรน (furans) โดยผวิ ใบทำหน้าทีเ่ ป็นทพ่ี กั ของสารเหล่าน้ี เพ่อื แลกเปล่ียนสารเหล่านอ้ี ย่างช้า ๆ ภายในโครงสรา้ งของใบ การดดู ซับของผิวใบเกดิ ข้ึนตลอดเวลา ผิวใบของต้นไมแ้ ตล่ ะชนิด จะแตกต่างกนั ต้นไมท้ ่ีมใี บหนาแน่น ผวิ ใบมีลักษณะหนาและเปน็ ไข สามารถดูดซบั สาร ประกอยอินทรยี ร์ ะเหยได้ดี ตวั อยา่ งเชน่ ต้นไทรย้อยใบแหลม 15 มาตรการระยะยาวเพ่อื ควบคมุ คุณภาพอากาศใหเ้ หมาะสมโดยใชพ้ ชื พรรณทีม่ ศี กั ยภาพ ในการดักจบั ฝนุ่ ละอองในอากาศ ลงทนุ นอ้ ยแต่ได้ผลระยะยาว

34 ใบไทรย้อย ไทรยอ้ ยแต่ละสายพันธุ์นั้นจะมลี กั ษณะของใบที่แตกต่างกันเล็กนอ้ ย ใบเปน็ ใบเดย่ี ว ออกเรยี งสลับ ลักษณะของใบเป็นรปู รีแกมรูปไข่ บางตน้ ลกั ษณะของใบเปน็ รปู กลมป้อม สว่ นบางพรรณกเ็ ปน็ รปู ยาวรี แต่โดยท่ัวไปแล้วใบจะมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-5 เซนตเิ มตร และยาวประมาณ 5-11 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบ สว่ นขอบใบเรียบหรอื เป็น คลน่ื เล็กน้อย แผ่นใบคอ่ นขา้ งหนาเป็นสีเขยี วเรยี บเปน็ มนั เหมอื นกันหมด เส้นแขนงใบมีขา้ งละประมาณ 6-16 เส้น สว่ นเส้นแขนงใบยอ่ ยเรียงขนานกนั มีตอ่ มไขทโี่ คนเสน้ กลางใบ ก้านยาวประมาณ 0.5-2 เซนตเิ มตร มหี ูใบยาว ประมาณ 0.5-2.8 เซนติเมตร ร่วงไดง้ า่ ย เกลี้ยงหรือมีขน ข้ึนประปราย https://medthai.com/%E0%B9%84%E 0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A2% E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2/ เขา้ ถึง 8.01.21 3. กลไกการการตกกระทบ ต้นไม้หลายชนดิ สามารดักจบั ฝนุ่ ละอองในอากาศได้ โดยกลไกการตกกระทบ (impaction processes) โดยฝนุ่ ละอองในอากาศจะตกลงบนผิว ใบของตน้ ไม้นานาชนิด โดยทผี่ ิวใบของตน้ ไม้แต่ละชนดิ จะสามารถดักจับฝุ่นละอองใน อากาศได้แตกต่างกนั เช่น ตน้ ไม้ทม่ี ีใบ เรียวเลก็ ใบหยาบ มีขน เหนียว มี ศกั ยภาพในการลดฝุน่ ละอองได้ดี16 ทมี่ า: ธรรมรัตน์ 16 พรรณไมท้ ่มี ศี กั ยภาพลดมลพิษ ในพนื้ ทจี่ งั หวดั ระยองและพ้ืนทีใ่ กลเ้ คียง ฉบับประชาชน เอกสารภายใต้โครงการชมุ ชนอยู่คู่ อตุ สาหกรรม สำ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

35 เคราฤาษี เปน็ ตัวอยา่ งของตน้ ไมท้ ่ีดกั ฝุน่ ละอองได้ดี เนื่องจากมีคุณสมบัติดั17งนี้ • มีใบขนาดเลก็ ทำให้มีพนื้ ทม่ี ากกวา่ พชื ท่ีใบขนาดใหญ่ จงึ ทำให้สามารถกักเกบ็ ฝุน่ ละอองไดม้ ากกวา่ • ใบตอ้ งมคี วามหนาแน่นพอสมควร ทำใหม้ วลอากาศทเี่ คลลื่อนที่เข้าไป เคลอื่ นไหวได้ยาก ทำใหฝ้ ุ่นละอองไม่สามารถฟ้งุ กระจายได้ • มีการผลดั ใบอยา่ งสมำ่ เสมอเพอื่ ใหม้ พี น้ื ที่สำหรับรองรบั ฝุ่นละอองได้ • ใบมีลกั ษณะเปน็ นขนขนาดเลก็ จำนวนมาก ทำให้สามารถกกั เกบ็ อนุภาคของ ฝุ่นละอองไดม้ าก http://www.liekr.com/post12063601015691 ตัวอย่างตน้ ไม้ท่ีใช้ดดู สารพษิ ในบ้าน ในที่นี้ขอยกตวั อย่างต้นไม้ทีม่ ีคณุ สมบัติลดสารมลพษิ ทางอากาศในบา้ นได้ โดย แบ่งออกเป็น 2 สว่ น คอื ส่วนท่ี 1 ตัวอย่างตน้ ไม้ทีส่ ามารถปลูกภายในบ้าน และสามารถ ลดสารมลพษิ ทางอากาศได้ สว่ นที่ 2 เปน็ งานวจิ ยั เกย่ี วกบั ตน้ ไม้ที่ปลูกภายนอกอาคาร บา้ นพักอาศัยและสามารถลดสารมลพษิ ทางอากาศได้ ส่วนท่ี 1 เปน็ ตวั อย่างตน้ ไมท้ ีส่ ามารถปลกู ภายในบ้าน และสามารถลดสาร มลพิษทางอากาศได้ ประกอบดว้ ยตน้ ไมจ้ ำนวน 31 รายการทีม่ คี ณุ สมบตั ิดดู สารมลพิษใน อากาศจำนวน 7 ชนดิ ดงั ตาราง 17 พรชัย ปรชี าปญั ญา, 2552 อา้ งใน นฤพร ดวงจันทร์ .2559 การใช้ตน้ เครากฤาษตี รวจติดตามฝุ่นละอองรอบโรงแยกกา๊ ซ. วทิ ยานิพนธ์ ปริญญา วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์

36

37 สว่ นที่ 2 เป็นงานวจิ ยั เกยี่ วกบั ตน้ ไมท้ ป่ี ลกู ภายนอกอาคารบา้ นพักอาศัยและสามารถลด สารมลพิษทางอากาศได้ ขอยกตัวอย่างต้นไม้ท่ีมคี ุณสมบตั ลิ ดมพษิ ทางอากาศท่ีได้จาก การศึกษา 2 กรณ๊ คือท่ีจงั หวดั เชยี งใหม่และจังหวัดระยอง ดังนี้ 2.1 กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองในจังหวัดเชียงใหม่: จังหวัดเชียงใหม่ เป็นจังหวัดหนึ่งที่ประสบกับปัญหาวิกฤตมลพิษทางอากาศ โดยปริมาณฝุ่นละอองเกินคา่ มาตรฐานจนอยู่ในระดับที่เป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพ และมีระดบั ของออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) และโอโซน(Ozone) สูง จนส่งผลจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดิน หายใจ โรคหลอดเลือดหัวใจ และมะเรง็ ปอดเพม่ิ ขน้ึ ในอัตราท่สี ูงมาก จนทำให้ทุกภาคส่วน ต้องเข้าร่วมมือกันหาแนวทางในการจัดการกับปัญหามลพิษทางอากาศดังกล่าว ซึ่ง มาตรการหนง่ึ ทไ่ี ดร้ ับความสนใจอย่างยง่ิ กค็ อื การใช้ประโยชน์จากต้นไมเ้ ปน็ เทคโนโลยีการ ปรับปรุงคุณภาพอากาศให้กลบั คนื สปู่ กติ ผลจากความรว่ มมือของทุกภาคสว่ น ทำใหเ้ กิดองคค์ วามรกู้ ารใช้ตน้ ไม้ปรบั ปรุง คณุ ภาพอากาศในมติ ติ ่าง ๆ เช่น • ค้นพบหลักในการเลอื กใชต้ น้ ไม้ลดฝ่นุ มีขอ้ ควรพจิ ารณาดังนี้ 1) ต้นไม้ตระกลู สน มีประสทิ ธภิ าพในการดูดซบั ฝนุ่ ละอองมากกว่าไมผ้ ลดั ใบ 2) ไม้ผลดั ใบที่มผี วิ ใบหยาบหรอื มีขน จะมปี ระสิทธิภาพมากกวา่ ต้นไมท้ ่ีมี ผิวเรยี บมัน 3) ไม้ไม่ผลดั ใบจะมีประสทิ ธภิ าพดีกว่าไม้ผลดั ใบ 4) พชื พนั ธ์ทุ ม่ี พี ืน้ ที่ผวิ ใบโดยรวมมากกว่าจะสามารถดกั ฝุน่ ได้มากกวา่ พชื พันธ์ทมี่ ีพืน้ ทผี่ ิวใบน้อยกวา่ ตน้ ไม้ใหญจ่ ึงมปี ระสทิ ธภิ าพสูงกว่าไมพ้ มุ่ ขนาดเลก็ 5) พืชพันธทุ์ ่มี พี ื้นทผี่ วิ ใบโดยรวมมากกวา่ จะสามารถดักจบั ฝุ่นละอองได้ มากกว่าพชื พันธ์ุทีม่ พี นื้ ท่ีผิวใบน้อยกว่า ดังนัน้ ต้นไมใ้ หญแ่ ละไมพ้ ุ่มท่ีมี ใบขนาดเลก็ จำนวนมากจึงมีประสทิ ธภิ าพในการดักจับฝนุ่ ละอองสูงกวา่ ต้นไม้ทีม่ ีใบขนาดใหญ่แต่มีจำนวนใบนอ้ ย

38 • คน้ พบ 28 ชนดิ ต้นไม้ (ตาราง) ทีส่ ามารถใช้ในการปรบั ปรุงคุณภาพอากาศท่ี เหมาะสมกับกับระบบนิเวศของจงั หวดั เชยี งใหม่ โดยตน้ ไม้เหล่านั้นสามารถใชเ้ พ่ือการขจัด ขจัดฝนุ่ ละอองท่ีมีขนาดไมเ่ กนิ 10 ไมครอน (PM10) กา๊ ซออกไซดข์ องไนโตรเจน (NOx) และโอโซน(Ozone) สว่ นประสิทธิภาพในการปรบั ปรุงคุณภาพอากาศของตน้ ไม้แต่ละชนิด จะมคี วามแตกตา่ งกนั ดงั รายละเอยี ดในตาราง คือ ระดบั 1 (X) (ประสทิ ธภิ าพต่ำสดุ ) ถึง ระดบั 5 (XXXXX) (ประสิทธิภาพสูงสดุ )ดังรายละเอยี ดในตาราง

39 ตารางการประมาณการประสทิ ธิภาพในการขจดั ฝุ่นละอองที่มีขนาดไมเ่ กนิ 10 ไมครอน (PM10)และมลพษิ ในสถานะก๊าซ (ออกไซดข์ องไนโตรเจน (NOx) และโอโซน(Ozone) ของ ตน้ ไม้ใหญช่ นดิ ต่าง ๆทส่ี ำคญั ในจังหวดั เชยี งใหม(่ คา่ ในแต่ละชอ่ งไม่มีความสัมพนั ธก์ ัน) 2.2 กรณีศกึ ษาในพน้ื ที่ทีม่ คี วามเส่ยี งด้านมลพษิ ทางอากาศสงู บริเวณที่เขตรอย ของพื้นที่ชุมชนกับพื้นที่อุตสาหกรรมในจังหวัดระยองทำให้สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี แนวคิดการป้องกันและบรรเทามลพิษด้วยการใช้ต้นไม้นานาชนิดเพื่อปรับปรุงคุณภาพ อากาศให้มีความเหมาะสมต่อการดำรงชีวิต โดยมีการรวบรวมต้นไม้ท่มี ีศกั ยภาพลดมลพิษ ทางอากาศใน 3 กลุ่มหลัก คือ 1) ต้นไม้มีศักยภาพลด ออกไซด์ของไนโตรเจน ซัลเฟอร์ได

40 ออกไซด์ และโอโซน 2) ต้นไม้มีศักยภาพลดสารอินทรีย์ระเหยง่าย โพลีคลอริเนตเตดไบ ฟนี ลิ (พีซบี )ี ไดออกซิน และฟูแรน18 และ 3) ต้นไม้มีศกั ยภาพลดฝนุ่ โดยพบพรรณไม้ที่มี ศกั ยภาพลดมลพษิ ด้านอากาศ ทีเ่ หมาะสมกับระบบนิเวศและวถิ ีชีวิตในพน้ื ที่จงั หวัดระยอง และพืน้ ทีใ่ กล้เคียง ทง้ั สิน้ จำนวน 232 ชนิด ซึง่ ในท่นี ี้ขอยกตัวอย่างเพียงบางส่วนดังนี้ ต้นไม้มีศกั ยภาพในการลด ออกไซดข์ องไนโตรเจน ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ โอโซน19 และโอโซน เป็นตน้ ไม้ทีม่ ีใบเรยี บ กวา้ ง ตัวอย่างเชน่ กระดงั งาไทย กระถินณรงค์ กลว้ ย ทองกวาว การเวก ชุมเห็ดเทศ ทรงบาดาล ทองกวาว ทุเรยี น ไทร ยอ้ ยใบแหลม นนทรี เบญจมาศ ประกายเงิน ประดู่ บ้าน) พะยอม มะขาม ม ยางอนิ เดยี ยคู าลิปตัส วาสนา สบดู่ าํ สะเดา อโศกอินเดีย อนิ ทนลิ นำ้ ต้นไม้มศี กั ยภาพในการลด สารอินทรียร์ ะเหยง่าย20 โพลีคลอรเิ นตเตดไบฟีนิล (พซี ีบี) ไดออกซนิ /ฟแู รน เป็นตน้ ไม้ท่ีผิวใบมลี ักษณะหนาและเปน็ ไข ตวั อยา่ งเชน่ กระถนิ ณรงค์ กระถินเทพา ขนนุ ตะแบก ไทรย้อยใบแหลม บอสตนั เฟริ น์ บานบุรี ไทรยอ้ ยใบแหลม เหลือง บุนนาค ปรง ยางแดง หมากเหลือง 18 พษิ ของสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยง่าย พซี ีบี ไดออ๊ กซนิ /ฟิ วแรน 1.พิษของสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ย เชน่ เบนซนี (ดผู ลกระทบจากเบนซนี ) 2.พษิ ของพีซบี ี :สะสมในรา่ งกายทลี ะเลก็ นอ้ ยเป็นเวลานานจนเกิดอาการเรอื้ รงั ในท่สี ุด อาการเร่ิมแรกของการเกดิ พิษคือ เหนอื่ ยลา้ เบ่อื อาหาร คลืน่ ไส้ อาเจยี น และแขนขาเกดิ อาการบวม อาการต่อมาทรี่ ูจ้ กั กนั ดแี ละเห็นไดช้ ดั คือ เกดิ ฝีและตุ่มเล็กๆ ทผี่ ิวหนงั ผวิ หนงั และเล็บคลา้ เปลอื กตาบวม นอกจากนีย้ งั อาจทาลายระบบประสาท ทาใหเ้ กิดความผิดปกตขิ องระบบสบื พนั ธุ์ และระบบภูมคิ ุม้ กนั และอาจทาใหเ้ กดิ เป็นมะเร็ง 3.พษิ ไดอ๊อกซิน/ฟิวแรน :พษิ เรอื้ รงั ทาใหน้ า้ หนกั ตวั ลดลง เกดิ ความผดิ ปกติทตี่ บั เซลลต์ บั ตาย และเกดิ อาการโรคผวิ หนงั อกั เสบการเป็นสารก่อมะเร็ง 19 พรรณไมท้ ีม่ ศี ักยภาพลดมลพิษ ในพนื้ ทจี่ ังหวดั ระยองและพนื้ ที่ใกลเ้ คียง ฉบบั ประชาชน เอกสารภายใตโ้ ครงการชุมชนอยคู่ ูอ่ ุตสาหกรรม สา นักงานนโยบายและแผน ทรพั ยากรธรรมชาติ 20 พรรณไมท้ ่ีมศี ักยภาพลดมลพิษ ในพ้ืนทจี่ ังหวดั ระยองและพ้นื ท่ใี กล้เคยี ง ฉบับประชาชน เอกสารภายใตโ้ ครงการชมุ ชนอยูค่ ู่ อตุ สาหกรรม สำ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

41 ต้นไม้ดกั จบั ฝุ่นละออง เปน็ ตน้ ไมท้ ี่มีใบเรยี วเล็ก ใบหยาบ มีขน เหนียว ตวั อย่างเช่น กระจดู (กก)/กระถินณรงค์ /กระถนิ เทพา/ กระทอ้ น/การเวก / เกลด็ ปลาชอ่ น/ขนุน /ขนุนป่า /ข่อย/ แคแสด/ จามจุรี (ก้ามป)ู /ดาวเรือง / ตะโกสวน/ ตะขบฝร่ัง (ตะขบบา้ น)/ ตะแบก/ ตาลโตนด/เต่ารา้ ง/ทองกวาว/นกยงู ฝรง่ั (หางนกยงู ฝรง่ั ) เบญจมาศ ปรง/พกิ ลุ มะขามปอ้ ม/มะมว่ งป่า มะหวด/มะหาด /ยางนา /สนฉัตร/สนทราย/ สน ทะเล/ สนประดพิ ทั ธ/์ หูกระจง ตน้ มะหาด สรุปรายการต้นไม้นอกบา้ นท่ีชว่ ยดูดสารพษิ ในอากาศ ลดการเคลอ่ื นทขี่ องสารพษิ เข้าส่บู ้านพกั อาศัย ดงั ตาราง

42 ต้นไม้ ลด ออกไซด์ของ ลดสารอินทรีย์ระเหย ดักจับฝุ่น ไนโตรเจน /ซัลเฟอร์ได งา่ ย /โพลคี ลอริเนตเตด ออกไซด์ /โอโซน ไบฟีนิล(พซี ีบี) /ไดออก ละออง ซิน/ฟูแรน 1 แคแสด x 2 ตะแบก x 3 พะยอม x 4 สนทะเล x 5 กระจูด (กก) x 6 กระดังงาไทย x 7 กระถินณรงค์ x 8 กระถินณรงค์ xx 9 กระถินณรงค์ x 10 กระถินเทพา x 11 กระถินเทพา x 12 กระท้อน x 13 กลว้ ย x 14 การเวก x x 15 เกลด็ ปลาช่อน x 16 ขนนุ x 17 ขนนุ x 18 ขนุนป่า x 19 ข่อย x 20 จามจุรี (ก้ามปู) x 21 ชุมเหด็ เทศ x 22 ดาวเรือง x 23 ตะโกสวน x 24 ตะขบฝรง่ั (ตะขบบ้าน) x 25 ตะแบก x 26 ตาลโตนด/ x 27 เต่าร้าง x 28 ทรงบาดาล x 29 ทองกวาว x 30 ทองกวาว x 31 ทุเรียน x 32 ไทรย้อยใบแหลม x

43 ต้นไม้ ลด ออกไซด์ของ ลดสารอินทรีย์ระเหยงา่ ย ดักจับฝุ่น 33 ไทรย้อยใบแหลม ไนโตรเจน /ซัลเฟอร์ได /โพลคี ลอริเนตเตดไบ ละออง 34 นกยูงฝรง่ั (หางนกยูงฝรง่ั ) 35 นนทรี ออกไซด์ /โอโซน ฟีนิล(พซี ีบี) /ไดออกซิน/ x 36 บอสตันเฟิร์น x ฟูแรน 37 บานบุรีเหลอื ง x x 38 บุนนาค x x x 39 เบญจมาศ x 40 เบญจมาศ x x x 41 ปรง x x x 42 ปรง x x 43 ประกายเงิน x x 44 ประดู่บ้าน x x 45 พกิ ุล x x x 46 มะขาม x 47 มะขามป้อม x 48 มะม่วงป่า x x 49 มะหวด x x 50 มะหาด x 51 ยางแดง x x 52 ยางนา 53 ยางอินเดีย 54 ยูคาลปิ ตัส 55 วาสนา 56 สนฉัตร 57 สนทราย 58 สนประดิพัทธ์ 59 สบู่ดํา 60 สะเดา 61 หมากเหลอื ง 62 หกู ระจง 63 อโศกอินเดีย 64 อินทนลิ นาํ

44 เอกสารอ้างองิ กรมอนามยั . 2558. กระทรวงสาธารณสุข. เอกสารประกอบการดำเนินงานตอบ โตภ้ าวะฉกุ เฉินด้านอนามัยส่งิ แวดล้อม เร่ือง “มลพษิ ทางอากาศและ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/GENERAL/DATA0000/00000195.PDF กองประเมนิ ผลกระทบตอ่ สุขภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ .รู้ รบั (มอื ) ปรบั ตวั ป้องกนั ความเส่ยี งตอ่ สุขภาพจากสิ่งแวดลอ้ ม ธนาวุฒิ สรุ าษฎรม์ ณี. อันตรายจากฟอร์มาลดีไฮดใ์ นสำนักงานและที่พัก อาศยั . Journal Science and Technology Vol. 12 No. 2 May- August 2018 file:///C:/Users/asus/Downloads/134716-Article%20Text-379581-1-10-20180828%20(1).pdf นฤพร ดวงจันทร์ .2559 การใช้ตน้ เครากฤาษีตรวจตดิ ตามฝ่นุ ละอองรอบโรงแยกกา๊ ซ. วิทยานพิ นธ์ ปริญญา วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พนธวรรธน์ วงษรกั ษ์ พาสนิ ีสุนากร และพัชรียา บุญกอแกว้ การวจิ ยั สมรรถนะการลดก๊าซ คารบอนไดออกไซดของพชื ดดู สารพิษเพื่อคณุ ภาพอากาศท่ีดภี ายในอาคาร http://researchconference.kps.ku.ac.th/article_7/pdf/p_sci_tech29.pdf พิมพ์ : 2559 http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/GENERAL/DATA0000/00000195.PDF สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ พรรณไมท้ ่มี ศี ักยภาพลดมลพิษ ในพน้ื ที่ จงั หวัดระยองและพื้นที่ใกลเ้ คียง ฉบบั ประชาชน เอกสารภายใตโ้ ครงการชุมชนอยู่คู่ อุตสาหกรรม สำนักอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ คูม่ ือการปฏิบัติงาน เพอ่ื การตรวจประเมินคณุ ภาพอากาศภายในอาคาร สำหรับเจา้ หน้าที ปีที่ สทุ ัศสา วงศ์ราช.2553. การพฒั นาชุดเกบ็ ขอ้ มูลแบบแพสซฟิ ในการตรวจวัด ไนโตรเจนไดออกไซด์เพอื่ ใชใ้ นชุมชน. http://www.amwaytodaythai.com/product/atmosphere/atmosphere-drive- SPM.html

45 http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/84/chemistry/solvent.htm http://www.smokefreezone.or.th/media_page/247/%E0%B9%82%E0%B8%9 B%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9 %8C%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0% B8%A9%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0 %B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5% E0%B9%88.html https://researchcafe.org/pm2-5-health-infograhic/ https://researchcafe.org/pm2-5-health- infograhic/http://cmi.nfe.go.th/lib/Lib_Doisaket/popup.php?name=news1&fil e=readnews&id=245 https://today.line.me/th/v2/article/nYK2lK มาตรการระยะยาวเพอ่ื ควบคมุ คณุ ภาพอากาศให้เหมาะสมโดยใช้พชื พรรณทม่ี ศี ักยภาพ ในการดักจับฝ่นุ ละอองในอากาศ ลงทนุ น้อยแต่ได้ผลระยะยาว https://www.facebook.com/apl.asia/photos/pcb.2361353487449572/2361352 100783044/ https://www.facebook.com/deqpth/posts/3800629513301461/ https://www.facebook.com/NHSO.Thailand/photos/a.1268992929833927/211346387205 3491/?type=3 https://www.greennetworkthailand.com/pm-2-5- %E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E- %E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8 %81%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2/ https://www.scimath.org/article-chemistry/item/7856-2018-02-22-02-37-59 https://www.thaihealth.or.th/Content/38366%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0% B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0 %B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B4% E0%B8%A9%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D

46 %E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8% A3%E0%B8%B5%E0%B9%88.html Assignment


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook