อกั ษรควบกล้า คอื ค้าท่มี ีพยญั ชนะ ต้น ๒ ตวั ประสมสระเดียวกัน โดยพยญั ชนะตวั หลงั เปน็ ร, ล หรือ ว ค้าควบกลา้ แบ่ง ออกเปน็ ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑. ค้าควบกล้าแท้ ๒. ค้าควบกล้าไม่แท้
ค้าควบกลา้ แท้ เป็นคา้ ทม่ี ีพยัญชนะตวั หน้า เปน็ ก ข ค ต ป ผ พ และพยญั ชนะตวั หลัง เป็น ร ล ว ออกเสียงควบกลา้ เช่น พระ ขรุขระ ครอบครวั ตรากตร้า ปรบั ปรงุ พร้อมเพรียง กวา้ งขวาง ขวักไขว่ ผลผี ลาม
ค้าควบกล้าไมแ่ ท้ มีอยู่ ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. ค้าควบกล้าไมแ่ ท้ท่มี พี ยญั ชนะตวั หน้า เป็น ซ ศ ส พยัญชนะตัวหลงั เป็น ร ใหอ้ อกเสียงเฉพาะ พยญั ชนะ ตัวหนา้ เช่น เสร็จ อ่านว่า เส็ด จริง อา่ นว่า จิง ปราศรยั อ่านวา่ ปรา – ไส
๒. ค้าควบกล้าไม่แทท้ ีม่ ีพยญั ชนะตวั หน้า เปน็ ท พยัญชนะตวั หลังเปน็ ร ใหอ้ อก เสียง ทร เปน็ ซ ทราย อา่ นว่า ซาย ทรัพย์ อ่านวา่ ซับ ทราบ อา่ นว่า ซาบ
ค้าอักษรน้า คือ คา้ ท่ีมีพยัญชนะ ๒ ตัว ประสมสระเดยี วกนั มหี ลกั การอา่ นดังน้ี ๑. อา่ นออกเสียงรว่ มกนั สนทิ เป็นพยางค์เดียว ได้แก่ ๑.๑ เมอื่ ห น้าอักษรต้่า เชน่ หยดุ หวาน หลอก หญิง เหงา หรหู รา ๑.๒ เมือ่ อ น้า ย มี ๕ ค้า คือ อย่า อยู่ อยา่ ง อยาก
๒. อา่ นออกเสยี ง ๒ พยางค์ พยางคแ์ รกออกเสียง อะ ก่ึงเสยี ง พยางค์หลงั ออกเสยี งตามสระทป่ี ระสมอยแู่ ละออกเสยี งเหมอื น ห น้า ๒.๑ อกั ษรสงู นา้ อกั ษรต้่าเดย่ี ว เช่น สมาน อ่านวา่ สะ - หมาน ผนวช อา่ นว่า ผะ - หนวด สนอง อา่ นว่า สะ - หนอง ผนวก อ่านว่า ผะ - หนวก ถนอม อ่านว่า ถะ - หนอม ผนึก อา่ นว่า ผะ - หนึก จมูก อา่ นวา่ จะ – หมกู จรัส อ่านวา่ จะ - หรดั
๒.๒ อกั ษรกลางนา้ อกั ษรต่า้ เด่ยี ว เช่น องุ่น อ่านว่า อะ - หงนุ่ ตลาด อ่านวา่ ตะ - หลาด ตลก อ่านวา่ ตะ - หลก ตล่งิ อ่านว่า ตะ - หลิ่ง กนก อา่ นว่า กะ – หนก
หลกั การจาอกั ษร ๓ หมู่ อกั ษรสูง ผี ฝาก ถุง ขา้ ว สาร ให้ ฉนั ผ ฝ ถ,ฐ ข,ฃ ส,ศ,ษ ห ฉ
อกั ษรกลาง ไก่จิกเดก็ ตายบนปากโอ่ง ก จ ด,ฎ ต,ฏ บ ป อ
อกั ษรต่าเดยี ว งูใหญ่นอนอยู่ ณ ริมวดั โมฬีโลก งญ น ยณร วมฬล
อกั ษรต่าคู่ พอ่ คา้ ฟันทองซ้ือชา้ งฮอ้ พ,ภ ค,ฅ ฟ ฒ,ฑ,ท,ธ ซ ช ฮ
บรรยายโวหาร หมายถึง โวหารที่ใช้ในการอธิบาย เล่าเรื่องราวเหตุการณ์ เพือ่ ใหผ้ ้อู า่ นได้รับความรู้ ความ เขา้ ใจในเรอื่ งน้ัน ๆ อย่างละเอยี ด แจ่มแจง้ การเรยี บ เรยี ง และการใช้ถ้อยคา จึงมกั เลือกใชถ้ อ้ ยคาทีส่ ่ือ ความหมาย ตรงไปตรงมา กะทัดรัด ชัดเจน
พรรณนาโวหาร คือ โวหารทก่ี ลา่ วถึงความงามของ ธรรมชาติ สถานท่ี หรือ ความรู้สกึ นึกคดิ อย่างละเอียด เพ่ือให้ผอู้ า่ นเกิดความซาบซง้ึ และเกดิ อารมณค์ วามรสู้ กึ คลอ้ ยตาม โดยใชถ้ ้อยคาทม่ี ีความไพเราะ และ ความหมายท่ีลึกซึ้ง นา่ สนใจ ให้ผ้อู า่ น ประทับใจ
สาธกโวหาร คอื โวหารทยี่ กตวั อยา่ งมาประกอบ ข้อความ เรอ่ื งราวให้เข้าใจ แจม่ แจ้งยงิ่ ขึ้น อาจเปน็ การ กลา่ วอา้ งถงึ เรือ่ งจรงิ นทิ านทเ่ี ปน็ ท่ีรู้จกั กนั ดีมาประกอบ กไ็ ด้ เช่น เม่อื จะกลา่ วถึงการตามใจลกู จนเสียคน ก็จะ นานทิ านเร่ืองสอนลกู ใหเ้ ปน็ โจรมาประกอบ
อปุ มาโวหาร คือ การใชโ้ วหารเปรียบเทยี บ ประกอบขอ้ ความ เพือ่ ให้ผอู้ า่ น เขา้ ใจชดั เจนยง่ิ ข้ึน ทาให้เขา้ ใจเรือ่ งราวได้แจ่มแจง้ การใช้ อปุ มาโวหารน้มี ีลักษณะการใช้หลายลักษณะ 1. เปรยี บเทยี บสิง่ ที่เหมอื นกันสองส่ิง มกั มีคาว่า เหมือน ดจุ คลา้ ย เปรยี บอย่าง ดัง ฯลฯ เปน็ ตวั เชื่อมคาอุปมาอุปไมยให้ สอดคลอ้ งกนั (อปุ ไมย แปลวา่ ท่ีกล่าวกอ่ น อปุ มา แปลว่า ท่กี ลา่ ว เปรยี บ) เชน่ ดีใจเหมอื นไดแ้ กว้ , เล่าปด่ี ใี จเหมือนปลาไดน้ า้ 2. เปรียบเทียบโดยการโยงความคดิ จากสิง่ หน่ึงไปยังสง่ิ หน่ึง เป็นการเปรยี บโดยนยั ตอ้ งอาศัยการตคี วามประกอบ ครเู หมอื นเรือ จ้าง, ชาวนาเป็นกระดกู สนั หลังไทยท้ังชาติ
3. เปรียบเทยี บโดยการซ้าคา้ จะมารักเหากว่าผม จะมารกั ลมกว่านา้ จะมารักถ้ากว่าเรอื น จะมารกั เดอื นยิง่ กว่าตะวัน จะมารัก ตัวออกเฒ่ายง่ิ กวา่ ตัวเองเล่า 4. เปรียบเทียบโดยการยกตวั อย่างประกอบ เช่น พระราชา 1 หญงิ 1 ไมเ้ ลอ้ื ย 1 ย่อมรกั ผู้คนและสิ่งท่อี ยู่ใกล้ ๆ 5. เปรียบความขดั แย้งหรือเปรียบส่ิงทอ่ี ยตู่ รงกนั ข้าม คือ การนาส่ิงท่ตี รงกันข้าม มาเปรียบกนั เช่น เปรียบนา้ กบั ไฟ ดินกบั ไฟ อิเหนากับจรกา รักยาวใหบ้ ัน่ รักสัน้ ให้ต่อ 6. เปรียบเทียบโดยใชช้ ื่อเทยี บเคยี ง เชน่ ปากกามีอานาจ กวา่ คมดาบ
เทศนาโวหาร เป็นโวหารท่ีแสดงการส่ังสอน หรือ ชักจูงใหผ้ ู้อ่านเหน็ คลอ้ ยตาม ชี้แนะคณุ และโทษสง่ิ ทีค่ วร ปฏิบตั ิ หรือแสดงทศั นะในข้อสังเกต ในการเขยี นผ้เู ขียน ตอ้ งใช้ เหตผุ ลมาประกอบใหผ้ ูอ้ า่ นเกดิ ความเชือ่ ม่ัน เกดิ ความรู้สึกดว้ ยตนเอง
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: