รายงานผลการศกึ ษารายกรณี ( Case Study ) โดย นายธีรภัทร วชิ ยพงศ์ ตาแหนง่ นักจิตวทิ ยาโรงเรียนประจาสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า เขต 4 สานักงานคณะกรรมการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
คานา รายงานผลการศึกษารายกรณี ( Case Study ) เลํมน้ีเป็นสํวนหน่ึงของการปฏิบัติงานนักจิตวิทยาโรงเรียน ประจาสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา จัดทาขึ้นเพื่อใช๎เป็นข๎อมูลและแนวปฏิบัติให๎กับครูผ๎ูสอนสังกัดสานักงานเขต พื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า เขต 4 ตลอดจนผ๎ูปกครอง ผาํ นการการศึกษารายกรณีในการให๎ชํวยเหลือ สํงเสริมและพัฒนาเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นโดยใช๎กระบวนการทางจิตวิทยาผํานการประสานงานระหวํางนักจิตวิทยา ประจาเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษากับสถานศกึ ษาในการลงพน้ื ทใ่ี นการให๎บรกิ ารให๎คาปรึกษา แกํ นักเรียน ครู และผู๎ปกครอง ท้ังแบบรายบุคคลและรายกลุํม เพ่ือชํวยให๎บุคคล ได๎ร๎ูจักตนเอง เข๎าใจตนเอง เข๎าใจผู๎อ่ืน และสามารถชํวยเหลือ ตนเอง ปรับตัว แก๎ไขปัญหา วางแผนการศึกษา การประกอบอาชีพและพัฒนาตนเองได๎อยํางเหมาะสมและเต็มตาม ศกั ยภาพ ผู๎จัดทาขอขอบคุณ หวังเป็นอยํางยิ่งวํารายงานเลํมนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถนาองค์ความรู๎ที่ได๎ จากการศึกษาไปใช๎เปน็ แนวทางในการแก๎ไขปัญหาและแนวทางการป้องกันชํวยเหลอื นกั เรยี นในโรงเรียนตํอไป นายธีรภทั ร วชิ ยพงศ์ นักจติ วิทยาโรงเรยี นประจาสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 รุํนที่ 8 กลํุมที่ 14
สารบญั หนา๎ เรอ่ื ง 1 3 ความเป็นมาและความสาคญั (ปญั หา) 3 จุดประสงค์ 3 เป้าหมาย 3 ระยะเวลาดาเนินการ 3 ประโยชน์ท่ีคาดวําจะได๎รับ 3 แนวคิดหรอื ทฤษฎที ่นี ามาชํวยในกรณีศึกษา 3 4 - โรคสมาธิส้นั 5 - สาเหตขุ องโรคสมาธสิ ้ัน 6 - อาการของโรคสมาธสิ น้ั 8 - การวนิ ิจฉัยโรคสมาธสิ นั้ 8 - การดแู ลรกั ษาโรคสมาธิส้ัน 8 2.แนวคดิ ทีเ่ กย่ี วกบั การเรยี นร๎ูทางสังคม 9 ทฤษฎีการเรยี นร๎ูทางสังคมของแบนดรู า 10 ทฤษฎกี ารวางเงือ่ นไขแบบการกระทาของสกนิ เนอร์ 13 ขน้ั ตอนในการปฏิบตั ิงาน 14 1. สภาพท่วั ไปของนักเรียน 14 2. การคัดกรองและสงํ ตํอเบอ้ื งต๎น 17 3. ขั้นตอนในการปฏบิ ัตงิ านของนักจติ วทิ ยาประจาสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา 17 วธิ กี ารชํวยเหลือแก๎ไขปัญหา 17 ผลการปฏบิ ัตงิ าน 19 สรปุ กรณีศึกษาและข๎อเสนอแนะ 35 เอกสารอ๎างอิง ผลการปฏบิ ัติงานในระยะเวลา 3 เดือน ภาคผนวก
สารบัญภาพ เรือ่ ง หน๎า เรอ่ื งท่ี 1 19 เรือ่ งที่ 2 21 เรื่องที่ 3 22 เรื่องที่ 4 23 เรื่องท่ี 5 24 เรอ่ื งที่ 6 25 เรอ่ื งท่ี 7 26 เร่อื งที่ 8 27 เรื่องที่ 9 28 เรื่องที่ 10 29 เรอ่ื งที่ 11 30 เรอ่ื งที่ 12 31 เรอ่ื งที่ 13 32 เรอ่ื งที่ 14 33 เรื่องท่ี 15 34
|1 ความเป็นมาและความสาคัญ (ปญั หา) ปัจจุบันสภาพแวดล๎อมได๎เปลี่ยนแปลงอยํางรวดเร็วทั้งทางด๎านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ส่ิงแวดล๎อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทาให๎เกิดการแขํงขันสูงกํอให๎เกิดความเครียดและความกดดันตํอสภาพจิตใจของบุคคล (อภิชาติจารัสฤทธิรงค์,ปราโมทย์ ประสาทกุล, และ ปัญญา ชูเลิศ, 2553) เนื่องจากการดาเนินชีวิต ภายใต๎ การเปลี่ยนแปลงยํอมกํอให๎เกิดผลกระทบตํอภาวะสุขภาพของบุคคลทั้งทางรํางกายและจิตใจ (อมราพร สุรการ และ ณัฐวุฒิอรินทร์,2557) โดยปัญหาสุขภาพจิต ถือเป็นอีกปัญหาหนึ่งที่สาคัญของคนไทย โดยเฉพาะในสังคมปัจจุบัน เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมเสี่ยงตํอการเกิดปัญหาทางสังคมมากมายเนื่องมาจาก ปัจจัยเส่ียงตําง ๆ ประกอบด๎วย ปัจจัยเสี่ยงจากสภาพครอบครัว, ปัจจัยเส่ียงจากโรงเรียน, ปัจจัยเส่ียงจากชุมชน และสังคม, ปัจจัยเส่ียงจากเพื่อน และปัจจัยเส่ียงจากบุคลิกภาพหรือตัวนักเรียน ซ่ึงนับวันจะมีความซับซ๎อน และมีความรุนแรงมากขึ้นซ่ึงปัญหาสุขภาพจิต ในเด็กและวัยรํุนท่ีพบได๎บํอยและกาลังได๎รับความสนใจมากขึ้น ในกลมํุ ผู๎ปกครองและครูคอื โรคสมาธสิ ้นั โรคสมาธสิ ้ัน (Attention Deficit Hyperactivity Disorder: ADHD) เป็นปญั หาทางพฤติกรรมท่ีพบได๎บํอย ในเด็กวัยเรียนและเป็นสาเหตุอันดับหน่ึงท่ีทาให๎เด็กมีปัญหาการเรียน ซ่ึงเกิดจากความบกพรํองในการทาหน๎าที่ ของสมอง มีอาการหลักเป็นความผิดปกติทางด๎านพฤติกรรมได๎แกํ ขาดสมาธิ ซนอยูํไมํน่ิง หุนหันพลันแลํน ขาดการยับย้ังชั่งใจท่ีเป็นมากกวําพฤติกรรมตามปกติของ เด็กในระดับพัฒนาการเดียวกันซ่ึงสามารถพบได๎ประมาณ ร๎อยละ 5 - 10 ของเดก็ วยั เรียน สํวนใหญํพบในเดก็ ผช๎ู ายมากกวําเดก็ ผู๎หญงิ 4 - 5 เทาํ (พรทิพย์ วชิรดิลกและคณะ 2555) ซ่ึงจากอาการดังกลําวหากปรากฏในชํวงชีวิตในวัยเด็กเป็นระยะยาวนานจะสํงผลกระทบตํอพัฒนาการ ด๎านบุคลกิ ภาพ ทางการเรยี นและทางสงั คม อาการหลักของโรคสมาธิสั้น คือ ความผิดปกติทางด๎านพฤติกรรม 3 ด๎าน ได๎แกํ 1) ขาดสมาธิท่ีตํอเนื่อง (inattention), 2) ซนมากกวําปกติหรืออยํูไมนิ่ง (hyperactivity) และ 3) ขาดการย้ังคิดหรือหุนหันพลันแลํน (impulsivity) (มาโนช, 2550; วิฐารณ, 2555) นอกจากอาการเดํน ของโรคสมาธิส้ัน ยังพบวําเด็กโรคสมาธิส้ัน ประมาณ 2 ใน 3 จะมีโรครํวมท่ีพบบํอยคือ โรคด้ือ ตํอต๎าน ซ่ึงพบถึงร๎อยละ 40 ของเด็กสมาธิสั้น (Pliszka, 2000) โดยปัญหาท่ีพบบํอย มักเป็นเรื่อง ความเกเร ก๎าวร๎าว และมีพฤติกรรมรุนแรง (นันทชา, 2556) ตลอดจนปัญหาเรื่องความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข๎างรํวมด๎วย (มัทนา, 2554) อาการเหลําน้ีมีผลโดยตรงตํอตัวเด็ก เอง ครอบครวั กลมํุ เพือ่ น คนรอบข๎าง ตลอดจนสังคมสาหรบั เด็กสมาธิส้ันที่มีความบกพรํองในการควบคุมพฤติกรรม ของ ตนเอง จะมีอารมณ์วํูวาม หุนหันพลันแลํน เวลาโกรธก็มักมีพฤติกรรมกาวร๎าวรุนแรงอันเนื่องมาจากการขาด การยงั้ คดิ (มาโนช, 2550) จากความบกพรํองดังกลําวสํงผลให๎เด็กกลายเป็นคนโมโหงําย อารมณ์เสียบํอย ก๎าวร๎าว และเมื่อโกรธก็จะมีปฏิกิริยาโต๎ตอบผู๎อื่นอยํางรุนแรง ทาให๎เกิดปัญหาการทะเลาะวิวาท ชกตํอยกับเพ่ือน จนคนรอบข๎างเข๎าใจวําเป็นเด็กเกเร (Edbom, Lichtenstein, Granlund, & Larsson, 2006) ทาให๎เด็กเกิดความ ภูมิใจในตนเองต่า low ( self-esteem) และนาไปสํูพฤติกรรมท่ีเป็น ปัญหาได๎จากการศึกษาพบวําเด็กสมาธิส้ัน ประมาณร๎อยละ 25-30 ที่มีพฤติกรรมตํอต๎านสังคม มี โอกาสสูงในการติดสุราและยาเสพติด เม่ือโตเป็นผู๎ใหญํ (มาโนช,2550) และอาจมีภาวะด้ือตํอต๎าน (oppositional defiant disorder) และภาวะเกเร กาวร๎าว (conduct disorder) มากกวําเด็กปกติ 3.5-4 เทํา (Gittelman อ๎างตาม ดุษฎี,2555) โดยในรายท่ีมีพฤติกรรม
|2 ก๎าวร๎าวรุนแรงหากไมํได๎รับการแกไข๎ หรือปลํอยให๎พฤติกรรมดังกลําวดาเนินไป จนกระทังเด็กอายุมากขึ้น ก็จะปรากฏพฤตกิ รรมในรปู ของการก๎าวรา๎ ว ใช๎ความรนุ แรง ทารา๎ ยผ๎ูอน่ื และไมํทาตามกฎระเบียบสงั คมได๎ จากอาการหลักของโรคสมาธิสั้นดังกลําวข๎างต๎นสํงผลให๎เด็กสมาธิสั้นไมํสามารถใช๎ชีวิตเหมือนเด็กปกติ เมื่ออยูํในห๎องเรียน มักจะรบกวนช้ันเรียน เนื่องจากการท่ีทาอะไรไมํได๎เทํากับเพื่อน และจะมีความร๎ูสึกเศร๎า และหงุดหงิด ซุกซนไมํอยํูน่ิงไมํอาจจะทนอะไรได๎ และเกิดความเสี่ยงตํอการเกิดพฤติกรรมก๎าวร๎าวรุนแรงตํอตนเอง และผ๎ูอื่นโดยสํวนใหญํมักจะได๎รับแตํคาตาหนิและการลงโทษ จึงสํงผลให๎เด็กขาดความเชื่อม่ันในตัวเอง อาจกลายเปน็ คนที่ท๎อถอยมปี ัญหาอารมณ์ซมึ เศรา๎ หรอื อาจมีอารมณ์กา๎ วร๎าว กลายเป็นอนั ธพาลเกเรในทสี่ ุด จากอาการหลักของโรคสมาธิส้ันนั้นสํงผลกระทบตํอเด็กหลายอยําง โดยเฉพาะหากไมํได๎รับการรักษา จะสํงผลให๎เด็กไมํสามารถใช๎ชีวิตเหมือนเด็กปกติได๎ เชํน เม่ืออยํูในห๎องเรียน มักจะรบกวนชั้นเรียน เน่ืองมาจาก การท่ีทาอะไรไมํได๎เทํากับเพื่อน และจะมีความร๎ูสึกเศร๎าและหงุดหงิด ซุกซนไมํอยูํน่ิงไมํอาจจะทนอะไรได๎ และเกิดความเสี่ยงตํอการเกิดพฤติกรรมก๎าวร๎าวรุนแรงตํอตนเองและผู๎อ่ืนซ่ึงสํวนใหญํมักจะได๎รับแตํคาตาหนิ และการลงโทษจะสํงผลให๎เด็กมีปัญหาทางด๎านการเสียความภาคภูมิใจในตนเอง ขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง มีความวิตกกังวลซึ่งอาจกลายเป็นคนท่ีมีปัญหาอารมณ์ซึมเศร๎าหรือ อาจมีอารมณ์ก๎าวร๎าว หรือมีพฤติกรรมเส่ียง อันตรายตํางๆ กลายเป็นอันธพาลเกเรในท่ีสุด อยํางไรก็ตาม ไมํได๎หมายความวําเด็กที่เป็นโรคสมาธิส้ัน ทุกคนจะมีปัญหาดังกลําว เม่ือโตขึ้นจนสมองมีวุฒิภาวะที่ดีซึ่งมักต๎องรอจนถึงวัยรํุนตอนปลาย อาการของโรคสมาธิ สั้นก็จะลดน๎อยลงหรือหายไปได๎ ดังนั้นถ๎าได๎รับการรักษาและการดูแลชํวยเหลือที่ดี ถูกต๎องและเหมาะสม จะทาให๎เดก็ สมาธสิ ั้นสามารถประสบความสาเร็จในชวี ติ ไดไ๎ มํแตกตํางกบั คนทั่วไป สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๔ เป็นหนํวยงานท่ีดูแล สํงเสริม สนับสนุน การดาเนินงานระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียน ของสถานศึกษาในสังกั ด โดยมุํงเน๎นให๎สถานศึกษา ในสังกดั เปน็ ผด๎ู แู ลชํวยเหลอื นักเรยี นให๎มที กั ษะชวี ิต เขา๎ ใจตนเองและผูอ๎ น่ื มีสมั พนั ธภาพท่ีดีตํอผ๎ูอื่น รู๎จักการจัดการ อารมณ์และความเครียด เข๎าใจและสามารถแก๎ปัญหาได๎อยํางสร๎างสรรค์ ตามกรอบแนวทางการดูแลชํวยเหลือ และค๎ุมครองนักเรียน และการแนะแนวของสานักง านคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได๎เล็งเห็น และให๎ความสาคัญกับการแก๎ปัญหาในสถานศึกษาซึ่งในปัจจุบัน ได๎มีการนากระบวนการทางจิตวิทยาผํานการ ประสานงานระหวํางนักจิตวิทยาประจาเขตพื้นที่การศึกษากับสถานศึกษาลงพ้ืนที่ในการให๎บริการให๎คาปรึกษา แกํ นักเรียน ครู และผู๎ปกครอง ท้ังแบบรายบุคคลและรายกลุํม เพื่อชํวยให๎บุคคล ได๎ร๎ูจักตนเอง เข๎าใจตนเอง เข๎าใจผู๎อ่ืน และสามารถชํวยเหลือตนเอง ปรับตัว แก๎ไขปัญหา วางแผนการศึกษา การประกอบอาชีพและพัฒนา ตนเองไดอ๎ ยํางเหมาะสมและเตม็ ตามศักยภาพ โรงเรียนบ๎านหนองบัว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๔ ตั้งอยูํ ที่บ๎านหนองบัว หมูํท่ี ๑ ตาบลลาดบัวขาว อาเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ก็เป็นหนึ่งในโรงเรียนที่มีเด็กป่วย เป็นโรคสมาธิสั้นและต๎องการคาแนะนา แนวทางการดูแลชํวยเหลือเด็กกรณีดังกลําว จึงมีการประสานงาน มาทสี่ านกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต ๔ ในการเชิญนักจิตวิทยาโรงเรียนประจาสานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษา ลงพ้ืนที่คาปรึกษาและรํวมหาแนวทางดูแลชํวยเหลือโดยมีการจัดทาการศึกษารายกรณี (Case Study) ผํานนักเรียนที่มีปัญหาดังกลําวจานวน ๑ คน คือเด็กชาย A (นามสมมติ) นักเรียนช้ันประถมศึกษา ปีที่ 2 เพ่ือเป็นแนวปฏิบัติรํวมกันในการดูแล ป้องกัน แก๎ไขและสํงเสริม เด็กนักเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบ ท่เี กดิ ขน้ึ จากพฤติกรรมไมํเหมาะสมในคร้ังนี้
|3 จุดประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาพฤติกรรมสมาธิส้ันของเด็กชายเอ (นามสมมติ) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นบา๎ นหนองบัว อ.สคี ิ้ว จังหวัดนครราชสีมา 2. เพ่ือหาแนวทางในการดาเนินการชํวยเหลือ ป้องกันและการสํงเสริมนักเรียนที่ประสบปัญหาดังกลําว พรอ๎ มหาแนวทางผาํ นการศกึ ษาเปน็ รายกรณี 3. เพ่ือเป็นข๎อมูลและแนวปฏบิ ตั ิให๎กับครผู ๎ูสอน ผป๎ู กครอง เพ่ือใชใ๎ นการศกึ ษาและชํวยเหลือนักเรียนตํอไป เปา้ หมาย 1. โรงเรียนมีแนวปฏิบตั ิในการดาเนนิ การดูแลชวํ ยเหลือ ปอ้ งกนั และสํงเสรมิ ตลอดจนการประสานงานและ การสงํ ตํอนักเรียนที่ประสบปัญหาดังกลาํ วไปในทิศทางเดียวกัน 2. ลดพฤติกรรมปญั หาท่ีรบกวนการเรยี นรู๎ อันเป็นผลจากอาการของโรคสมาธสิ ัน้ ของนักเรียนโดยเพม่ิ ทักษะทางสังคมทจี่ าเป็นตํอการปรับตัวอยํรู วํ มกับผู๎อน่ื ของเดก็ สมาธสิ ้นั เพิม่ ความสามารถด๎านการเรียน เพ่ือชวํ ยให๎ เดก็ สมาธสิ นั้ ประสบผลสาเรจ็ ดา๎ นการเรียน และเกดิ ความภาคภูมิใจในตนเอง ระยะเวลาดาเนินการ ตลอดปกี ารศึกษา 2563 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั ๑. ไดร๎ ับแนวทางสาหรับการดาเนินการชํวยเหลือ ป้องกันและสํงเสริมนักเรียนที่ประสบปัญหาดังกลําว ให๎แกคํ ณะครู ผปู๎ กครองและบคุ คลที่เก่ยี วขอ๎ งเพ่ือเป็นแนวทางปฏบิ ตั ิรวํ มกนั ๒. ได๎รับแนวทางในการจัดกิจกรรมสาหรับครูเพื่อแก๎ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นในห๎องเรียน และนาผลมาใช๎ใน การปรับปรงุ หรือพัฒนาการเรยี น การสอนใหน๎ กั เรยี นเกิดการพฒั นา และเกิดประสิทธภิ าพ แนวคดิ หรอื ทฤษฎที ่นี ามาช่วยในกรณศี กึ ษา 1. โรคสมาธสิ ้ัน สมาธิส้ัน (Attention Deficit Hyperactivity Disorder: ADHD) คือโรคขาดสมาธิในการ จดจํอตั้งใจ ทาสิ่งใดสิ่งหน่ึงให๎สาเร็จ ข้ีลืม ไมํใสํใจคาส่ัง อยูํไมํน่ิง ไมํชอบอยํูกับท่ีไมํอดทน หุนหันพลันแลํนโดยผ๎ูป่วย อาจเริ่มมีอาการตั้งแตํชํวงอายุ 3-6 ปี โดยจะแสดงอาการออกอยางชัดเจนและวินิจฉัยได๎ในชํวงอายุ 6 - 12 ปี เนอ่ื งจากเป็นชวํ งที่ต๎องเร่ิมเข๎าโรงเรยี น ต๎องทากิจกรรมรํวมกับผ๎อู ื่น เร่มิ สือ่ สารและเขา๎ สงั คม ภาวะสมาธิสั้น เป็นอาการของโรคทางจิตเวชเด็กท่ีพบได๎มากในเด็กวัยเรี ยน เป็นกลํุมอาการ ที่เกิดต้ังแตํวัยเด็ก (กํอนอายุ7 ปี ) มีความผิดปกติทางพฤติกรรมท่ีแสดงออกซ้า ๆ จนเป็นลักษณะเฉพาะตัว
|4 ประกอบด๎วยพฤติกรรมท่ีไมํเหมาะสมกับอายุหรือระดับพัฒนาการ ในเร่ืองของการขาดสมาธิความหุนหันพลันแลํน ยั้งไมํคํอยได๎หรือความซุกซนไมํยอมอยํูนิ่งแล๎ว กํอให๎เกิดผลกระทบตํอพฤติกรรม อารมณ์การเรียนและการคบหา สมาคมกบั ผูอ๎ นื่ (อาพร ตรีสนู ,2550) โรคสมาธิส้ันเป็นโรคท่ีเกิดจากความผิดปกติในการทางานของสมอง ทาให๎ผ๎ูป่วย มีความบกพรํอง ในการควบคุมสมาธิและการแสดงออกทางพฤติกรรม โดยเริ่มแสดงอาการตั้งแตํ ในวัยเด็ก และมักเป็นตํอเน่ือง ไปจนถึงวัยรุํนหรือวัยผ๎ูใหญํอาการของโรคสมาธิส้ันจะเปล่ียนแปลง ไปตามวัย แตํพฤติกรรมอยํู ไมํน่ิงจะลดลง เม่ือโตขึ้น หากไมํได๎รับการรักษาชํวยเหลือท่ีดีอาการ ความผิดปกติท่ีเป็นจะทาให๎เกิดผลกระทบตํอผู๎ป่วยท้ังในด๎าน การเรียนอาชีพ ครอบครัวและสังคม การรักษาผ๎ูป่วยโรคสมาธิสั้นต๎องอาศัยการชํวยเหลือหลายวิธีรํวมกั นที่สาคัญ ได๎แกํ การให๎ความรู๎เกี่ยวกับโรคแกํผ๎ูปกครอง การให๎คาแนะนา ในการจัดส่ิงแวดล๎อม เพ่ือชํวยเหลือผ๎ูป่วย การประสานงานกับทางโรงเรียน เพื่อให๎การชํวยเหลือในช้ันเรียนและการใช๎ยาเพื่อลดอาการ ด๎านพฤติกรรม ที่เปน็ ปญั หาเพ่ือชํวยให๎ผป๎ู ว่ ยสามารถควบคมุ ตนเองและปรับตวั ได๎ดีข้นึ (วฐิ ารณ์ บญุ สทิ ธิ,2555) สาเหตุของโรคสมาธิส้ัน โรคสมาธิส้ันมีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายประการไมํวําจะเป็นปัจจัยด๎านพันธุกรรม ด๎านชีวภาพ และด๎านส่ิงแวดล๎อมท่ีสํงผลกระทบตํอพัฒนาการและการทางานของสมองต้ังแตํขณะอยํูในครรภ์ ขณะคลอด และหลงั คลอด ซึ่งในปัจจุบนั พบวําเด็กท่เี ป็นโรคสมาธิสั้นมักจะมีความบกพรํองหรือมีปริมาณสารเคมีท่ีสาคัญบางตัว ในสมองน๎อยกวาํ เด็กปกตโิ ดยมีกรรมพันธ์ุเป็นปัจจัยที่สาคัญ นอกจากนี้ยังมีปัจจัยด๎านการเลี้ยงดูหรือสภาพแวดล๎อม ทที่ าให๎เกิดอาการหรอื ความผดิ ปกตขิ ้นึ ได๎ อาการของโรคสมาธสิ น้ั เด็กสมาธิสั้น มักมีปัญหาด๎านการแสดงพฤติกรรมท่ีไมํเหมาะสม ไมํสามารถ ควบคุมตนเองได๎ ทาใหเ๎ กิดความบกพรอํ งหลาย ๆ ด๎าน ซงึ่ ลกั ษณะของอาการที่สาคัญในโรค สมาธสิ น้ั มีด๎วยกัน 3 ด๎านใหญๆํ คอื 1. อาการขาดสมาธิ (inattention) เด็กจะมีลักษณะวอกแวกงํายไมํสามารถคงความ สนใจเร่ืองใด เร่ืองหน่ึงได๎นาน มักถูกรบกวนจากสิ่งกระต๎ุนภายนอกได๎งําย ขาดความตั้งใจในการทางานโดยเฉพาะอยํางยิ่ง งานที่ต๎องใช๎ความคิด เด็กมักจะแสดงพฤติกรรมเหมํอลอยบํอย ๆ ทางานไมํเสร็จ ผลงานมักจะไมํเรียบร๎อยตก ๆ หลํน ๆ ข้ีลืม ทาของใช๎สํวนตัวหายเป็นประจา เวลาสั่งให๎เด็กทางานอะไรเด็กมักจะลืมหรือทาครึ่ง ๆ กลาง ๆ อาการนี้ มกั จะมตี อํ เน่อื งถงึ วัยผู๎ใหญํ (ชาญวทิ ย์,2558, Trangkasombat, 2008) 2. อาการซน (hyperactivity) เด็กจะมีลักษณะซนหยุกหยิก อยํูไมํสุข น่ังน่ิง ๆ ไมํคํอยได๎ต๎องลุกเดิน หรือขยับตัวไปมา ชอบปีนป่าย เสียงดัง เลํนผาดโผน หรือทากิจกรรมท่ีเส่ียงอันตราย มักประสบอุบัติเหตุบํอย ๆ จากความซน และความไมํระมัดระวัง โดยอาการน้ีจะสังเกตเห็นเดํนชัดในเด็กเล็ก ๆ เม่ือโตขึ้นอาการซน มักจะลดลงตามวัย จนเหลือแตํเพียงความรู๎สึก กระสับกระสําย กระวนกระวายใจเวลาต๎องอยํูน่ิง ๆ ในวัยผ๎ูใหญํ หรือวยั รํุน (ทวีศลิ ป์ และคณะ,2555, Trangkasombat, 2008) 3. อาการหุนหันพลันแลํน (impulsivity) เด็กจะมีลักษณะวํูวาม ใจร๎อนทาอะไรไปโดยไมํคิดกํอน ลํวงหน๎าวําจะมีอะไรเกิดข้ึน ขาดความระมัดระวัง เวลาต๎องการอะไรก็จะต๎องให๎ได๎ทันทีรอคอยอะไรไมํได๎เวลา อยูํในห๎องเรียนก็จะพูด ออกมาโดยไมํขออนุญาตครูกํอน มักตอบคาถามโดยที่ฟังคาถามยังไมํทันจบ ชอบพูดแทรก
|5 เวลาที่คนอ่ืนกาลังคุยกันอยํูหรือกระโดดเข๎ารํวมวงเลํนกับเด็กคนอื่นโดยไมํขอกํอน เวลาทาการบ๎านมักจะรีบ ทาใหเ๎ สรจ็ โดยไมํคานึงวาํ งานจะเรยี บรอ๎ ยหรอื ถกู ต๎องหรือไมํ (ชาญวิทย์,2558) การวนิ จิ ฉยั โรคสมาธิสน้ั ในการวินิจฉัยโรคสมาธิส้ันนั้น จาเป็นต๎องมีอาการครบตามตามเกณฑ์การวินิจฉัย ขององค์การอนามัย โลก (International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems 10th: ICD-10) ซง่ึ จะตอ๎ งมีอาการอยํางนอ๎ ย 6 ข๎อ จากอาการดงั ตํอไปน้ี 1) ไมํสามารถจดจา รายละเอียดของงานที่ทาได๎ ขาดความรอบคอบ 2) ไมํมีสมาธิในการทางานหรือเลํน 3) ไมสํ นใจฟัง คาพูดของผ๎ูอน่ื หรอื ดเู หมือนไมํฟังเวลาพดู ด๎วย 4) ไมํสามารถตัง้ ใจฟงั และเก็บรายละเอยี ดของคาสั่ง ทาให๎งานไมเํ สรจ็ 5) ทางานไมเํ ปน็ ระเบียบ 6) ไมํเต็มใจหรอื หลีกเล่ียงการทางานทต่ี ๎องใช๎ความคิด 7) ทาของใช๎สํวนตัวหรอื ของจาเปน็ สาหรบั งานหรือการเรยี นหายบอํ ย ๆ 8) วอกแวกงาํ ย และ 9) ข้ลี ืมบํอย ๆ ในกิจวตั รประจาวนั ทีท่ าเป็นประจา สาหรบั กลุมํ อาการซน อยํูไมนํ ่ิง ตอ๎ งมีอาการอยํางน๎อย 3 ข๎อ จากอาการดังตํอไปนี้ 1) หยุกหยิก อยูํไมํสุข ชอบขยบั มือเท๎าไปมา 2) ชอบลกุ จากท่ีนัง่ เวลาอยูใํ นหอ๎ งเรยี นหรือสถานท่ีทีเ่ ด็กจาเป็นตอ๎ งนั่งเฉย ๆ 3) ชอบวงิ หรอื ปนี ป่ายส่ิงตาํ ง ๆ 4) ไมํสามารถเลํนหรืออยํู เงยี บ ๆ ได๎ 5) ตอ๎ งเคล่ือนไหวตลอดเวลา เหมือนมเี ครอื่ งยนต์ตดิ ตัวอยูํและ 6) พูดมาก พดู ไมหํ ยดุ นอกจากน้ียังจะมอี าการอยาํ งน๎อย 1 ขอ๎ ในกลุํมอาการหนุ หันพลนั แลํน จากอาการดงั ตอํ ไปนี้ 1) ชอบพูดโพลํง คาตอบเวลาตอบครหู รือพํอแมํโดยทีย่ ังฟังคาถามไมจํ บ 2) มคี วามลาบากในการเขา๎ คิวหรือรอคอย และ 3) ชอบขัดจงั หวะ สอดแทรกเวลาผู๎อืน่ กาลังคุยกนั หรือแยํงเพอ่ื นเลํน จากกลํุมอาการท่ีกลําวมาน้ีต๎องมีอาการ ติดตํอกันมากกวํา 6 เดือน และอาการต๎องเกิดกํอนอายุ 7 ปี รวมท้ังความบกพรํองที่เกิดจากอาการเหลําน้ี แสดงออกให๎เห็นชัดเจนอยํางน๎อย 2 สถานท่ีข้ึนไป เชํน โรงเรียน และทีบ่ ๎าน และมีผลกระทบตํอชีวิตประจาวัน หรือเสียหายตํอการเรียน รบกวนการใช๎ชีวิตรํวมกับผ๎ูอ่ืน ทาให๎คนอ่ืน ราคาญ ซ่ึงอาการตําง ๆ ไมํได๎เกิดขึ้นเนื่องจากผ๎ูป่วยกาลังป่วยด๎วยโรคทางจิตเวชอื่นๆ ซึ่งในบางกรณีแพทย์จาเป็น ต๎องอาศัยการตรวจอื่น ๆ เชํน การตรวจสายตา การตรวจการได๎ยิน การตรวจคล่ืนสมอง การตรวจเชาวน์ปัญญ า และความสามารถทางการเรียน ลมชัก ความบกพรํอง ทางสายตา การได๎ยินภาวะการเรียนบกพรํอง โรคออทิสติก โรคจิตเภท ภาวะพัฒนาการลําช๎า และ โรคทางจิตเวช อ่ืน ๆ ในเด็ก เพ่ือชํวยวินิจฉัยแยกโรคออกจากโรคสมาธิส้ัน (วนิ ดั ดาและพนม,2550; สมภพ, 2551)
|6 การดูแลรักษาโรคสมาธิสน้ั การรักษาโรคสมาธิส้ัน ต๎องอาศัยการรักษาแบบผสมผสานหลายวิธีประกอบด๎วย การใช๎ยาและการ รักษาโดยไมใํ ช๎ยา ดงั นี้ 1. การรักษาโดยการใช๎ยา โรคสมาธสิ ัน้ สํวนใหญมํ ีจะพบความบกพรํองของพัฒนาการในระบบประสาท (neurodevelopmental origin) ดังนั้นเมื่อเกิดปัญหาจะสํงผลทาให๎เกิดปัญหาทางพฤติกรรมของเด็กสมาธิสั้น เชํน พฤติกรรมอยูํไมํน่ิง หุนหันพลันแลํน และพฤติกรรมกาวร๎าวได๎ (วินัดดาและพนม, 2550) การ ใช๎ยารักษาในผ๎ูป่วยสมาธิสั้นจึงมีความ จาเป็น และมีหลักฐานการศึกษาที่แสดงวําการใช๎ยาตาม แนวทางท่ีถูกต๎องได๎ผลดีกวําวิธีการรักษาด๎วยการปรับ พฤติกรรมโดยไมํใช๎ยา (MTA Cooperative Group, 1999) ถึงแม๎วายาที่ใช๎รักษาโรคสมาธิส้ันไมํได๎มีผล ในการรักษาโรคให๎หายแตํจะชํวยลด อาการหลักของโรค ชํวยให๎เด็กเรียนได๎เต็มความสามารถ มากขึ้น ควบคุม ตนเองได๎ดีข้ึนรวมท้ังมีโอกาสฝึกการมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบและทักษะทางสังคมตําง ๆ ได๎ดังนั้นแพทย์ จึงมัก เลือกรักษาด๎วยยาเมื่อมีการวินิจฉัยที่แนํชัดวํา ผู๎ป่วยเป็นโรคสมาธิสั้น และมีอาการมากจนมีผลกระทบ ตํอการเรียนหรือการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั (วิฐารณ,2555) ยาที่นยิ มใชร๎ ักษาโรคสมาธสิ น้ั ในปจั จบุ นั ไดแ๎ กํ 1.1 ยาในกลุํมออกฤทธิ์กระต๎ุน (psychostimulant medications) เป็นยาหลักที่ใช๎รักษา โรคสมาธิส้ัน เพื่อชํวยเพิ่มสมาธิให๎เด็กสามารถควบคุมตนเองให๎รับผิดชอบในการทากิจวัตรประจาวันที่บ๎าน และรับผิดชอบในเรื่องการเรียนท่ีโรงเรียนได๎ มีความปลอดภัย และประสิทธิภาพคํอนข๎างสูง ผลข๎างเคียงน๎อย เมื่อเปรียบเทียบกับยาในกลํุมอื่น ประมาณร๎อยละ 80 ของผู๎ป่วยโรคสมาธิสั้นที่รักษาด๎วยยากลุํมน้ีจะตอบสนอง ดีตํอการรักษา ซ่ึงยา กลํุมนี้ที่นิยมใช๎ใน ประเทศไทย ได๎แกํ เมททิลฟินิเดท ( methylphenidate) ท่ีมีกลไกการออกฤทธ์ิลดอาการของผู๎ป่วยทั้งในด๎านสมาธิสั้นอยํูไมํน่ิงและหุนหันพลันแลํน (MTA Cooperative Group, 1 9 9 9 ) ซ่ึ ง พ บ วํ า ใ ช๎ ไ ด๎ ผ ล ใ น ก า ร รั ก ษ า ป ร ะ ม า ณ ร๎ อ ย ล ะ 7 0 -7 5 ข อ ง เ ด็ ก ส ม า ธิ สั้ น (Barkley as cited in Connor & Steingard, 2006) โดยจะออกฤทธ์ิประมาณ 3-4 ช่ัวโมง ดังนั้นจึงต๎องให๎ยา หลายคร้ังตํอวัน โดยแบํงให๎ยาวันละ 2-3 ครั้ง ขึ้นอยูํกับอาการในเด็กแตํละคน ซ่ึงผลข๎างเคียงของยาท่ีพบบํอย ได๎แกํ การเบ่ืออาหาร นอนไมํหลับ อารมณ์เปลี่ยนแปลงงําย ปวดศีรษะ ปวดท๎อง คลื่นไส๎อาเจียน ใจส่ัน ความดัน โลหติ สูง (มกั พบในผ๎ูใหญํ) โดยผลข๎างเคยี งสวํ นใหญํมักเป็นช่ัวคราวและจะหายไปเม่ือใช๎ยาในระยะ 2-3 สัปดาห์แรก ถ๎าให๎ยาขนาดท่ีสูงเกินไปอาจทาให๎เกิด อาการชัก ภาวะโรคจิต เซ่ืองซึม คิดอะไรไมํออก ไมํยินดียินร๎าย ในบางราย ทม่ี ีอาการกลา๎ มเนื้อกระตกุ ได๎ (วิฐารณ, 2555) 1.2 กลุํมยาเอสเอ็นอาร์ไอ (selective norephinephrine reuptake inhibitor) ในผ๎ูป่วย บางรายท่ีทนผลข๎างเคียงของยาไมํได๎หรือไมํตอบสนองตํอยาในกลํุมออกฤทธ์ิกระตุ๎น แตํมีข๎อเสียคือ ราคาสูง และอาจเปน็ พษิ ตํอตับ รวมทงั้ อาจทาให๎ภาวะอยากฆาํ ตัวตายในผปู๎ ว่ ยบางราย ดังน้ัน การใช๎ยาน้ีควรอยูํในความดูแล ของแพทย์ ผ๎ูเช่ยี วชาญ (ชาญวิทย์,2558) 1. 3 ยาต๎านเศร๎า( antidepressant) จัดอยํูในกลํุมยา ที่ราคาถูกและได๎ผลปานกลาง โดยต๎องให๎ปริมาณยาขนาด1-5 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม/วัน วันละ 1 -2 คร้ัง ในตอนเช๎าและกํอนนอน ใชไ๎ มํเกนิ 3 มลิ ลิกรัม/กโิ ลกรัม/วัน หากใหข๎ นาดสูงเกินไปควรต๎องระวงั ผลข๎างเคียงตํอหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด ผลข๎างเคียงคอื งํวงนอน ปากแหง๎ คอแหง๎ ตาพรํามัว และท๎องผูก (วฐิ ารณ, 2550)
|7 1.4 ยาแอลฟา - อะดรีเนอร์จิกอะโกนิสต์(alpha - adrenergic agonist) ใช๎กับโรคสมาธิสั้น ท่ีมีอาการกล๎ามเนื้อกระตุก รํวมด๎วย ผลข๎างเคียงที่ พบได๎คือ งํวง เวียนศีรษะ ความดันโลหิตต่า หัวใจเต๎นช๎า (ชาญวิทย์,2558) 1.5 ยารักษาโรคจิต (antipsychotic) ในรายท่ีมีพฤติกรรมก๎าวร๎าวรุนแรงมาก หรือมีอาการ กล๎ามเน้ือกระตุก รํวมกับอาการของโรคสมาธิสั้น (ชาญวิทย์,2558)โดยอาการไมํพึงประสงค์ที่สาคัญของการใช๎ยา ท่ีพบบํอย คือการเกิดอาการงํวงซึม น้าหนักตัวเพ่ิม อาการสั่น กระตุก ซ่ึงอาการจะลดลงได๎เมื่อลดขนาดยา ดังนั้นเม่ือมีอาการดังกลําวควรรีบไปพบแพทย์เพ่ือให๎แพทย์ทาการปรับขนาดที่เหมาะสมในการลด อาการข๎างเคียง ดังกลาํ ว (ศุภโชค, 2558) ซึ่งการใช๎ยาในกลํุมนี้มากกวํา 6 เดือนข้ึนไปจะมีโอกาสทาให๎ เกิดการเคล่ือนไหวผิดปกติ ที่ล้ินกล๎ามเน้ือรอบปาก ลาตัวและแขนขาโดยไมํตอบสนองตํอการรักษาด๎วยยาและอาจเป็นอยํางถาวรแม๎หยุดยา ไปแล๎ว (วิฐารณ, 2550) 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการชํวยเหลือทางด๎านจิตใจสาหรับเด็กและครอบครัว ผู๎ปกครอง และครูของเด็กท่ีเป็นโรคสมาธิส้ันจาเป็นต๎องเรียนร๎ูเทคนิคที่ถูกต๎อง เพื่อชํวยในการ จัดการกับพฤติกรรมที่ไมํ เหมาะสมบางอยํางของเด็ก การตีหรือการลงโทษทางรํางกายเป็นวิธีการ ปรับเปล่ียนท่ีไมํได๎ผลและมีสํวนทาให๎เด็ก มีอารมณ์โกรธ หรือแสดงพฤติกรรมตํอต๎านและก๎าวร๎าวมากขึ้น วิธีการที่ได๎ผลดีกวําคือ การให๎คาชมหรือรางวัล (Positive Reinforcement) เมื่อเด็กแสดง พฤติกรรมท่ีถูกต๎องและเหมาะสม งดกิจกรรมท่ีเด็กชอบหรือตัดสิทธิ อน่ื ๆ เม่ือเด็กแสดงพฤตกิ รรมทไี่ มํเหมาะสม (Negative Reinforcement) 3. การชํวยเหลือทางด๎านการเรียน โดยเด็กสมาธิสั้นสํวนใหญํจะมีปัญหาการเรียนหรือเรียน ได๎ไมํเต็มศักยภาพรํวมด๎วย ครูจึงมีบทบาทสาคัญอยํางยิ่งที่จะชํวยเหลือเด็กสมาธิสั้นให๎เรียนได๎ดีขึ้น ซึ่งวรรณภร สมุทรอัษฏงค์ (2556) กลําววํา การรักษาโรคสมาธิสั้นประกอบด๎วย 2 วิธีหลัก คือการบาบัดทางจิต และการรักษาด๎วยยา โดยทั้งสองวิธีสามารถทาควบคูํกันได๎หรือทาวิธีใดวิธีหนึ่ง แตํผลการวิจัยจานวนมาก ระบุวํา การรับประทานยาเพียงอยํางเดียวอาจไมํสามารถ บรรเทาอาการของโรคสมาธิส้ันได๎ดีนัก ดังนั้นการรักษา ด๎วยท้ังสองวิธีควบคูํกันจึงเป็นทางเลือกท่ีดีกวํา เพราะยาจะชํวยบรรเทาบางอาการของโรคในทันที ในขณะท่ีการบาบัดจะชํวยให๎เด็ก โรคสมาธิสั้นเรียนรู๎ทักษะในการใช๎ชีวิตซึ่งเด็กสมาธิสั้นมักขาดทักษะทางสังคม และมีแนวโน๎ม ของการเกิดพฤติกรรมก๎าวร๎าว ทาสิ่งใดสิ่งหน่ึงโดยขาดความย้ังคิด ทาให๎เกิดปัญหาในการอยํูรํวม กับผ๎ูอื่นได๎งําย ควรชํวยเหลือโดยการฝึกทักษะทางสังคม ให๎แกํเด็ก โดยการฝึกให๎เด็กสังเกต อารมณ์ ความรู๎สึก ของบุคคลอื่น รู๎จักรอคอย รับฟัง หรือแสดงพฤติกรรมท่ีเหมาะสม(ชาญวิทย์, 2558) นอกจากน้ีในเด็กสมาธิสั้น ท่ีมีปัญหาการเรียน เด็กควรได๎รับการชํวยเหลือโดยการสํงเสริมให๎ มีการเรียนร๎ูท่ีเหมาะสม เชํน จัดบรรยากาศ การเรียนท่ีบ๎าน การเรียนซํอมเสริม หรือเข๎าไปในโครงการการศึกษาพิเศษ โดยครูและผ๎ูปกครองจะต๎องมีบทบาท ในการชวํ ยเหลือเดก็ รวํ มกัน สรุปได๎วํา การรักษาโรคสมาธิส้ัน มีวิธีการหลักคือการรักษาโดยยา และ การรักษาโดยไมํใช๎ยา สาหรับเด็กสํวนใหญํมักได๎รับการรักษาด๎วยการใช๎ยารํวมกับการรักษาทางจิตสังคมเพื่อลดอาการด๎านพฤติกรรม ท่ีเป็นปัญหาและชํวยให๎ผู๎ป่วยสามารถควบคุมตนเองและปรับตัวได๎ดี ข้ึน โรคสมาธิสั้นเป็นโรคเร้ือรัง ดังนั้นการรักษาจะเปล่ียนแปลงไปตามอายุและปัญหาของผ๎ูป่วยจึงควรต๎องอาศัยการชํวยเหลือหลายวิธีรํวมกัน และควรติดตามอยํางตอํ เนอ่ื งเพ่อื ประเมนิ อาการของและผลกระทบทางดา๎ นจิตสงั คมตาํ ง ๆ
|8 2. แนวคิดทีเ่ ก่ยี วกบั การเรียนรู้ทางสังคม มีหลายทฤษฎีทสี่ ามารถอธิบายประกอบการจัดทารายงานการศึกษารายกรณีคร้ังนี้ ดังน้ันเพื่อให๎ครอบคลุม เนื้อหาและเชือ่ มโยงเร่ืองท่ีต๎องการศึกษา คือ โรคสมาธิสั้น จึงขอยกทฤษฎีท่ีสามารถนามาเชื่อมโยงซึ่งมีรายละเอียด ดงั นี้ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทางสงั คมของแบนดูรา ในทฤษฎีการเรียนรู๎ทางสังคมของแบนดูรา (Bandura, 1977) ได๎เสนอวิธีการหน่ึงที่สามารถ ใช๎ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไว๎คือ กระบวนการเรียนร๎ูโดยการสังเกต โดยแบนดูรามีความ เชื่อวํา การเรียนรู๎ของมนุษย์ สํวนมากเป็นการเรียนร๎ูโดยการสังเกต หรือการเลียนแบบผํานตัวอยําง หรือตัวแบบ ซึ่งทาให๎เกิดความคิด วําจะแสดงพฤติกรรมใหมํๆ อยํางไร และในโอกาสอื่น ๆ ตํอมา ก็จะใช๎ข๎อมูลท่ีได๎เรียนร๎ูนั้นมาเป็นตัวนาทาง ในการแสดงพฤติกรรม โดยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มาจากปัจจัย 3 ประการ ได๎แกํ พฤติกรรม สภาพแวดล๎อม และบุคคลซ่ึงมีความสัมพันธ์กันหากปัจจัยใดเปลี่ยนแปลงไป อีกสองปัจจัยท่ีเหลือจะเปลี่ยนแปลงตามไปด๎วย และการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมจะ เกิดขึ้นภายในโดยไมํจาเป็นต๎องแสดงออกมาให๎เห็น โดยหากแสดงออก มาเป็นพฤติกรรมภายนอกก็เป็นการยืนยันวํา เกิดการเรียนร๎ูผํานการสังเกตตัวแบบหรือการเรียนรู๎โดยการสังเกต บุคคล ซึง่ การสังเกตตวั จากตวั แบบไมํได๎แสดงออกทางพฤติกรรมในทันทีทันใดเม่ือมีโอกาสจึงจะแสดงพฤติกรรมน้ัน ออกมา เชํน เด็กสังเกตเห็นพฤติกรรมกาวร๎าวของพ๎อแมํท่ีมีตํอกันเด็กก็จะจดจาเอาไว๎ซ่ึงข้ันตอนน้ีแบนดูรําถือวํา ไดเ๎ กิดการเรียนร๎ตู ํอมาเม่ือมีโอกาสเด็กกจ็ ะแสดงพฤติกรรมก๎าวร๎าวออกมาทนั ที เป็นต๎น โดยสรุป ทฤษฎีการเรียนร๎ูทางสังคมของแบนดูรา มีความเชื่อวําการเรียนรู๎สํวน ใหญํของคนเราน้ันเกิดจาก การสังเกตตัวแบบ ซึ่งแตกตํางจากการเรียนรู๎จากประสบการณ์ตรงท่ีต๎อง อาศัยการลองผิดลองถูก เพราะนอกจาก จะสูญเสียเวลาแล๎ว ยังอาจมีอันตรายได๎ในบางพฤติกรรม กระบวนการในการเรียนรู๎ด๎วยการสังเกตหรือการเรียนรู๎ จาก ตวั แบบต๎องประกอบดว๎ ยองคป์ ระกอบ ท้ัง 4 ประการดังกลําว คือ กระบวนการดึงดูดความสนใจ กระบวนการ คงไว๎ กระบวนการแสดงออก และกระบวนการจูงใจการเลียนแบบที่สมบูรณ์จะเกิดข้ึนได๎เม่ือมีการจัดวางรูปแบบ องค์ประกอบของการเรียนรู๎จากตัวแบบได๎อยํางเหมาะสมโดยการกระต๎ุนให๎ผ๎ูเรียนสนใจตัวแบบอยํางแท๎จริง จน สามารถจดจาและสร๎างสัญลักษณ์แทนพฤติกรรมของตัวแบบได๎ประกอบกับการจูงใจอยําง เหมาะสม และเพยี งพอจะทาใหพ๎ ฤติกรรมการเลียนแบบจากการสังเกตตวั แบบเป็นไปด๎วยดี ทฤษฎกี ารวางเงื่อนไขแบบการกระทาของสกินเนอร์ สกินเนอร์มีความเชื่อวํา พฤติกรรมของบุคคลเป็นผลเน่ืองมาจาก การมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล๎อม โดยพฤติกรรมท่ีเกิดขึ้นของคนจะแปรเปล่ียนไปเนื่องมาจากผลของการกระทา (consequences) ท่ีเกิดข้ึน ในสภาพแวดล๎อมนั้น ซง่ึ ผลของการกระทาแบํงออกเป็น 2 ประเภท ไดแ๎ กํ ๑. ตัวเสริมแรง (Reinforcer) คือ ผลของการกระทาที่ทาให๎มีการกระทาพฤติกรรมนั้นเพิ่มมากขึ้น โดยแบงํ เปน็ 2 ชนดิ คือ 1.1 ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcer) เป็นส่ิงเร๎าซ่ึงเม่ือผ๎ูเรียนได๎รับแล๎วจะทาให๎อัตรา การตอบสนองมีความถ่ีหรือเพ่ิมมากขึ้น ตัวอยํางตัวเสริมแรงบวก ได๎แกํ ขนม อาหาร คาชม การได๎รับความสนใจ เป็นตน๎
|9 2.2 เสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcer) เป็นสิ่งเร๎าซึ่งเม่ือถูกถอดถอนออกไปแล๎วจะมีผล ให๎อัตราการตอบสนองมีความถี่ทางพฤติกรรมเพิ่มมากขึ้น ตัวอยํางเชํน ขณะมีการเรียนการสอนอยํูมี เสียงอึกทึก ครึกโครมรบกวนการสอน เม่ือลดหรือขจัดเสียงรบกวนนั้นลง ทาให๎การเรียนการสอน ดาเนินไปได๎ดีขึ้นซึ่งเสียง รบกวนนั้นก็เป็นตัวเสริมแรงลบ หรือเมื่อใดท่ีหัวหน๎าอยํูด๎วยพนักงานพิมพ์ดีดจะพิมพ์ได๎ช๎าและผิดพลาดมากแตํ เม่อื ใดทหี่ ัวหนา๎ ออกจากหอ๎ งไป พนกั งานพิมพ์ดดี จะพมิ พ์ได๎เรว็ ขึน้ ซง่ึ กรณนี ้ีหวั หน๎ากเ็ ป็นตวั เสริมแรงลบ 2. การลงโทษ (Punishment) คือผลของการกระทาที่ทาให๎พฤติกรรมท่ีบุคคลกระทาอยูํนั้นยุติลง โดยจุดมํุงหมายของการลงโทษคือเพื่อลดหรือขจัดพฤติกรรมท่ีไมํพึงประสงค์ออกไป ซึ่งในทัศนะของสกินเนอร์ นนั้ ไมสํ นับสนนุ การลงโทษ เพราะวําการลงโทษจะกอํ ใหเ๎ กดิ ผลข๎างเคียงหลายประการ เชํน การลงโทษเป็นการระงับ พฤติกรรมท่ีไมํพึงประสงค์ ชั่วขณะเทําน้ัน หรือผ๎ูที่ถูกลงโทษจะเกิดความรู๎สึกผิด หรือความละอาย ห รือโกรธ ผู๎ทาโทษ อันจะนาไปสํูปัญหาทางอารมณ์ได๎ อยํางไรก็ตามมีผ๎ูไมํเห็นด๎วยกับสกินเนอร์อยูํมากที่จะตัดการลงโทษ ออกไปโดยส้ินเชิงเพราะบางกรณีการลงโทษยังมีประโยชน์ในการยุติหรือยับยั้งพฤติกรรมที่ไมํพึงประสงค์ได๎ หากใช๎การลงโทษอยํางระมัดระวังและมีหลักการ นอกจากน้ีควรจะมีชํวงเวลาการเสริมแรง (Schedules of Reinforcement) ซึ่งในบางสถานการณ์ อาจจะต๎องใช๎การเสริมแรงทุกคร้ัง แตํบางครั้งก็ไมํจาเป็น โดยในกรณีท่ีต๎องใช๎ทุกคร้ังคือ เม่ือต๎องการจะให๎เด็ก เรยี นรพู๎ ฤติกรรมใหมํที่มลี กั ษณะซบั ซ๎อน ซ่ึงเป็นไปในลักษณะการปรับพฤติกรรม การเรียนรู๎จะดาเนินไปอยางดีที่สุด เม่ือเด็กได๎รับการเสริมแรงบวกในทุก ๆ ครั้งที่แสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ และไมํให๎ความสนใจพฤติกรรม ท่ีไมํพึงประสงค์ โดยวิธีการน้ีเรียกวาเป็นการให๎การเสริมแรงทุกคร้ังอยํางตํอเนื่อง (Continuous Reinforcement Schedule) เม่ือเด็กเรียนร๎ูที่จะแสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์แล๎ว การให๎แรงเสริมทุกครั้งก็อาจไมํจาเป็นตํอไป และอาจจะใช๎เปน็ คร้งั คราว (Noncontinuous or Intermittent) ได๎ (Skinner อา๎ งตาม สมโภชน์,2556) ขนั้ ตอนในการปฏบิ ตั ิงาน 1. สภาพทัว่ ไปของนกั เรียน 1.1 ประวัติส่วนตัวและครอบครวั นกั เรยี นชอ่ื เด็กชายเอ (นามสมมติ) อายุ 8 ปี โรงเรียนบา๎ นหนองบวั อ.สคี ้วิ จงั หวัดนครราชสมี า บดิ าชอ่ื นายไทร (นามสมมติ) อาชีพ ธรุ กิจสํวนตัว รับเหมากอํ สร๎าง รายได๎ตํอเดอื น 30,000 บาท มารดาช่อื นางพมิ พา (นามสมมติ) อาชีพ ธรุ กิจสวํ นตวั รับเหมากํอสรา๎ ง รายได๎ตอํ เดือน 30,000 บาท ท่อี ยูํปจั จบุ นั บา๎ นเลขที่ xxxx ตาบลลาดบวั ขาว อาเภอสีควิ้ จังหวดั นครราชสีมา
| 10 เดก็ ชายเอ มีพ่นี อ๎ งรวํ มบดิ ามารดาเดียวกัน 2 คน ( รวมท้งั ตัวนกั เรียนด๎วย ) ตามตารางตํอไปนี้ คนท่ี เพศ อายุ ประกอบอาชพี การศึกษา 1 ชาย 17 นักเรยี น กาลงั ศึกษาอยชูํ ัน้ มัธยมศกึ ษาศึกษาปที ่ี 5 โรงเรียนสคี ว้ิ สวสั ดผ์ิ ดงุ วิทยา 2 ชาย 8 นักเรียน กาลังศกึ ษาอยํชู ัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นบา๎ นหนองบัว ประวตั สิ ขุ ภาพ เดก็ ชายเอ(นามสมมติ) อายุ 8 ปี น้าหนกั 25 กิโลกรัม สวํ นสูง 124 เซนติเมตร กรุ๏ปเลอื ด O 1.2 สภาพครอบครัวและฐานะทางเศรษฐกิจ เด็กชายเอ (นามสมมติ) อาศัยอยํูบ๎านกับบิดา มารดาและพ่ีชาย โดยบิดาและมารดาทางานธุรกิจ สํวนตวั รับเหมากํอสรา๎ ง ฐานะทางเศรษฐกจิ ของครอบครวั อยใูํ นระดบั ดี มีการให๎ความรกั และดูแลเอาใจใสดํ ี 1.3 ทศั นคติของบคุ คลรอบข้างที่มีตอ่ นักเรยี น 1.3.1 บิดา , มารดา เดก็ ชายเอ มีพฤตกิ รรมซกุ ซนไมํอยนํู งิ่ ไมคํ อํ ยจะทนทาอะไรได๎นาน ไมํคํอยชอบทาการบ๎านเมื่อทาแล๎ว กจ็ ะไมํคอํ ยเรียบร๎อย ชอบเลํนตอํ สแู๎ ละเกมสท์ ี่ใชค๎ วามรนุ แรง 1.3.2 ครูประจาช้ัน ครสู ุนสิ า (นามสมมติ) ครปู ระจาช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 มีความคิดเห็นตํอเด็กชายเอ ดงั น้ี - ดา๎ นการเรยี น เดก็ ชายเอ มีผลการเรยี นอยูใํ นระดบั ปานกลางแตจํ ะมีปัญหาทางการเขยี นทีย่ ังไมํคอํ ยสมบรู ณ์ มี ความรบั ผดิ ชอบ ตอํ งานดที าเสร็จแตํไมคํ ํอยเรยี บร๎อย - ดา๎ นพฤติกรรมและลักษณะนิสยั เด็กชายเอ มีความสดใสรําเริง ชอบเลํนหรือกิจกรรมท่ีต๎องใช๎กาลังมาก ๆ จึงทาให๎เพื่อนเจ็บตัว บอํ ย มักจะอยํูไมํน่ิง มกั เลอื กใช๎แตสํ ดี าในการระบายสี - ดา๎ นสุขภาพราํ งกาย เดก็ ชายเอ มีสขุ ภาพรํางกายสมบรู ณ์แข็งแรงดี มีพฤติกรรมอยูไํ มนํ ่ิง - ดา๎ นสังคมและการอยรูํ วํ มกับเพื่อนในชัน้ เรยี น เดก็ ชายเอ สามารถปรับตัวเขา๎ กับเพือ่ นได๎ แตํมกั จะพูดคาไมสํ ภุ าพเม่อื อยํใู นกลุํมเพ่ือน - สิ่งทอี่ ยากให๎ปรับปรงุ ควรเพ่มิ ความสนใจ ในการเรียน ลดพฤตกิ รรมอยํูไมํนิ่ง การทางานให๎เรยี บร๎อยข้ึน
| 11 1.3.3 ครูนักจติ วิทยาประจาสถานศึกษา 1. ครูปยิ ะ (นามสมมติ) ครูนักจติ วิทยาประจาสถานศึกษา มีความคิดเห็นตํอ เด็กชายเอ ดงั น้ี - ด๎านการเรยี น การเรยี นเดก็ ชายเออยูํในเกณฑ์พอใช๎ สนใจในงานชาํ ง ชอบเลํนสวําน มพี ฤตกิ รรมอยูํไมํนง่ิ - ด๎านพฤติกรรมและลักษณะนิสยั หากเป็นกจิ กรรมทต่ี นเองสนใจจะตื่นตัวมากเป็นพเิ ศษ โดยจะพดู เยอะ พดู ซา้ ๆ มกั ควบคมุ อารมณ์ไมํคอํ ยไดเ๎ วลาใชค๎ วามรุนแรง มักใชแ๎ ตสํ ีดาในการระบายสี - ด๎านสขุ ภาพราํ งกาย เดก็ ชายเอ มีสขุ ภาพรํางกายแข็งแรงดี - ดา๎ นสงั คมและการอยูรํ ํวมกับเพ่ือนในชั้นเรียน เขา๎ กบั เพือ่ นๆและครูไดเ๎ ป็นอยํางเปน็ อยํางดแี ตจํ ะมกั จะคุมแรงตวั เองไมํไดเ๎ วลาเลํนกับเพ่ือน - ส่ิงท่ีอยากให๎นกั เรียนปรับปรุง พฤติกรรมอยํูไมํน่ิง การปีนป่ายในทส่ี ูง การทางานไมคํ ํอยเรียบร๎อย 2. ครูแพรวา (นามสมมติ) ครูประจาชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 มคี วามคดิ เหน็ ตํอเด็กชายเอ ดงั น้ี - ด๎านการเรยี น อยูใํ นเกณฑพ์ อใช๎ เวลาเรยี นเหมํอลอย ไมตํ ง้ั ใจเรยี น เรยี นรช๎ู า๎ เข๎าใจยากต๎องอธบิ ายหลายๆครัง้ - ด๎านพฤติกรรมและลักษณะนิสยั เดก็ ชายเอ เวลาอยํูกับครูมกั เหมํอลอย เงียบขรึม เวลาอยูํกบั เพ่ือนพูดคยุ บ๎าง - ด๎านสุขภาพราํ งกาย เด็กชายเอ สขุ ภาพรํางกายแข็งแรงดี - ดา๎ นสงั คมและการอยูํรวํ มกับเพ่อื นในชั้นเรียน เด็กชายเอเข๎ากบั เพ่ือนๆและครูได๎เปน็ อยํางดีแตํจะเขา๎ กบั เพอ่ื นผ๎หู ญิงมากกวําผช๎ู าย - สง่ิ ท่อี ยากใหน๎ กั เรยี นปรบั ปรุง เด็กชายเอ มีพฤติกรรมดา๎ นการแสดงอาการเหมํอลอย อยํไู มนํ งิ่ 1.3.4 เพือ่ นนกั เรยี น 1. เด็กหญิงบี (นามสมมต)ิ นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 มคี วามคดิ เหน็ ตํอ เดก็ ชายเอ ดังน้ี - ดา๎ นการเรยี น เด็กชายเอ เรยี นไมํคํอยเกํง ความสามารถพิเศษคอื การใช๎แรง และอยํูไมเํ ป็นที่ - ดา๎ นพฤติกรรมและลกั ษณะนิสยั เดก็ ชายเอ ชอบเลํนตํอสู๎กับเพอ่ื น พดู ไมํเพราะ ชอบเลนํ ตลอดเวลา ชอบปนี ต๎นไม๎ วิง่ ไปมา - ด๎านสุขภาพรํางกาย เด็กชายเอ ราํ งกายแข็งแรง - ดา๎ นสังคมและการอยูรํ ํวมกับเพื่อนในช้นั เรียน เดก็ ชายเอ ชอบเลนํ กบั เพื่อนแตมํ ักจะเลํนแรง ชอบเขา๎ มาแทรกเวลาเพ่ือนเลนํ พูดไมํเพราะ - สิ่งทอี่ ยากใหเ๎ พื่อนปรับปรุง
| 12 เดก็ ชายเอ ควรพูดจาไพเราะกวาํ นี้ ไมํเลนํ แรงจนเกินไป 2. เด็กชายซี (นามสมมติ) นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/2 มคี วามคดิ เหน็ ตํอ เดก็ ชายเอ ดังนี้ - ดา๎ นการเรยี น เด็กชายเอ เรยี นพอใช๎ ไมํคํอยชอบเรียน อยํไู มํตดิ ที่ แตํชอบเลนํ ตํอสู๎กบั เพื่อน - ดา๎ นพฤติกรรมและลกั ษณะนิสัย เด็กชายเอ แตงํ กายเรยี นรอ๎ ย กริ ิยาไมํคํอยสุภาพ ชอบดาํ คนอื่น อารมณโ์ กรธงาํ ย อารมณ์รําเริง - ด๎านสุขภาพรํางกาย เด็กชายเอ เปน็ คนท่มี สี ุขภาพดี แขง็ แรง - ด๎านสงั คมและการอยูํรํวมกบั เพอ่ื นในชัน้ เรยี น เดก็ ชายเอ ปรบั ตวั เขา๎ กบั เพื่อนได๎ดี แตชํ อบเลํนตํอสู๎กับเพ่ือนแรงเกินไป - สิ่งทอ่ี ยากใหเ๎ พ่ือนปรบั ปรุง ควรควบคมุ อารมณ์ การเลํนแรงกบั เพื่อน 3. เดก็ หญิงเจ (นามสมมติ) นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 มีความคิดเห็นตํอ เด็กชายเอ ดงั นี้ - ด๎านการเรียน เด็กชายเอ เรยี นไมํคํอยเกํงเอาแตเํ ลํนได๎แตํความสามารถพิเศษคือปีนตน๎ ไม๎ - ด๎านพฤติกรรมและลักษณะนิสัย เดก็ ชายเอ พดู ไมเํ พราะ ชอบเลํนตลอดเวลา มกั จะวิ่งไปวงิ่ มาในห๎อง ทาการบ๎านไมํเสรจ็ - ดา๎ นสขุ ภาพรํางกาย เด็กชายเอ มรี ํางกายแข็งแรง - ด๎านสังคมและการอยรํู วํ มกับเพอื่ นในชน้ั เรียน ชอบเลนํ ตํอส๎ูกบั เพ่ือนแตํเลนํ แรง พูดไมเํ พราะ ชอบว่ิงออกนอกห๎อง ชอบแทรกเพื่อนเวลาเลนํ - สิ่งทอ่ี ยากใหเ๎ พื่อนปรับปรงุ เดก็ ชายเอ ควรต้ังใจเรียนมากกวํานี้ ไมํเลนํ แรง 4. เดก็ ชายจี (นามสมมต)ิ นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5/2 มคี วามคดิ เห็นตํอ เด็กชายเอ ดังน้ี - ด๎านการเรยี น เด็กชายเอ เรียนไมเํ กํง ชอบเลนํ มากกวาํ เรยี น วง่ิ ไปมาในห๎อง - ด๎านพฤติกรรมและลกั ษณะนิสยั เด็กชายเอ รําเริง พูดไมเํ พราะ เลนํ แรง ชอบใชก๎ าลงั - ดา๎ นสขุ ภาพรํางกาย ราํ งกายแข็งแรง - ด๎านสงั คมและการอยรูํ วํ มกับเพ่ือนในชนั้ เรยี น ปรบั ตัวเขา๎ กบั เพื่อนผ๎ูชายได๎ดีกวาํ เพื่อนผู๎หญิง - สง่ิ ท่ีอยากใหเ๎ พื่อนปรับปรงุ ควรต้ังใจเรียนมากกวาํ นี้ ไมํควรเลํนในเวลาเรยี น ไมํเลํนแรง
| 13 1.4 บคุ ลกิ ภาพทั่วไปของเด็กชายเอ - ลกั ษณะทางราํ งกาย (รปู ราํ ง หนา๎ ตา การแตํงกาย กริ ิยาวาจา) เดก็ ชายเอ เป็นคนท่มี รี ูปราํ งเล็ก น้าหนกั 25 กิโลกรัม สํวนสงู 124 เซนตเิ มตร ผวิ สองสี ตาเล็ก การแตํงกายสะอาดเรียบรอ๎ ย เงียบไมํคํอยพดู หากยงั ไมรํ จ๎ู กั - ลักษณะทางอารมณ์ (การแสดงออกทางอารมณ์ การควบคมุ อารมณ์ ฯลฯ) เดก็ ชายเอ เปน็ คนที่เงียบขรึม ไมํคอํ ยพดู แตํจะพูดมากกับเพอื่ นทีส่ นทิ พดู ไมํสุภาพ - ลักษณะทางสตปิ ัญญา (ความสามารถในการเรียน ความถนดั และความสนใจพิเศษ) เดก็ ชายเอ มีผลการเรยี นอยูใํ นระดบั ปานกลาง ขาดสมาธิ นง่ั ไมํติดที่ ลุกเดนิ บอํ ย ขณะอยํูใน ห๎องเรยี น ตงั้ ใจฟังไดไ๎ มนํ าน และเกบ็ รายละเอยี ดได๎น๎อย ทาให๎ทางานผดิ พลาดบํอย - ลกั ษณะทางสังคม (การปรับตัว ทักษะสงั คมในห๎องเรียนและโรงเรียน) เด็กชายเอ เข๎ากับเพื่อนไดด๎ ี แตํสวํ นใหญจํ ะเข๎ากับเพ่อื นในกลํมุ ท่ีสนิทอยูํทเ่ี ปน็ ผชู๎ าย มกั จะเลํน ตํอสูก๎ ับเพอ่ื นแตจํ ะคุมแรงตนเองไมํได๎บางคร้งั ชอบเข๎ามาแทรกขณะท่ีเพื่อนเลํนกนั - ความเห็นของครู เด็กชายเอ มีการเคารพเชื่อฟังครู ขณะที่ครูสอนไมํคํอยต้ังใจเรียน แตํเวลาท่ีครูสั่งงานแล๎ว ใหส๎ งํ งานจะขาดความระเอียดรอบคอบในการทางาน ชอบชวํ ยเหลือครูเวลามอบหมายให๎ชํวยถือของหรือทากิจกรรม ทต่ี อ๎ งเคลอื่ นไหวราํ งกาย นั่งไมํคอํ ยติดท่ี - ความเห็นของ บิดา มารดาและญาติพี่น๎อง เด็กชายเอ มีการเคารพเชื่อฟังพํอและแมํดี ชํวยงานบ๎านไมํไมํคํอยละเอียด ชอบเลํนสวํานเจาะรู อยูํไมนํ ง่ิ ชอบเลํนเกมตอํ สู๎ ชอบวงิ่ หรือปนี ป่ายสงิ่ ตําง ๆ มนั หลีกเลย่ี งงานทตี่ อ๎ งใช๎ความคิดหรือสมาธิ และน่ังไมํติดที่ ชอบลุกเดนิ บํอย ๆ ขณะอยทํู บี่ ๎านหรอื ในหอ๎ งเรียน - 1.5 พฤติกรรมท่ีควรปรบั ปรงุ แกไ้ ข (เรยี งลาดับจากมากไปน้อย) 1.5.1. อยไํู มนํ ิง่ น่งั ไมํตดิ ท่ี ชอบลุกเดินบํอย ๆ ขณะอยํูทบ่ี ๎านหรือในห๎องเรยี น 1.5.2. พูดไมํเพราะ เลํนแรง 2.5.3 การสมาธิกับการเรียน 2.. ...การคดั กรองและสง่ ต่อเบ้ืองต้น ทางโรงเรียนได๎ทาการประสานกับนักจิตวทิ ยาประจาสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาผํานบันทึกข๎อความ ในการขอให๎ลงพื้นท่ีให๎คาปรึกษาและคัดกรองเด็กที่มีปัญหาโดยมีการศึกษาจากข๎อมูลการเยี่ยมบ๎านเด็กนักเรียน สภาพปัญหา สภาพครอบครัวและสภาพแวดล๎อมในการประเมินเด็กชายเอ เบื้องต๎น โดยได๎รับการยินยอมจาก ผู๎ปกครองในการสํงตํอเด็กชายเอ เข๎าตรวจโรคทางจิตเวชท่ีโรงพยาบาล ป.แพทย์เพ่ือความแนํใจซ่ึงผลปรากฏวํา เด็กชายเอ เป็นโรคสมาธิส้ัน ต๎องให๎ยาระงับอาการแตํผ๎ูปกครองและครู ลงความเห็นวําควรใช๎การรักษาแบบ ผสมผสานไปด๎วยนอกจากการใช๎ยาจึงได๎เชิญนักจิตวิทยาประจาสานักงานเขตลงพ้ืนที่ให๎คาปรึกษา ให๎ความรู๎ และแนวทางการสํงเสริมและพัฒนาในกรณีของเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นเพื่อให๎เป็นแนวปฏิบัติรํวมกันในการป้องกัน แก๎ไขและสํงเสริมพฒั นาให๎เด็กมีทกั ษะและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์มากขน้ึ
| 14 3. ขนั้ ตอนในการปฏิบัตงิ านของนักจติ วทิ ยาประจาสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา 3.1. บันทกึ ขอ๎ ความขออนญุ าตผู๎บังคบั บัญชาเพ่อื ลงพืน้ ที่ให๎คาปรกึ ษา 3..2 ศกึ ษาขอ๎ มลู ของนักเรยี นผํานระบบดูแลชวํ ยเหลอื นกั เรยี นของโรงเรยี นพร๎อมสอบถามข๎อมูล เพ่ิมเติมจากผู๎อานวยการโรงเรียน ครูนกั จติ วิทยาประจาสถานศึกษาและครปู ระจาชัน้ ในการวเิ คราะห์สภาพปญั หา 3..3. ประชมุ วางแผนรํวมกบั ผูอ๎ านวยการโรงเรยี น ครูนกั จิตวิทยาประจาสถานศึกษา ครูประจาชั้น และผ๎ูปกครองในการหาแนวปฏิบัติรํวมกันเพื่อสํงเสริม พัฒนาเด็กที่เป็นโรคสมาธิส้ันให๎มีทักษะและคุณลักษณะ ที่พึงประสงคม์ ากข้ึน 3..4 จัดทาแนวปฏิบัติรํวมกับโรงเรียนในการสํงเสริม ป้องกัน แก๎ไขและพัฒนาเด็กที่เป็นโรคสมาธิ สน้ั ในโรงเรยี น 3.5. มกี ารตดิ ตามผลเปน็ ระยะผํานแบบสงั เกตพฤตกิ รรมและแบบประเมินพฤตกิ รรม SNAP-IV 3.6 สรปุ ข๎อมลู รายงานตํอผู๎บงั คบั บัญชา วิธกี ารช่วยเหลอื แกไ้ ขปัญหา 1.1 การให้ความรู้ และใหค้ าปรึกษาแกค่ ณะครูและผู้ปกครอง นักจิตวิทยาประจาสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาลงพื้นที่การให๎ความรู๎ ให๎คาปรึกษาแกํคณะครู และผู๎ปกครองเก่ียวกับความบกพรํองของเด็ก สาเหตุ อาการของโรค การรักษา ผลข๎างเคียง จะชํวยลดความเครียด ของคณะครูและผู๎ปกครองและยังทาให๎เกิดมีทัศนคติเชิงบวกในการยอมรับและเห็นใจในอาการและข๎อจากัดตําง ๆ ของเดก็ ชายเอ พรอ๎ มรํวมกนั วางแนวทางการดแู ลชวํ ยเหลอื และปรับพฤติกรรมของเดก็ ให๎เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน 1.2 แนวทางการชว่ ยเหลือด้านการเรียนสาหรับครู เนื่องจากเด็กสมาธิสั้นมักควบคุมและจัดระเบียบให๎ตนเองไมํได๎เหมือนกับเด็กท่ัวไป ดังน้ันครู ตอ๎ งชวํ ยจัดระเบยี บการเรียนไมํใหซ๎ บั ซอ๎ น เพอื่ ใหเ๎ ดก็ สามารถประสบความสาเร็จในการเรียน โดยมีเป้าหมายเพื่อลด อาการเหมอํ ลอย ขาดสมาธิ และลดพฤติกรรมกํอกวนในหอ๎ งเรยี น โดยมีวิธีการดังนี้ 1. ให๎เด็กนง่ั หนา๎ ชนั้ หรือใกล๎ครใู ห๎มากทีส่ ุดเพ่ือครจู ะไดเ๎ ตือนเมื่อเดก็ เร่ิมขาดสมาธิ 2. วางกฎระเบยี บ และตารางกิจกรรมตําง ๆ ของห๎องเรียนใหช๎ ัดเจน 3. ใหค๎ าชมเชย หรือรางวัลเล็ก ๆ นอ๎ ย ๆ เมื่อเด็กปฏิบตั ติ ัวดี หรือทาสิ่งทเี่ ปน็ ประโยชน์ 4. เตือน หรือเรียกให๎เด็กกลับมาสนใจบทเรียนโดยไมํทาใหเ๎ ด็กเสยี หนา๎ 5. ตรวจสมดุ งานของเด็กเพ่ือใหแ๎ นใํ จวําเด็กจดงานได๎ครบถ๎วน 6. หลีกเล่ยี งการใชว๎ าจาตาหนิ ประจาน ประณาม หรือทาให๎เดก็ ขายหน๎า ไมลํ งโทษเด็กรุนแรง 7. ใช๎การตดั คะแนน ลดหรืองดเวลาพัก ทาเวรเพิ่มเม่ือเด็กทาความผดิ 8. มองหาจุดดขี องเด็ก และสนับสนนุ ใหเ๎ ด็กได๎แสดงความสามารถ 9. ตดิ ตอํ กบั ผปู๎ กครองของเด็กอยํางสม่าเสมอเพื่อรายงานเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมของเด็ก 10. ชํวยเหลอื เป็นพิเศษทางด๎านการเรียน เชํน การเรยี นซํอมเสรมิ ตวั ตอํ ตัวหรอื เรียนเป็นกลมุํ เล็ก ๆ ในรายทมี่ ีปญั หาการเรยี น 11. ฝึกให๎จัดระเบียบการเรียน การทาตามคาสั่ง การตรวจทบทวนผลงาน การจดบันทึก และการใช๎เวลาอยาํ งมปี ระสิทธภิ าพ
| 15 1.3 แนวทางชว่ ยเหลือและปรับพฤติกรรมเดก็ สมาธิสนั้ สาหรบั ผู้ปกครอง ปัญหาท่ีเกิดจากโรคสมาธิสั้นนั้นเป็นปัญหาระยะยาวและสามารถสํงผลด๎านลบตํอพัฒนาการ ในวยั รุํนและวยั ผู๎ใหญํ เชํน ตํอต๎านสังคม ติดยาเสพตดิ และเกิดภาวะซึมเศร๎าได๎ ซ่ึงการป้องกันการสูญเสียทรัพยากร บุคคลของประเทศจากโรคสมาธิส้ันในวัยเด็ก การให๎การบาบัดและรักษาจึงมีความสาคัญอยํางยิ่ง หลายครั้ง ทผี่ ูป๎ กครองอาจมีความลาบากในการดูแลเด็กสมาธิส้ัน โดยเฉพาะอยํางย่ิงการฝึกระเบียบวินัย ซึ่งนักจิตวิทยาประจา สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาไดร๎ วํ มกันวางแนวปฏบิ ัติในการชํวยเหลือและปรบั พฤติกรรมได๎ดงั ตํอไปน้ี 1. จัดตารางเวลากจิ วัตรประจาวนั ของเด็กใหเ๎ ด็กทราบวาํ ตอ๎ งทาอะไร เวลาใด 2. จัดสถานทท่ี ส่ี งบสาหรบั เดก็ ทาการบา๎ น อํานหนงั สอื โดยไมมํ สี ิง่ รบกวนสมาธิ 3. อาจจาเป็นตอ๎ งมีผใ๎ู หญํนงั่ ประกบดว๎ ยระหวํางทางาน หรือทาการบา๎ นเพ่ือใหง๎ านเสรจ็ เรียบรอ๎ ย 4. พํอ แมํ และบุคคลอ่ืนในบ๎านต๎องควบคุมอารมณ์ หลีกเล่ียงการตวาด ตาหนิเด็ก หรือลงโทษ รนุ แรงเพราะทาใหเ๎ ด็กเกดิ ปมด๎อย ควรมีการตง้ั กฎเกณฑก์ ารลงโทษทชี่ ัดเจนไว๎ลวํ งหนา๎ 5. เม่ือจาเป็นต๎องลงโทษ ควรใชว๎ ิธีจากดั สทิ ธิตาํ ง ๆ เชนํ งดดูทีวี งดเลนํ เกม ลดคําขนม เป็นต๎น 6. ควรให๎คาชม รางวัลเล็ก ๆ น๎อย ๆ เวลาท่ีเด็กทาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เพื่อเป็นการสร๎าง แรงจงู ใจ ใหเ๎ ด็กทาพฤติกรรมทดี่ ตี อํ ไป 7. ปฏิบัติตนเป็นตัวอยํางท่ีดีแกํเด็ก เชํน มีระเบียบ ร๎ูจักรอคอย สุภาพ ร๎ูจักกาละเทศะ หลีกเล่ียง การใช๎ความ รุนแรงตาํ ง ๆ เป็นต๎น 8. ใช๎คาพดู ส้นั กระชับและเปน็ ข้นั ตอนชดั เจน 9. ใหเ๎ ดก็ ทากิจกรรมทีละอยําง นอกจากน้ียังมีอีกวิธีหนึ่งที่สามารถชํวยเพิ่มสมาธิให๎แกํเด็กสมาธิส้ันสาหรับครอบครัวได๎ดีก็คือ การออกกาลังกายเนื่องจากบริบทของเด็กสมาธิสั้นมักเป็นเด็กท่ีมีกาลังมากมาย การให๎เด็กออกกาลังกายให๎เหน่ือย ชํวยให๎เด็กมีสมาธิดีข้ึน วุํนวายน๎อยลง นอกจากการออกกาลังกายยังเป็นกิจกรรมท่ีสามารถสร๎างวินัยให๎เด็กแตํ อยําปลอํ ยให๎สนกุ มากเกนิ ไป โดยไรจ๎ ุดหมายและควรใช๎เวลาอยาํ งต่าวันละ 20 นาที หรอื จนกระทงั่ เหงอื่ ออก 2.3 การเสริมแรงใหก้ ับเด็กสมาธสิ ้ัน การเสริมสร๎างพลังแรงให๎ให๎กับเด็กสมาธิสั้นนั้นมีความสาคัญมากซึ่งการเสริมแรงดังกลําว เป็นการสร๎างพลังแรงใจด๎วยตัวเองและการสร๎างความนับถือตนเอง ซึ่งเป็นภารกิจยิ่งใหญํท้ังนี้เพราะเด็ก มักมีความร๎ูสึก วําเขาไมํสามารถเข๎ากับคนอ่ืน ไมํถูกยอมรับ มักประสบกับความล๎มเหลวและได๎รับคาตาหนิติเตียน จากคนรอบข๎างคร้ังแล๎วครั้งเลําต้ังแตํยังเล็กซึ่งทาให๎ความรู๎สึกดี ๆ ที่เด็กเคยมีตํอตนเองถูกทาลายลงไปเร่ือย ๆ ซง่ึ คุณครแู ละผป๎ู กครองสามารถชํวยเด็กเสริมแรงใจด๎วยตัวเองได๎ ดังน้ี 1. การให๎คาชมเชย เป็นวิธีทีง่ าํ ยทส่ี ดุ ทเ่ี ดก็ ๆ ชอบ แตํการชมเด็กอยํางมีเทคนิคเป็นส่ิงท่ีต๎องเรียนร๎ู ได๎แกํ การเลือก เรื่องที่จะชมเด็ก มีเทคนิคคือ “ให๎มองข๎อดีของเด็ก และชื่นชมในพฤติกรรมดีทันทีทุกครั้ง” การเลือกคาพูด ในการกลําวชมเชํน “จริง ๆ แล๎ว ป๋องแป๋งก็เขียนรายงานสํงครูได๎ดีมากเวลาหนูต้ังใจทา” การชมท่ีมากเกินไปไมํดี เพราะจะทาให๎เด็กรูส๎ กึ วําไมจํ ริงและเกดิ ความสงสยั ในตนเอง
| 16 2. การให๎รางวลั แกเํ ด็ก สาหรับเด็กวัยประถมข้ึนไป คาชมอยํางเดียวอาจจะไมํพอ เม่ือชมบํอย ๆ เข๎าความต่ืนเต๎น จะคอํ ยๆ หมดไปการให๎คะแนนสะสมเพอื่ ใหร๎ างวลั จงึ เป็นวิธที ่ดี ีที่ควรใชค๎ วบคํูกับคาชม และคะแนนนี้สามารถใช๎แลก สงิ่ ของได๎ เชนํ เงิน ขนม ของเลนํ ท่ีสรา๎ งสรรค์ ยกเว๎นแผํนเกมคอมพวิ เตอร์ หรอื จานวนชวั่ โมงเลนํ เกมเพ่มิ ขน้ึ 3. ชํวยให๎พอํ แมํเหน็ ความสาคัญของการใหร๎ างวลั แกเํ ดก็ การให๎ความรักและการสร๎างความร๎ูสึกมีคุณคํา เป็นที่รัก เป็นท่ีต๎องการและเป็นคนสาคัญ ของครอบครวั เร่ิมต๎น จากท่ีบ๎าน พํอแมํจาเป็นต๎องเรียนร๎ูเทคนิคการปรับพฤติกรรมและการให๎แรงเสริมอยํางถูกวิธี แกํเดก็ เชนํ เดยี วกนั แตํหลายครอบครวั ทพ่ี อํ แมยํ งั ไมเํ ขา๎ ใจเดก็ สมาธสิ นั้ ไมํร๎ูจกั โรคสมาธิสั้น ไมํเคยให๎รางวัล ไมํเคยชม และมักจะเล้ียงดูเด็กเชิงลบด๎วยการดุ ตาหนิ ตี เด็กจะเกิดการรับร๎ูอารมณ์โกรธของพํอแมํตลอดเวลา เกิดความรู๎สึก วําบ๎านไมํมีความสุข เด็กอาจคิดมาก เกิดความกังวลวําเป็นต๎นเหตุของปัญหาและไมํเป็นที่พึงพอใจของคนในบ๎าน หากคุณครูเป็นผ๎ูร๎ูปัญหาและข๎อจากัดของเด็กสมาธิสั้น ควรชํวยสื่อสารให๎ความร๎ู คาแนะนาแกํพํอแมํ ในการปรับเปลย่ี นการเลยี้ งดเู ดก็ เชงิ บวก และสนับสนุนพอํ แมใํ นการให๎รางวัลแกํเดก็ เพื่อเสริมกาลังใจได๎ 4. การใหก๎ าลงั ใจและแรงเสริมอื่น ๆ แกํเด็ก 4.1 การยอมรับในตัวเด็ก ได๎แกํการยอมรับข๎อจากัดของเด็กสมาธิส้ัน และสิ่งท่ีเด็กทาด๎วย ความพยายาม อาจไมํจาเปน็ ตอ๎ งรอให๎เดก็ ทาดี หรือทาในสง่ิ ทค่ี รพู อใจเทํานัน้ 4.2 รับฟังความฝันของเด็กบ๎าง เชํน อาจถามเขาวํา “โตขึ้นหนูอยากเป็นอะไร” เม่ือเด็กตอบ วําอยากเป็นนักบิน ก็ไมคํ วรดูถูกวาํ เด็กจะทาไมไํ ด๎ ถงึ แม๎วาํ เด็กจะเรียนไมดํ ี คิดเลขผิดๆถูกๆและไมํนําจะขับเครื่องบิน ได๎ แตํควรเอาความฝันของเด็กมาเป็นตัวกระตุ๎นในการปรับพฤติกรรมการเรียนของเด็ก ให๎เขามีความพยายามมาก ขน้ึ และอดทนทาในสิ่งท่ียากขน้ึ 4.3 ชํวยเด็กพัฒนาตนเอง โดยช้ีให๎เห็นวํา แตํละคนมีเป้าหมายในชีวิตไมํเหมือนกัน ให๎เด็ก พยายามแขํงกับตนเองและพัฒนาตนเองให๎ดีข้ึนเรื่อย ๆ ควรบอกเด็กเสมอวํา “ความพยายามอยํูที่ไหน ความสาเร็จ กอ็ ยทํู ีน่ น่ั ” 4.4 ค๎นหาจุดเดํนและฝึกทักษะด๎านอ่ืน ๆนอกเหนือไปจากการเรียน แม๎เด็กท่ีไมํประสบ ความสาเร็จทางการเรียน แตํก็ไมํได๎หมายความวําเด็กจะล๎มเหลว เพราะความสาเร็จสามารถทดแทนด๎วย ความสามารถพเิ ศษด๎านอ่นื ๆ เชํน กีฬา ดนตรี ศลิ ปะ งานประดษิ ฐ์ งานชาํ ง ความมนี ้าใจ ฯลฯ 4.5 ให๎ความเช่ือม่ันวําเด็กทาได๎ บอกกับเด็กโดยตรงวํา “ครูเช่ือม่ันวําหนูทาได๎” เพ่ือกระต๎ุน ใหเ๎ ดก็ ก๎าวไปสเํู ป้าหมายท่วี างไว๎ \"ใหช๎ มกอํ นแล๎วคํอยแทรกคาแนะนาที่ชํวยให๎เด็กสามารถปรับปรุงแก๎ไข และพัฒนา สิง่ ท่ยี ังบกพรํองอยํู” 2.4. การติดตามพฤตกิ รรมเดก็ สมาธิส้นั ในชัน้ เรยี น มีการกากับและติดตามความประพฤติของเด็กชายเอวํามีการเปลี่ยนแปลงทางพฤตกรรมมากน๎อย เพียงไร มีอะไรที่ต๎องแก๎ไขบ๎างและหาโอกาสพูดคุยกับเด็กชายเอถึงการเปลี่ยนแปลงของเขาเป็นระยะวําสามารถ พฒั นาอะไรข้ึนบ๎าง โดยพยายามพูดถึงความก๎าวหน๎าในทางทด่ี ีตามดว๎ ยสิง่ ท่ีเดก็ ควรแก๎ไขเพ่ือให๎เด็กเกิดความรู๎สึกที่ดี ไมํร๎ูสึกวําถูกจับผิด นอกจากน้ียังติดตามผํานการสัมภาษณ์ครูและผ๎ูปกครอง ในการรํวมวางแผนพัฒนาพฤติกรรม ทีเ่ หมาะสม โดยใช๎แบบบันทึกพฤติกรรมและแบบประเมินพฤติกรรม (SNAP-IV) ในการติดตามแตํละวัน โดยใช๎แต๎ม สัญลักษณ์ เชํน เหรียญหรือบัตร เพ่ือชํวยลดพฤติกรรมไมํเหมาะสมได๎ด๎วย เชํน เมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมท่ีเหมาะสม
| 17 ครูจะมอบเหรียญหรือบัตรให๎แกํเด็ก โดยอาจทาพร๎อมกับเด็กทุกคนในชั้นเรียน เม่ือเด็กสะสมเหรียญหรือบัตรได๎ จานวนมากพอ สามารถแลกสิทธิพิเศษท่ีครูกาหนดไว๎ได๎ ในทางตรงกันข๎าม หากเด็กแสดงพฤติกรรมไมํเหมาะสม ก็จะถูกปรับเหรียญหรือบัตรคืน เป็นต๎น โดยจากการเฝ้าติดตามเป็นเวลา 2 สัปดาห์ท่ีผํานมาพบวําเด็กชายเอ มีแนวโน๎มของพฤติกรรมไปในทิศทางท่ีดีขึ้น โดยสามารถเพ่ิมชํวงเวลาที่ให๎ตนเองอยํูนิ่งได๎เพิ่มขึ้นจากเดิมและมีการ ยับย้งั ชัง่ ใจในการใช๎แรงในการเลํนบางคร้ัง นอกจากน้ีบิดามารดาได๎สํงเสริมให๎เด็กทากิจกรรมอยํางอื่นหลังเลิกเรียน เชนํ การปนั่ จกั รยาน วาํ ยนา้ และทาสมาธิ 2. ผลการปฏิบตั ิงาน จากการลงพื้นท่ีให๎คาปรึกษาและให๎การชํวยเหลือกรณีศึกษาในคร้ังน้ี จะพบวําเด็กสมาธิส้ันทาให๎คน ใกล๎ชิดปวดหัวได๎มากเน่ืองจากเขาจะขาดทักษะหลายประการที่เด็กอื่นๆมี เชํนการควบคุมตนเอง การคิดกํอนทา การยบั ยงั้ ชงั่ ใจตนเอง ความรบั ผดิ ชอบ การบริหารเวลาและการมีวินัย ปญั หาในการรักษาสํวนหน่ึงเกิดจากท่ีพํอแมํ และครูอาจารย์ที่เกี่ยวข๎องไมํเข๎าใจถึงบริบทของการการนี้ทาให๎ไมํสามารถเล้ียงดูและฝึกฝนทักษะที่เด็กขาดอยํู ได๎ อยํางไรก็ตามเม่ือนักจิตวิทยาประจาสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาลงพ้ืนที่การให๎ความรู๎ ให๎คาปรึกษาแกํคณะครู และผ๎ูปกครอง พร๎อมวางแนวปฏิบัติรํวมกันในการดูแลชํวยเหลือและฝึกฝนทักษะท่ีจาเป็นสาหรับดูแลเด็กสมาธิสั้น อกี ท้งั ยงั สามารถสรา๎ งทัศนคติตอํ เด็กสมาธิสั้นอยํางถูกต๎อง ในการลดผลกระทบจากจุดอํอนและชํวยเสริมการพัฒนา จุดเดํนเพ่อื ให๎เดก็ สามารถประสบความสาเรจ็ และปรบั ตวั อยรูํ วํ มกบั สงั คมไดอ๎ ยาํ งปกติสขุ 3. หนว่ ยงานหรือผ้เู กี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน 3.1 โรงเรยี นบา๎ นหนองบัว อ.สีคิ้ว จังหวดั นครราชสีมา 3.2 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 4 3.3 โรงพยาบาล ป.แพทย์ นครราชสมี า 3.4 เครือขํายนกั จติ วทิ ยาประจาสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา จังหวัดนครราชสมี า 4. สรปุ กรณศี กึ ษาและขอ้ เสนอแนะ เด็กชายเอ เริ่มมีแนวโนม๎ ของการปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปในทิศทางทีด่ ีขึ้นโดยสามารถใหค๎ วามรวํ มมอื ในการทากิจกรรมตําง ๆ ที่ได๎รับมอบหมายจากครูและยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของเพอ่ื นและครูมากขึน้ เลก็ น๎อย ซง่ึ ขณะน้ีอยํูระหวาํ งการติดตามและเฝ้าสงั เกตพฤติกรรมตามระยะเวลาการดาเนนิ การเพื่อดพู ฒั นาการด๎านอ่นื ตํอไป เอกสารอ้างอิง 50-62. ก (3), กรุงเทพมหานคร: ประยูรสาสน์ ไทย. ชาญวทิ ย์ พรนภดล2558. โรคสมาธิส้นั . ในนนั ทวชั สิทธิรักษ์ (บรรณาธิการ),จติ เวชศิริ ราชDSM-5 (469- ชาญวิทย์ พรนภดล2558.(). โรคสมาธิสนั้ . ใน นนั ทวัช สิทธิรักษ์ (บรรณาธกิ าร),จิตเวชศริ ิ ราชDSM-5 (469- 475).
| 18 ทวศี ิลป์ วษิ ณุโยธนิ ,โชษิตา ภาวสุทธิไพศฐิ ,พรทิพย์ วชริ ดิลก,พชั รนิ ทร์ อรณุ เรือง, นครปฐม: สถาบนั วจิ ัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลยั มหิดล. น ป เ ศไ , เป เศ ปเ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. กฉ โ ำเ โรงพยาบาลยวุ ประสารทไวทโยปถัมภ.์ (2550, 2551 และ 2552). รายงานเวชระเบียนและสถติ ิ. สมุทรปราการ: โรงพยาบาลยวุ ประสารทฯ.และธันวรุจน์ บูรณสุขสกลุ 2555).(. ความชกุ โรคสมาธสิ ้ันในประเทศไทย.วารสาร สขุ ภาพจิต วิฐารณ บญุ สิ ทธ(ิ 2555.).โรคสมาธสิ ้นั : การวนิ จิ ฉยั และรักษา. วารสารสมาคมจิ ตแพทย์ แหํ ง ประเทศไทย, 57(4), (2555). โ ฉ ํ ป เ ศไ วินัดดา ปยิ ะศลิ ป์,และพนม เกตมุ าน. 2550)(. ต าราจติ เวชเดก็ และวัยรนํุ (มน 2). กรุงเทพมหานคร:พมิ พลักษณ.์ วนิ ดั ดา ปิยะศลิ ป์. (2550 หน๎า 12). เด็กสมาธสิ นั้ (Attention-Deficit/Hyperactivity Disorder-ADHD): ปรญิ ญา นิพนธว์ ทิ ยาศาตรมหาบัณฑิต. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.ศ ศ ,30(3), 41-47. สมภพ เรืองตระกลู .2551)(. ตาราจติ เวชเด็กและวยั รุกํ รุงเทพมหานคร.: คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าช พยาบาล สมโภชน์ เอีย่ มสุภาษติ (2556).ทฤษฎแี ละเทคนิคการปรั บพฤติกรรมกรุ. งเทพมหานคร:สานักพมิ พ์แหงํ จฬุ าลงกรณ์ สืบค๎นจาก http://home.kku.ac.th แหํงประเทศไทย, 21(2), 66-75. อภิชาติจารสั ฤทธิรงค์, ปราโมทย์ ประสาทกลุ ,และ ปญั ญา ชูเลิศ. (2553). สถานการณ์สขุ ภาพจิตคนไทย:ภาพ สะทอ๎ นสังคม. อาพร ตรีสูน.(2550). สมาธิ ส้ันAttention( Deficit / Hyperactivity Disorder : ADHD) Bandura, A. (1977). Social lerning theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice –Hall aggressive models. Journal of Abnormal and Social Psychology, 63(1), 575-582 Bandura, A. Ross, D., & Ross, S. A. (1961). Transmission of aggression through the imitation of Child Adolescent Psychiatric Clinic, 9(1), 520-540. Edbom, T., Lichtenstein, P., Granlund, M., & Larsson, J. O. (2006). Long-term relationships between Pliszka, S.R. (2000). Patterns of psychiatric comorbidity with attention deficit / hyperactivity disorder. symptoms of attention deficit hyperactivity disorder and self-esteem in a prospective longitudinal study of twins. Acta Paediatrica, 95(6), 650-7. Retrieved from http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16754544
| 19 5. ผลการปฏิบตั งิ านในระยะเวลา 3 เดอื น 6.1 เร่ืองที่ 1 การลงพ้ืนที่สารวจและติดตามการปฏิบัติงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตามมาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตของนักเรียน เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 อันเน่ืองมาจากผลกระทบของสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคระบาดไวรัสโคโรน่า ( Covid 19) สังกัดสานักงาน เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 4 จานวน 180 โรงเรียน สาเรจ็ ไมสํ าเร็จ เพราะ ............................................................................. สํงตอํ กาลังดาเนนิ การ โรงเรียนบา้ นโป่งกระสงั โรงเรียนบ้านหนั โรงเรียนบ้านปางโก โรงเรยี นบา้ นหนองหญา้ ขาว
| 20 โรงเรียนบุญบนั ดาลวิทยานสุ รณ์ โรงเรยี นบ๎านกดุ น๎อย โรงเรียนบา๎ นห๎วยตะแคง โรงเรียนบา๎ นหว๎ ยตะแคงใต๎ โรงเรยี นพรพิทยาคม โรงเรียนบา๎ นนาดีศรสี ะอาด
| 21 6.2 เรื่องที่ 2 การเข้าร่วมอบรมการพัฒนานักจิตวิทยาโรงเรียนประจาเขตพื้นท่ีการศึกษา ตามหลักสูตรการ ฝึกอบรมครปู ระจาชน้ั เพอ่ื เปน็ นักจิตวทิ ยาประจาสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในระหวา่ งวนั ท่ี 28 - 30 มถิ นุ ายน 2563 ณ โรงแรมจันทรารสี อร์ท จงั หวดั นครนายก สาเรจ็ ไมํสาเร็จ เพราะ ............................................................................. สํงตอํ กาลงั ดาเนินการ
| 22 6.3 เรื่องที่ 3 การศึกษาดูงานแนวทางการปฏิบัติงานของนักจิตวิทยาโรงเรียนและระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ในวันที่ 27 สิงหาคม 2563 ณ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 จงั หวัดนครราชสีมา สาเร็จ ไมสํ าเรจ็ เพราะ ............................................................................. สํงตอํ กาลงั ดาเนนิ การ
| 23 6.4 เรื่องท่ี 4 เข้าร่วมอบรมโครงการฝึกอบรมหลักสูตรพนักงานเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมความประพฤติ นักเรยี นและนักศึกษา ประจาปี 2563 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 ในวันที่ 1- 3 กนั ยายน 2563 ณ ห้องประชุมศนู ย์พฒั นาบคุ ลากรอ่างหนิ อาเภอปกั ธงชัย จังหวดั นครราชสีมา สาเรจ็ ไมสํ าเร็จ เพราะ ............................................................................. สงํ ตํอ กาลงั ดาเนินการ
| 24 6.5 เรอ่ื งท่ี 5 วิทยากรโครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สาหรับนักจิตวิทยาประจา สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 ในวันที่ 10 – 11 กันยายน 2563 ณ หอ้ งประชุมปุณฑริก อาเภอบัวใหญ่ จังหวดั นครราชสมี า สาเรจ็ ไมสํ าเรจ็ เพราะ ............................................................................. สงํ ตอํ กาลังดาเนนิ การ
| 25 6.6 เรื่องท่ี 6 วิทยากรโครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สาหรับนักจิตวิทยาประจา สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 ในวันที่ 25 กันยายน 2563 ณ ห้องประชมุ บุญหลายราตรี อาเภอจักราช จังหวดั นครราชสมี า สาเร็จ ไมํสาเรจ็ เพราะ ............................................................................. สํงตํอ กาลงั ดาเนินการ
| 26 6.7 เรอ่ื งท่ี 7 การฝกึ อบรมตามหลกั สูตรอบรมครูประจาชัน้ เพื่อเปน็ นักจิตวทิ ยาประจาสถานศึกษา สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จุดเน้นการถอดบทเรียนย้อนรอยการปฏิบัติงาน (Working Backward) ในพืน้ ท่ขี องนกั จิตวทิ ยาโรงเรียนประจาสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสู่การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ในวันท่ี 28-30 กันยายน 2563 ณ โรงแรมสดี ารีสอรท์ อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก สาเร็จ ไมํสาเรจ็ เพราะ ............................................................................. สํงตํอ กาลังดาเนินการ
| 27 6.8 เรื่องที่ 8 การดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนประสบปัญหาภาวะยากลาบาก ตามโครงการธารน้าใจ สรา้ งบ้านใหม่ใหน้ ักเรียนโรงเรียนสง่าพฒั นา วันที่ 17 มถิ ุนายน 2563 สาเรจ็ ไมํสาเร็จ เพราะ ............................................................................. สงํ ตํอ กาลังดาเนินการ
| 28 6.9 เรอ่ื งท่ี 9 การลงพน้ื ท่ใี ห้ความชว่ ยเหลือและคุ้มครองนักเรียนประสบปัญหาอุบตั ิภยั (ไฟไหม้) ณ โรงเรยี น บา้ นหนองไข่นา้ (ลาพญากลาง) วนั ท่ี 5 สงิ หาคม 2563 สาเรจ็ ไมสํ าเร็จ เพราะ ............................................................................. สงํ ตอํ กาลังดาเนนิ การ
| 29 6.10 เรอ่ื งที่ 10 การลงพน้ื ที่ให้ความชว่ ยเหลือนกั เรียนประสบปญั หาภาวะยากลาบาก โรงเรียนบา้ นหินดาด วันท่ี 26 มิถุนายน 2563 สาเร็จ ไมส่ าเร็จ เพราะ ............................................................................. ส่งต่อ กาลังดาเนนิ การ
| 30 6.11 เรื่องท่ี 11 การลงพ้ืนที่ให้ความช่วยเหลือนกั เรยี นประสบปัญหาภาวะยากลาบากโรงเรยี นบ้านซบั ตะเคียน วนั ท่ี 5 สิงหาคม 2563 สาเร็จ ไมํสาเรจ็ เพราะ ............................................................................. สํงตํอ กาลังดาเนนิ การ
| 31 6.12 เร่อื งที่ 12 การลงพ้ืนทใ่ี ห้คาปรึกษาและใหก้ ารช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนบา้ นหนองตาแกว้ ที่ประสบ ปัญหาล่วงละเมิด วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2563 สาเรจ็ ไมํสาเรจ็ เพราะ ............................................................................. สํงตํอ กาลังดาเนนิ การ
| 32 6.13 เร่ืองท่ี 13 การลงพื้นท่ใี ห้คาปรึกษาและคัดกรองนักเรยี น ณ โรงเรยี นบ้านหนองซ่อมตะเตียนงาม วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2563 สาเรจ็ ไมํสาเรจ็ เพราะ ............................................................................. สํงตํอ กาลังดาเนนิ การ
| 33 6.14 เร่ืองที่ 14 วิทยากรให้ความรู้โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักจิตวิทยาประจาสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 ในวันที่ 9 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุมราช พฤกษ์ ชั้น 3 สานักเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา สาเรจ็ ไมสํ าเรจ็ เพราะ ............................................................................. สงํ ตํอ กาลังดาเนนิ การ ลงชื่อ........................................... (..................................................) รนุํ ที่ ....................กลมํุ ท่ี ...............
| 34 6.15 เรื่องท่ี 15 วันที่ 7 ตุลาคม 2563 ลงพื้นที่ให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง คณะครู พร้อมสาธิตแนวทางการจัด กจิ กรรมการเรียนรสู้ าหรบั พฒั นาผู้เรยี น ณ โรงเรยี นบา้ นหนองบวั อ.สีคว้ิ จ.นครราชสมี า สาเร็จ ไมํสาเร็จ เพราะ ............................................................................. สํงตอํ กาลังดาเนินการ ลงชือ่ (นายธีรภทั ร วิชยพงศ์) นกั จิตวทิ ยาประจาสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 4 ร่นุ ที่ 8 กล่มุ ท่ี 14
| 35 ภาคผนวก
| 36 แบบสารวจปญั หาการเรียน ใหน๎ ักเรยี นเชค็ ข๎อความใหค๎ รบทุกชอํ งตามความเป็นจรงิ แบบสารวจนไี้ มมํ ีผลตํอคะแนนของนักเรยี นและจะเปน็ ประโยชนต์ อํ นักเรยี นโดยตรง ชือ่ ...........................................................................ชน้ั .................................เลขท.่ี ......................... ขอ๎ รายการ เหน็ ดว๎ ย เห็นด๎วย เหน็ ด๎วย ไมเํ ห็น มาก ปานกลาง น๎อย ด๎วย 1. ข๎าพเจา๎ ไมํคํอยมสี มาธขิ ณะฟังครู 2. ข๎าพเจ๎ามกั งวํ งนอนในเวลาเรียน 3. ข๎าพเจ๎าไมชํ อบเรียนในหลายวิชา 4. ข๎าพเจา๎ รส๎ู ึกวาํ ครูใหก๎ ารบ๎านมากเกินไป 5. ข๎าพเจ๎าต๎องการใหค๎ รเู ขา๎ ใจและเอาใจใสขํ ๎าพเจา๎ 6. ขา๎ พเจ๎าต๎องการความชํวยเหลือจากครูเปน็ พิเศษ 7. เพ่อื นข๎าพเจ๎าชอบลอ๎ เลยี นวําเรยี นไมดํ เี ทําเขา 8. ข๎าพเจ๎าอยากลาออกจากโรงเรียน 9. ข๎าพเจ๎าอยากเรียนวชิ าที่ไมตํ ๎องใชค๎ วามคิดมากๆ 10. ขา๎ พเจ๎าอยากอํานหนงั สือให๎เกํงกวาํ น้ี 11. ครูชอบดุข๎าพเจา๎ เพราะขา๎ พเจ๎าเรยี นไมเํ กํง 12. ขา๎ พเจ๎าต๎องการคาแนะนาวิธีเรียนหนังสือใหด๎ ี 13. ขา๎ พเจา๎ อยากแสดงออกให๎เพื่อนและครูเห็นวาํ ข๎าพเจ๎ามีความสามารถ 14. ขา๎ พเจ๎ารูส๎ กึ วาํ เรยี นหนงั สือแลว๎ มคี วามสขุ 15. ขา๎ พเจ๎ารูส๎ กึ วําครูสอนหนังสือสนกุ รวม
| 37 แบบสารวจปญั หาครอบครัว ให๎นกั เรียนเช็คข๎อความให๎ครบทุกชํองตามความเป็นจรงิ แบบสารวจนี้ไมมํ ีผลตอํ คะแนนของนักเรยี นและจะเปน็ ประโยชน์ตอํ นกั เรยี นโดยตรง ชอ่ื ...........................................................................ช้นั .................................เลขที.่ ......................... ขอ๎ รายการ เห็นด๎วย เหน็ ดว๎ ย เหน็ ดว๎ ย ไมเํ ห็น มาก ปานกลาง น๎อย ด๎วย 1. ข๎าพเจา๎ อยากมีทีเ่ งยี บๆอํานหนังสือบ๎าง 2. ข๎าพเจ๎าอยากมที ่ีอยเํู ป็นสัดสํวนของข๎าพเจ๎า 3. ขา๎ พเจ๎าเอาอยาํ งเพื่อนไมํได๎เพราะขา๎ พเจ๎าไมํมเี งนิ 4. พอํ และแมํจ๎จู ี้ในเรอ่ื งสวํ นตวั ของข๎าพเจา๎ 5. พํอและแมํไมํชอบเพ่ือนของข๎าพเจ๎า 6. พอํ และแมํรักลูกลาเอยี ง 7. พํอและแมํไมํสนใจขา๎ พเจ๎า 8. พอํ และแมชํ อบบํนวําขา๎ พเจา๎ เร่ืองการเรียน 9. ข๎าพเจ๎าเบื่อบา๎ น 10. ขา๎ พเจ๎าไดเ๎ งินน๎อยมาก 11. พํอแมไํ มํคํอยฟงั ความคิดเหน็ ของขา๎ พเจา๎ 12. ขา๎ พเจา๎ ไมํกลา๎ ขอความคิดเห็นจากพํอแมํ 13. พํอแมเํ ข๎มงวดเกนิ ไป 14. พํอแมไํ มํให๎กาลังใจข๎าพเจ๎าเลย 15. ขา๎ พเจา๎ อยากใหบ๎ ๎านนาํ อยกํู วํานี้ 16. ข๎าพเจา๎ รูส๎ ึกวาํ ตัวเองไมํใชลํ ูกของพอํ แมํ 17. ขา๎ พเจ๎าไมํสามารถปฏบิ ตั ใิ หถ๎ ูกใจพํอแมํได๎ 18. ขา๎ พเจ๎าไมํกล๎าบอกพํอแมํเมื่อข๎าพเจ๎าทาผดิ รวม
| 38 แบบสารวจปญั หาทางสังคม ใหน๎ กั เรยี นเช็คข๎อความให๎ครบทุกชํองตามความเปน็ จริง แบบสารวจนไี้ มํมผี ลตํอคะแนนของนักเรียนและจะเป็น ประโยชนต์ ํอนกั เรยี นโดยตรง ชือ่ ...........................................................................ชัน้ .................................เลขท่.ี ......................... ขอ๎ รายการ เห็นดว๎ ย เหน็ ด๎วย เห็นดว๎ ย ไมํเห็น มาก ปานกลาง น๎อย ดว๎ ย 1. ขา๎ พเจา๎ อยากให๎ใครๆชอบขา๎ พเจ๎า 2. ขา๎ พเจา๎ อยากคุยให๎ถกู ใจคน 3. ข๎าพเจา๎ ไมํสบายเวลาไปงานสังคม 4. ขา๎ พเจา๎ ไดเ๎ พอ่ื นใหมํ 5. ข๎าพเจ๎าอยากให๎ตนเองมคี วามมนั่ ใจมากขน้ึ 6. ขา๎ พเจา๎ พดู ตํอหน๎าคนมากๆ ไมํเปน็ 7. ความเหน็ ของข๎าพเจ๎ามักจะขัดแย๎งกบั เพ่ือนๆ เสมอ 8. ข๎าพเจ๎าอยากเปน็ ผฟ๎ู งั ทดี่ ี 9. ข๎าพเจา๎ อยากเข๎ากบั เพ่ือนรุนํ เดยี วกนั ได๎ 10. ข๎าพเจ๎าไมํคอํ ยมีเร่ืองคุยเม่ืออยใูํ นกลุํมเพื่อน 11. ขา๎ พเจ๎าร๎สู กึ งุํมงาํ มเม่ือต๎องรับประทานอาหารใน งานเลยี้ ง 12. ข๎าพเจ๎าอยากเรยี นร๎ูวิธีเปน็ ผ๎นู า 13. ขา๎ พเจ๎าวางตัวไมถํ ูกเมื่ออยํูในหมํเู พื่อน 14. ขา๎ พเจ๎าปฏเิ สธเพื่อนไมเํ ป็นไมํตอ๎ งการทาตามเขา 15. เพอ่ื นๆ ไมํให๎ข๎าพเจ๎าเข๎ารวํ มกลุํมบํอยๆ รวม
| 39 แบบสัมภาษณ์ ผปู้ กครองจากการเยี่ยมบา้ น ข๎าพเจ๎าชื่อ (นาย / นาง / นางสาว)........................................................นามสกุล.................................. อายุ.................ปี สัญชาติ............................................ศาสนา.......................... เป็นผู๎ปกครองของ............................................ผ๎ปู กครองมีความเกย่ี วข๎องเปน็ ................................... ที่อยํูปจั จบุ นั บ๎านเลขท่.ี ...............หม.ูํ ....................ตาบล....................อาเภอ....................................... จงั หวดั ..................................รหสั ไปรษณีย.์ .................................เบอรโ์ ทรศัพท์................................ ข้อมูลท่ัวไป ปัจจุบนั ประกอบอาชีพ ( ) รบั ราชการ (ระบุ)............................................... ( ) เกษตรกร ............... ทานา ..............ทาไรํ ..............ทาสวน ( ) รบั จา๎ งทัว่ ไป ( ) ค๎าขาย ( ) อน่ื ๆ (ระบ)ุ ............................................... เวลาที่ทํานและครอบครัวอยํูพรอ๎ มเพรียงกัน คือ ( ) ตอนเชา๎ ( ) ตอนเยน็ ( ) เวลาอนื่ ๆ (ระบุ)......................................... การใช๎เวลาวาํ งของนักเรยี นเวลาอยํูบา๎ น ( ) ไมํมเี วลาทาการบา๎ นและอาํ นหนงั สือเพราะมีงานบ๎านทต่ี ๎องทางานมาก ( ) ทาการบ๎านและอํานหนังสือมากชํวยงานบา๎ นเล็กนอ๎ ย ( ) ใช๎เวลาสํวนมากดูโทรทัศน์ ( ) ใช๎เวลาสํวนมากเท่ียวเลํนกับเพอื่ น เวลาอยทํู ่ีบา๎ นเด็กมกี ารทบทวนเน้อื หาบทเรียนท่ีได๎เรียนหรือไมํ ( ) ทบทวน ( ) ไมํทบทวน เด็กขยันทา การบา๎ นมากน๎อยเพยี งใด ( ) ขยันทาการบ๎านมากกวาํ ที่ครูมอบหมาย ( ) ทาเฉพาะทค่ี รูสั่งโดยไมตํ ๎องเตอื น ( ) ทากต็ อํ เมอื่ ทางบ๎านเค่ยี วเขญ็ ( ) ไมํเคยนาการบ๎านมาทาที่บ๎านเลย ( ) อน่ื ๆ (ระบุ).............................................. งานทที่ างบ๎านมอบหมายให๎ทาเป็นประจาคือ.............................................................................. เด็กชํวยงานทท่ี าํ นมอบหมายใหม๎ ากน๎อยเพียงใด
| 40 ( ) ชวํ ยงานบ๎านที่ได๎รับมอบหมายให๎ทา ( )ชํวยงานบา๎ นมากกวาํ ที่ได๎รบั มอบหมาย ( ) ไมเํ คยชวํ ยเลย นักเรียนไดเ๎ งินคําใชจํ ํายประจาวนั จานวน ...................บาท นักเรยี นเดนิ ทางไปโรงเรยี นโดย........................................................................................................................... ความสามารถพเิ ศษของนักเรยี นคือ...................................................................................................................... โรคประจาตัวของนักเรียนคอื ............................................................................................................................... ถา๎ เด็กของทาํ นทาความผดิ ทาํ นจะลงโทษหรือแก๎ไขปญั หาอยาํ งไร ............................................................................................................................. ............................................................... เด็กของทาํ นมีการพดู จากนั เป็นอยาํ งไร ............................................................................................................................. ............................................................... เม่ือเด็กของทาํ นโกรธหรือไมํพอใจจะแสดงจะแสดงกริ ยิ าทําทางอยํางไร ............................................................................................................................. ............................................................... เวลาท่ีอยูํท่ีบ๎านในเวลาวาํ งเด็กมักจะทาอะไร ............................................................................................................................. ............................................................... การคบเพ่ือนของเดก็ เม่อื อยํทู ่ีบา๎ นเปน็ อยํางไร ............................................................................................................................................ ................................................ ลกั ษณะนสิ ยั ของเดก็ ขณะที่อยูํบา๎ นเป็นอยาํ งไร .................................................................................................................................................................. .......................... ปัญหาท่ีทางบ๎านตอ๎ งการให๎ครดู แู ลและชวํ ยเหลอื เด็กคอื ................................................................................................................................................................................. ........... ลงชอื่ .........................................ครูผู๎เยยี่ ม ลงช่อื ......................................ผูป๎ กครอง (................................................) (...............................................)
| 41 ทัศนคตขิ องครูทมี่ ีต่อ ...................................................................... ลกั ษณะทางรํางกาย (รูปราํ ง หน๎าตา การแตงํ กาย กริ ิยาวาจา ฯลฯ) ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................................................................... ............. ลักษณะอารมณ์ (การแสดงอารมณ์สดช่นื รําเรงิ เงียบขรึม การควบคุมอารมณ์ ฯลฯ) ....................................................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................. ............................................................................... ลกั ษณะทางสติปัญญา (ความสามารถดา๎ นการเรยี น ความสามารถพิเศษ ความถนดั ) .......................................................................................................... .................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................... ลักษณะทางสงั คม (การปรบั ตัวเข๎ากับเพื่อน ครู สงั คมในห๎องเรยี น และโรงเรยี น) ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... พฤติกรรมท่ีควรปรับปรุง แก๎ไข .......................................................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................................................................................ ลงช่ือ................................................... (...............................................) วันท่.ี ...........เดอื น..........................พ.ศ. .................. ครูประจาช้ัน
| 42 ทศั นคติของครูทมี่ ีตอ่ ...................................................................... ลกั ษณะทางราํ งกาย (รปู รําง หนา๎ ตา การแตํงกาย กริ ิยาวาจา ฯลฯ) ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ลักษณะอารมณ์ (การแสดงอารมณ์สดชนื่ ราํ เริง เงยี บขรึม การควบคุมอารมณ์ ฯลฯ) ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................................................................ ................ ลักษณะทางสติปัญญา (ความสามารถด๎านการเรียน ความสามารถพเิ ศษ ความถนัด) ......................................................................................................................................................................... ................... ............................................................................................................... ............................................................................. ลกั ษณะทางสังคม (การปรบั ตัวเขา๎ กบั เพื่อน ครู สงั คมในห๎องเรียน และโรงเรยี น) ....................................................................................................... ..................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... พฤติกรรมที่ควรปรบั ปรงุ แก๎ไข ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................................... ............................................. ลงชอื่ ................................................... (...............................................) วนั ที่............เดือน..........................พ.ศ. .................. ครนู กั จติ วิทยาประจาสถานศึกษา
| 43 ทัศนคตขิ องครทู มี่ ีต่อ ...................................................................... ลักษณะทางรํางกาย (รปู รําง หน๎าตา การแตํงกาย กิรยิ าวาจา ฯลฯ) .................................................................................................................. .......................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ลกั ษณะอารมณ์ (การแสดงอารมณ์สดชน่ื รําเรงิ เงยี บขรึม การควบคุมอารมณ์ ฯลฯ) ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ลักษณะทางสตปิ ัญญา (ความสามารถดา๎ นการเรียน ความสามารถพิเศษ ความถนดั ) ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................................................................. ............... ลกั ษณะทางสงั คม (การปรบั ตัวเข๎ากบั เพ่ือน ครู สงั คมในห๎องเรยี น และโรงเรยี น) ..................................................................................................................................................................... ....................... ........................................................................................................... ................................................................................. พฤติกรรมที่ควรปรบั ปรุง แก๎ไข ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ลงชื่อ................................................... (...............................................) วันท.ี่ ...........เดือน..........................พ.ศ. .................. ครปู ระจาวชิ า................................
| 44 ทัศนคตขิ องเพือ่ นร่วมห้องที่มตี อ่ ……………………………………………….. ลกั ษณะทางรํางกาย (รูปรําง หน๎าตา การแตํงกาย กิรยิ าวาจา ฯลฯ) ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................... ลกั ษณะอารมณ์ (การแสดงอารมณส์ ดชื่น รําเริง เงียบขรึม การควบคุมอารมณ์ ฯลฯ) ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ลกั ษณะทางสติปัญญา (ความสามารถด๎านการเรยี น ความสามารถพิเศษ ความถนัด) ............................................................................................................................. ............................................................... ........................................................................................................................................ .................................................... ลกั ษณะทางสงั คม (การปรบั ตัวเขา๎ กับเพ่ือน ครู สงั คมในห๎องเรยี น และโรงเรยี น) ................................................................................................................................. ........................................................... ............................................................................................................................................................................................ พฤติกรรมท่ีควรปรบั ปรงุ แก๎ไข ............................................................................................................ ................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................... ข๎อด.ี .................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ....... ขอ๎ เสีย................................................................................................................... .............................................................. ............................................................................................................................. ............................................................... ลงชอื่ ...............................................ผ๎ใู หข๎ อ๎ มลู (...............................................) วนั ที.่ ...........เดอื น..........................พ.ศ. ..................
| 45 แบบสังเกตพฤตกิ รรม ครงั้ ที่......... ช่ือนกั เรียน..................................................................ชั้น................วันเวลา........................................................ สถานที่สงั เกต............................................................... พฤติกรรม................................................................................................................................. .............. .................................................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... .......................................................................................................................................................................................... .. ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ความคดิ เหน็ ......................................................................................................................................................... ................................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ....................................................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................. ............................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ................................................................................................................................................................................... ......... ขอ๎ เสนอแนะ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................... ............................................................................................ ................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... .................................................................................................................................................................. .......................... ........................................................................................................ .................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ผ๎ูสังเกต...................................... (.................................................)
| 46 แบบบันทึกการสัมภาษณ์ โรงเรยี น.................................................................................... ภาคเรยี นท่.ี .........................ปกี ารศกึ ษา..................................... ชือ่ -สกุลผ๎ูถกู สมั ภาษณ์.......................................................................................................................................... เกยี่ วขอ๎ งกบั นกั เรียนช่ือ-สกุลนักเรียน.............................................................................ชนั้ ................................ ความสมั พันธ์เป็น.................................................................................................................................................. ว/ด/ป ที่สัมภาษณ์.................................................เวลา...............................สถานท่ี............................................ วตั ถุประสงค์ของการสมั ภาษณ์ คือ ....................................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. .............................................................................................. สรุปผลจากการสัมภาษณ์ ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ขอ๎ สงั เกต ...................................................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................................................................................................................ ขอ๎ เสนอแนะ ............................................................................................................................. ............................................................... นัดสมั ภาษณค์ ร้งั ตอํ ไปเรอ่ื ง.................................................................................................................................. ว/ด/ป ทส่ี ัมภาษณ์.................................................เวลา...............................สถานท่.ี ........................................... ลงชือ่ ผ๎สู ัมภาษณ.์ ........................................................... () ตาแหนํง……………………………………………
Search