หลกั การใช้ บนั และ บรร
หลักการใช้ บัน และ บรร บนั และ บรร ในภาษาไทย ออกเสียงเหมอื นกนั แตม่ ีหลักเกณฑ์การใชต้ า่ งกนั
กลอนชว่ ยจา “บนั ” “บนั ” ที่ใชใ้ นคาไทยส่วนใหญ่รบั มาจากภาษาเขมร บนั ดาลลงบนั ได บนั ทกึ ให้ดจู งดี รน่ื เรงิ บนั เทงิ มี บนั ลอื ลน่ั ส่ันดงั บนั โดยบนั โหยให้ บนั เหินไปจากรวงรงั บนั ทงึ ถงึ ความหลงั บนั เดนิ น่ังนอนบนั ดล บนั กวดเอาลวดรดั บนั จวบจดั ตกแตง่ ตน คา “บนั ” นั้นฉงน ระวงั ปนกบั “ร-หัน”
กลอนชว่ ยจา “บัน” “บนั ” ทใ่ี ชใ้ นคาไทยส่วนใหญ่รบั มาจากภาษาเขมร บนั ทกึ ระลกึ ไว้ บนั ดาลให้ใจรนื่ เรงิ สขุ สันตร์ ว่ มบนั เทงิ บนั ลอื เลอ่ื งเรอื่ งมายา หากพลาดพลงั้ อาจเจบ็ ขา บนั ไดไตร่ ะวงั อกี บญั ชาควรระวงั เขียน บนั ตา่ งบรรดา
บันได (บนั -ได)
บันทึก (บนั -ทกึ )
บันเทิง (บนั -เทงิ )
บันดาล = (บนั -ดาน) บันลือ = (บนั -ลอื ) บัญชา = (บนั -ชา)
หลักการใช้ บรร การใช้ “บรร” คาท่ีใช้ บรร เป็นพยางค์หน้าของคา ส่วนใหญ่แผลงมาจากคา ประ หรอื บริ เชน่ บรรจง มาจาก ประจง บรรจบ มาจาก ประจบ บรรจุ มาจาก ประจุ บรรทดั มาจาก ประทัด บรรทุก มาจาก ประทุก บรรลุ มาจาก ประลุ
กลอนชว่ ยจา “บรร” บรรจง บรรจใุ ส่ บรรทกุ ไว้ บรรดามี บรรเจดิ บรรลทุ ่ี บรรทดั ดี สดุ บรรยาย บรรหาร แกร้ ูค้ วามหมาย บรรพต กาหนดแน่ เลอื กมาใชใ้ ห้เหมาะความ คา บรร มมี ากมาย
บรรจุ (บัน-จ)ุ
บรรทัด (บัน-ทัด)
บรรเลง (บัน-เลง)
บรรทุก (บัน-ทุก)
บรรลุ (บัน-ล)ุ
บรรดา = (บนั -ดา) บรรยาย = (บนั -ยาย) บรรพต = (บนั -พด) บรรหาร = (บนั -หาน)
บรรจง = (บนั -หาน) บรรเทา = (บนั -ยาย) บรรจบ = (บนั -ดา) บรรทม = (บนั -พด) บรรพชา = (บนั -พะ-ชา)
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: