Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ส่วนประกอบหน้าที่และชิ้นส่วนมาตรฐานของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

ส่วนประกอบหน้าที่และชิ้นส่วนมาตรฐานของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

Published by boss.chayrex102, 2017-07-07 02:37:28

Description: ส่วนประกอบหน้าที่และชิ้นส่วนมาตรฐานของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

Keywords: ส่วนประกอบหน้าที่และชิ้นส่วนมาตรฐานของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

Search

Read the Text Version

สว่ นประกอบแม่พมิ พฉ์ ดี พลาสติก เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

ส่วนประกอบแม่พมิ พฉ์ ดี พลาสตกิ เกรียงไกร ธารพรศรีประกอบดว้ ย มทร.ล้านนา 1. ส่วนที่อยูก่ บั ที่และเคลอ่ื นที่ 2. อมิ เพรสชนั่ 3. แผ่นเบา้ และแผ่นคอร์ 4. เบา้ แม่พมิ พแ์ ละคอรแ์ ม่พมิ พ์ 5. แผ่นยดึ อนิ เสริ ต์ 6. เพลานาและปลอกนา 7. ปลอกรฉู ดี 8. แหวนบงั คบั ศนู ย์ 9. ระบบรวู ิ่งรเู ขา้ 10. ระบบปลดช้นิ งาน

1. สว่ นท่ีอยู่กบั ท่ีและสว่ นเคลอ่ื นที่ ช้นิ สว่ นต่าง ๆ ที่ประกอบกนั ข้นึ นน้ั จะแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. ส่วนท่ีอยู่กบั ที่ (fixed half) เป็ นสว่ นท่ียดึ ตดิ กบั แม่พมิ พ์ ยดึ อยู่กบั ท่ีของเครอ่ื งท่ีฉดี พลาสติก 2. สว่ นที่เคลอื่ นท่ี (Moving half) เป็ นส่วนท่ียดึ อยู่กบั แม่พมิ พท์ ี่เคลอื่ นที่ของเครอื่ งฉดี พลาสติก เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

2. อมิ เพรสชน่ั (Impression) แม่พมิ พฉ์ ดี เป็ นแม่พมิ พท์ ่ีประกอบข้นึ จากช้นิ สว่ นต่าง ๆ หลายช้นิ เกดิ เป็ นโพรงภายในท่ีเรยี กว่า อมิ เพรสชนั่ ท่ีชงึ่ เน้อิ พลาสตกิ จะถกู ฉดี เขา้ ไปและเยต็ วั ลงได้ช้นิ งานพลาสติกที่มีรปู ร่างเหมือนกบั อมิ เพรสชน่ั อมิ เพรสชนั่ ที่เกดิ จากการประกอบช้นิ ส่วนของแม่พมิ พ์ 2 ช้นิ คอื 1. เบา้ (Cavity) ซง่ึ เป็ นแม่พมิ พต์ วั เมียทาใหเ้ กดิ เป็ นรปู ร่างภายนอกของช้นิ งาน 2. คอร์ (Core) เป็ นสว่ นของแม่พมิ พต์ วั ผท้ ่ีทาใหเ้ กดิ เป็ นรปู ร่างภายในของช้นิ งาน เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

ตวั อยา่ งของอมิ เพรสชน่ั เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

3.แผ่นเบา้ และแผ่นคอร์ จากรปู แสดงใหเ้ หน็ ถงึ แม่พมิ พแ์ บบง่าย ๆ ของภาชนะบรรจุสง่ิ ของทรงแปดเหลยี่ ม อม่พมิ พแ์ บบงา่ ย ๆ น้ใี นกรณี ประกอบดว้ ยแผ่นแม่พมิ พส์ องแผ่น แผ่นหนงึ่ ขุดลกึ เป็ นโพรงเขา้ ไปซงึ่ เป็ นสว่ นข้นึ รปู ภายนอกของช้นิ งานและเรยี กว่า “แผ่นเบา้ ” และอกี แผ่นหนง่ึ จะทาเป็ นยดื ออกมาและเป็ นสว่ นข้นึรปู ภายในของช้นิ งานส่วนน้เี รยี กว่า “แผ่นคอร”์ เม่ือแม่พมิ พป์ ิ ดแผ่นเบา้และแผ่นคอรจ์ ะเลอื่ นเขา้ ประกบกนั ทาใหเ้ กดิ เป็ นช่องว่างข้นึ ระหว่างแผ่นเบา้และแผ่นคอร์ ซง่ึ กค็ อื สาวนท่ีเรยี กว่า อมิ เพรสชน่ั เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

4.เบา้ แม่พมิ พแ์ ละคอรแ์ ม่พมิ พ์ จากหวั ขอ้ ที่ผ่านมากล่าวถงึ การก่อรปู ของอมิ เพรสซน่ั ของแม่พมิ พจ์ ากความสมั พนั ธ์ของเบา้ และคอรซ์ งึ่ ทาใหเ้ กดิ รปู ร่างภายในและภายนอก อมิ เพรสซนั่ จะถ่ายรปู ทรงทง้ั หมดไปยงั ช้ินงาน กล่าวถงึ วิธีการทาเบา้ และคอรเ์ พราะว่ามีอยู่ดว้ ยกนั สองวิธีคอื แบบชน้ั เดยี วและแบบอนิ เสริ ต์ ท่ีสามารถทาเป็ นเบา้ ไดค้ ือแบบอนิ เสริ ต์ แยกช้นิ หรอืแบบแยกช้ิน เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

รปู แผ่นเบา้ และแผ่นคอร์ เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

5. แผ่นยดึ อนิ เสริ ต์ชนดิ ของแผ่นยดึ อนิ เสริ ต์ มีอยู่ 5 ชนดิ ที่นิยมใชก้ นั 1.แผ่นยดึ อนิ เสริ ต์ แบบตนั (solid bolster)แบบน้เี หมาะท่ีจะใชก้ บั อนิ เสริ ต์ แบบสเ่ี หลย่ี ม และแบบทรงกลม 2.แผ่นยดึ อนิ เสริ ต์ แบบแทบ (strip-type bolster)ใชเ้ ฉพาะกบั อนิ เสริ ต์ แบบสเ่ี หลย่ี ม เท่านนั้ 3.แผ่นยดึ อนิ เสริ ต์ แบบกรอบ (frame-type bolster) ใชไ้ ดก้ บั อนิ เสริ ต์ ทงั้ สองแบบ แต่ เหมาะท่ีสดุ คืออนิ เสริ ต์ ทรงกระบอก 4.แผ่นยดึ อนิ เสริ ต์ แบบกรอบเรยี ว (chase-bolster) แบบน้ีจะใชร้ ่วมกบั อนิ เสริ ต์ แบบแยก (split inserts) 5.แผ่นยดึ อนิ เสริ ต์ (bolster plate)แบบน้ีจะใชใ้ นกรณพี เิ ศษสาหรบั อนิ เสริ ต์ แบบสเี่ หลย่ี ม และวงกลมเฉพาะบางกรณเี ท่านนั้ เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

รปู แผ่นยดึ อนิ เสริ ต์ แบบต่าง ๆ(ก) แบบเป็ นแถบ(ข) แบบกรอบสเ่ี หลยี่ ม(ค) แบบกรอบทรงกระบอก(ง) แบบร่องเปิ ด(จ) แบบเรยี วปิ ด(ฉ) แท่นยดึ อนิ เสริ ต์ เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

6.เพลานาและปลอกนา หนา้ ที่ของเพลานาคอื เพอื่ ใหไ้ ดค้ วามหนาของช้นิ งานจงึ ควรทาใหเ้ บา้ และคอรไ์ ด้ศนู ยก์ นั กระทาไดโ้ ดยการใชเ้ พลานาประกอบกบั แม่พมิ พด์ า้ นหนง่ึ และจะนาไปสวมกบัปลอกนาซงึ่ อยู่กบั แม่พมิ พอ์ กี ดา้ นหน่งึรปู การออกแบบเพลานาและปลอกนา เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

ชนดิ ของเพลานาและปลอกนา 1.เพลานาแบบมีบ่า 2.เพลานาแบบไม่มีบ่า * ขอ้ ดี ของเพลานาแบบมีบ่า คอื เม่ือเกดิ การคดงอของเพลานาเราสามารถถอดออกได้ งา่ ย ส่วนขอ้ เสยี คือการนาไปกลงึ ไดอ้ ยากกว่าและเปลอื งวสั ดมุ ากกว่าเพลาไม่มีบ่า* ขอ้ ดี ของเพลานาแบบไม่มีบ่า คอื สามารถตกแต่งเพลานาและปลอกนาใหไ้ ดศ้ นู ยก์ นั ได้ งา่ ย สว่ นขอ้ เสยี คอื เวลาท่ีเกดิ การคดงอจะทาการถอดออกไดอ้ ยาก เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

รปู แสดงการประกอบเพลานาและปลอกนา้ กบั แผ่นแม่พมิ พท์ ง้ั สอง รปู น้แี สดงถงึ ขอ้ ดขี องการใชเ้ พลานาแบบลดบ่า (ก) เพลานาทม่ี ีเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางคงทเี่ ม่ือคดงอจะถอดออก ไดอ้ ยาก (ข) เพลานาแบบลดบ่าเม่ือคดงอจะถอดออกไดง้ า่ ย เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

7.ปลอกรฉู ดี ในระหวา่ งขบวนการฉีดพลาสตกิ เน้ือพลาสตกิ จะถกู สง่ จากหวั ฉีดของเครอื่ งฉดีพลาสตกิ ในสภาวะของเหลวและเขา้ แมพ่ ิมพท์ างรูฉีดผา่ นเขา้ ไปในทางอมิ เพรสซน่ั รูฉดี เขา้แบบงา่ ย ๆ จะเป็นรูเรยี วทอ่ี ยภู่ ายในปลอกรูฉดี ดงั แสดงในรูป เน้ือพลาสตกิ ทอ่ี ยใู่ นรูฉีดเขา้ น้ีเรยี กวา่ แกนรฉู ีดรปู ปลอกรฉู ดี (ก) บ่ารบั โคง้ เป็ นรศั มี (ข) บ่ารบั แบบเรียบ เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

8.แหวนบงั คบั ศนู ย์ แหวนบงั คบั ศนู ยม์ ีลกั ษณะกลมแบนใชป้ ระกอบอยู่กบั ผวิ ดา้ นหนา้ ของแม่พมิ พเ์ ป็ นช้ินสว่ นที่ทาหนา้ ท่ีบงั คบั ตาแหน่งหวั ฉดี และปลอกฉดี ใหไ้ ดศ้ นู ยเ์ พอื่ ไม่ใหเ้ กดิ การเย้อื ศนู ย์กนั ระหว่างหวั ฉดี และปลอกรฉู ดี จะไดไ้ ม่เกดิ การกดี ขวางทางรวู ่ิง รปู การใชแ้ หวนบงั คบั ศนู ยย์ ดึ ปลอกรฉู ดี ในลกั ษณะต่าง ๆ กนั เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

9.ระบบรวู ิ่งและรเู ขา้ เน้ือพลาสติกอาจถกู ฉดี เขา้ ไปในอมิ เพรสชน่ั ผ่านปลอกรฉู ดี โดยตรงหรอื สาหรบั แม่พมิ พห์ ลายอมิ เพรสชนั่(multi-impression moulds) เน้อืพลาสติกจะถูกฉดี เขา้ รขู องปลอกรฉู ดีและวิ่งไปตามระบบรวู ิ่งและรเู ขา้ ก่อนที่จะเขา้ ไปในอมิ เพรสชน่ั ระบบป้ อนของแม่พมิ พแ์ บบหลายอมิ เพรสชนั่ เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

10.ระบบปลดช้นิ งานระบบปลดช้นิ งานจะแยกออกเป็น 2 สว่ นดงั น้ี1.หอ้ งปลดช้นิ งาน มีลกั ษณะการออกแบบทแ่ี ตกตา่ งกนั อยู่ 3 แบบ คอื (1) หอ้ งระบบปลดช้นิ งานโดยตรง (2)หอ้ งระบบปลดช้นิ งานแบบกรอบ (3)หอ้ งระบบปลดช้นิ งานแบบรองรบั ดว้ ยแทง่ ทรงกระบอก2.แผน่ ประกอบตวั ปลด แผน่ ประกอบตวั ปลดเป็นสว่ นหน่ึงของแมพ่ ิมพท์ ใี่ ชย้ ึดช้นิ สว่ นตวั ปลดช้นิ งาน แผน่ ประกอบทงั้ ชุดจะสวมอยใู่ นชอ่ งภายในของหอ้ งระบบปลดช้นิ งาน และอยูห่ ลงั ของแมพ่ ิมพ์ โดยตรง เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา

เกรียงไกร ธารพรศรี มทร.ล้านนา