โครงการการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี 2564 ความสอดคล้องกับนโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภารกจิ ตอ่ เน่ือง 1. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ / การศึกษาตามอธั ยาศยั 1.1) พฒั นาแหล่งเรียนรูท้ ่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เออื้ ต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการเรยี นรู้ ให้เกิดข้ึนในสังคมไทยใหเ้ กิดขึ้นอย่างกวา้ งขวางและทั่วถึง เชน่ การพัฒนา กศน.ตำบล ห้องสมดุ ประชาชนทุกแห่ง ให้มีบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสามสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัด หน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนท่ี ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและ การเรียนรทู้ ห่ี ลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นท่ีต่างๆอย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมท้ังเสรมิ สร้างความพร้อมใน ด้านบคุ ลากร สื่ออุปกรณเ์ พอื่ สนบั สนุนการอา่ น และการจัดกจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสริมการอา่ นอย่างหลากหลายรปู แบบ 1.2) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆ ท่มี ีแหลง่ เรียนรูอ้ ื่นๆ เพ่ือส่งเสรมิ การจัด การศกึ ษาตามอัธยาศัยใหม้ ีรปู แบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ การเรยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนา หอ้ งสมุด รวมถงึ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ เป็นต้น 2. ความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กศน.อำเภอ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั - ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือกิจกรรม การศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย - การกำหนดโครงการ หรอื กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั - ผู้จดั กิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั - สื่อ หรอื นวัตกรรม และสภาพแวดล้อมทเ่ี ออ้ื ตอ่ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย - ผู้รับบรกิ ารมีความพึงพอใจต่อการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา - การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาที่เน้นการมีสว่ นร่วม - ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา - การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศกึ ษา - การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอื่ สนบั สนุนการบริหารจดั การ - การกำกบั นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา - การปฏบิ ัติหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาที่เป็นไปตามบทบาทที่กำหนด - การสง่ เสริม สนับสนุนภาคเี ครอื ข่ายให้มีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา - การสง่ เสริม สนับสนนุ การสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ - การวจิ ยั เพื่อการบรหิ ารจดั การศึกษาสถานศึกษา
3. หลกั การและเหตผุ ล ในพระราชบัญญัตสิ ่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ.2551 ได้ให้คำจำกัดความ ของการศกึ ษาตามอัธยาศัย ไว้ว่า “การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายความว่า กิจกรรมการเรยี นรู้ในวิถีชวี ิตประจำวัน ของบุคคลซึ่งบุคคลสามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความพร้อม และศกั ยภาพในการเรียนรขู้ องแต่ละบคุ คล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ พุทธศักราช 2542 มาตรา 15 ได้นิยามการศึกษาตามอัธยาศัย ไว้ว่า “การศึกษาตามอัธยาศัย” เป็นการศึกษาท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจ ศักยภาพ ความ พรอ้ มและโอกาส โดยศกึ ษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สอ่ื หรือแหล่งความร้อู ืน่ ๆ \"การศึกษาตามอัธยาศัย หมายถงึ วิธีการทหี่ ลากหลายทน่ี ำไปสู่การเรียนรู้อาจเกิดขนึ้ โดยการถูกผลกั ดนั ให้ เกิดขึ้นผ่านกระบวนการสนทนา เกี่ยวข้องกับการสำรวจ และขยายประสบการณ์ โดยไม่อาจทำนายล่วงหน้าได้ เปน็ สิง่ ทีบ่ งั เอิญเกิดขึ้นอุบตั ิข้ึน (วศิ นี ศลิ ตระกูล และอมรา ปฐภญิ โญบรู ณ์, 2544: 2-3)\" การศึกษาตามอัธยาศัย หมายถึง การศึกษาท่ีเกิดข้ึนตามวิถีชีวิตท่ีเป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ จาก การทำงาน จากบุคคล จากครอบครัว จากชุมชน จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ ความบันเทิง และการพัฒนาคุณภาพชวี ิต โดยมลี ักษณะที่สำคัญคอื ไม่มีหลักสตู ร ไม่มเี วลาเรียนที่แน่นอน ไม่จำกัดอายุ ไม่มีการ ลงทะเบียน และไม่มีการสอน ไม่มีการรับประกาศนียบัตร มีหรือไม่มีสถานท่ีแน่นอน เรียนที่ไหนก็ได้ ลักษณะการ เรยี นส่วนใหญเ่ ป็นการเรยี นเพ่อื ความรแู้ ละนันทนาการ อกี ทง้ั ยังไม่จำกดั เวลาเรยี น สามารถเรียนได้ตลอดเวลาและ เกิดขนึ้ ในทุกชว่ งวยั ตลอดชีวติ (กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน,2538: 83) ศูนย์ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2544) ให้นิยามการศึกษาตามอัธยาศัย ว่า เป็นการจัดสภาพแวดล้อม สถานการณ์ ปัจจัยเก้ือหนุน สื่อ แหล่งความรู้ และบุคคล เพื่อส่งเสริมให้บุคคล ได้ เรยี นรูต้ ามความสนใจ ปฐม นิคมานนท์ (2532 : 112) ให้ความหมายว่า การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นกระบวนการตลอดชีวิต ซ่ึง บุคคลได้เสริมสร้าง เจตคติค่านิยม ทักษะ และความรู้ต่าง ๆ ในสภาพแวดล้อม เช่น การเรียนรู้จากครอบครัว เพ่ือนบ้าน จากการทำงาน การเล่น จากตลาด ร้านค้าห้องสมุด ตลอดจนเรียนรู้จาก สื่อมวลชนต่าง ๆ ตัวอย่าง เช่น เด็กเรียนรู้เก่ียวกับภาษาและคำศัพท์ต่าง ๆ จากบ้าน เด็กหญิงเรียนรู้วิธีทำกับข้าว การเล้ียงน้อง การจัด บ้านเรือน การอบรมสั่งสอน และการสังเกตจากมารดา เด็กผู้ชายเรียนรู้ด้านอาชีพจากบิดา เรียนรู้การเฝ้าดูและ สังเกตธรรมชาติ หรอื แมแ้ ตก่ ารค้นพบส่ิงตา่ ง ๆ โดยบงั เอิญ หรือเรียนรโู้ ดยไมไ่ ด้ตง้ั ใจเป็นต้น ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ และคณ ะ (2544 : 33-34) ให้นิยามการศึกษาตามอัธยาศัยว่า เป็นการจัด สภาพแวดล้อม สถานการณ์ ปัจจัยเก้ือหนุนส่ือ แหล่งความรู้ และบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้บุคคลได้เรียนรู้ตามความ สนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตทงั้ ของตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสงั คม Coombs และ Ahmed (1974) ให้ความหมายว่าเป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซ่ึงบุคคลแสวงหา และรับความรู้ ทักษะ ทศั นคติความเข้าใจท่กี ระจ่างชัดที่เกี่ยวกบั ประสบการณใ์ นชวี ิตประจำวัน และการแสดงออก ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มรอบๆ ตัวบุคคล (Evan, 1981:chapter II) การศึกษาตามอัธยาศัย หมายถึงผลของการเรียนรู้อันเกิดจากสถานการณ์ท่ี ผเู้ รียน หรอื แหลง่ ความร้อู ยา่ งใดอยา่ งหนึง่ มเี จตจำนงเพอื่ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ แต่ไม่ใช่ท้ังสองปัจจัยเกิดตรงกัน
การศึกษาตามอัธยาศัย ไม่ใช่ของใหม่แต่เป็นการศึกษาที่มีมาต้ังแต่มนุษย์เกิดข้ึนในโลกมนุษย์เรียนรู้จาก ธรรมชาติ เช่น ในสังคมเกษตรกรรมมนุษย์เรียนรู้การหนีภัยจากธรรมชาติ และการหาอาหาร การทำสวนครัวจาก พอ่ แม่ หรือสมาชกิ ในครอบครวั แต่ในสังคม อุตสาหกรรม มนุษย์เรียนรู้มากข้ึนจากการติดต่อค้าขาย การอ่านการ เขยี น การฟังวิทยุ การดูโทรทัศน์ ในปัจจุบันสังคมมีการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อม ทำให้มนษุ ย์ต้องมีการปรับตัว ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงท่เี กิดขึน้ ทำให้ต้องแสวงหาความร้ใู หม่ๆ ตลอดเวลา สำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั สุพรรณบุรี เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนอย่างยั่งยืน จึงจัดทำโครงการการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี 2564 กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านในรปู แบบที่หลากหลายกบั ประชาชน เพ่ือเป็นกระตนุ้ สร้างนิสัยการอ่าน เพิม่ อัตราการอา่ นของประชาชน ท้ังกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นในห้องสมุดประชาชน กิจกรรมนอกห้องสมดุ ประชาชน การสร้างอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านร่วมกับภาคีเครือข่ายในรูปแบบจัดตั้งบ้านหนังสือชุมชน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคล่ือนที่ในรูปแบบรถห้องสมุดเคล่ือนท่ีส่งเสริมการอ่าน อีกท้ังมีผลักดันให้เกิดห้องสมุดสู่การ เป็นห้องสมุดเสมือนจริงต้นแบบ เพื่อพัฒนาให้ประชาชน มีความสามารถในระดับ อ่านคล่อง เข้าใจความ คิดวิเคราะห์ พ้ืนฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารท่ีถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมท้ังนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ปฏิบัติจริงใน ชวี ติ ประจำวัน และนำไปสูก่ ารสร้างเสริมวฒั นธรรมการอ่านใหเ้ กดิ ข้นึ ในสงั คมไทยต่อไป 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพื่อพัฒนาห้องสมุดประชาชนและแหล่งการเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นศูนย์ Digital literacy และ ศูนยก์ ลางการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตของชุมชน 4.2 เพื่อจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยส่งเสริมการอ่านและสรา้ งนิสัยรักการอ่าน รักการเรียนรู้ให้กับ เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป ทุกชว่ งวยั 5. เป้าหมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ 5.1.1 ผ้รู บั บรกิ าร จำนวน 8,600 คน / ปี 5.1.2 หนงั สอื (บรรณสญั จร) จำนวน 3,360 เลม่ / ปี 5.2 เชิงคณุ ภาพ ห้องสมุดประชาชนอำเภออู่ทอง บ้านหนังสือชุมชน และ กศน.ตำบล เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของชุมชน ส่งเสริมสนับสนุนให้ เด็ก เยาวชน และประชาชนผู้รับบริการ ทุกช่วงวัย มีนิสัยรักการอ่าน รักการ เรียนรู้ สามารถศึกษาเรยี นรดู้ ้วยตนเองได้ตามอัธยาศัยจากแหล่งเรยี นรู้ สามารถนำความรู้ที่ไดร้ บั ไปประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวิตประจำวันได้ ก่อให้เกิดเป็นครอบครัวรักการอ่าน ชุมชนรักการอ่าน เมืองนักอ่าน และนำไปสู่การสร้างเสริม วฒั นธรรมการอ่านให้เกดิ ขึ้นในสงั คมไทย
6. วิธดี ำเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบ ดำเนินการ ประมาณ 1.ข้ันวางแผน (Plan) ประชุมและวางแผนการ เพอ่ื ชี้แจงและ บุคลากร กศน. เจา้ หนา้ ท่งี าน กศน.อำเภอ ธ.ค. 63 - อู่ทอง ดำเนนิ งานเพี่อขออนมุ ัติ และสรา้ ง อำเภออู่ทอง. การศึกษาตาม จงั หวดั โครงการการจัดการศึกษาตาม ความเข้าใจใน จังหวดั สพุ รรณบุรี อธั ยาศัย และ สพุ รรณบรุ ี อัธยาศัย ประจำปี 2564 การดำเนนิ บรรณารักษ์ งาน 2.ขน้ั ปฏิบัติตามแผน (DO) ดำเนินการจัดโครงการการจัด - เพ่ือส่งเสริม ประชาชน/ พน้ื ทใี่ น 1 ต.ค.63 71,418 อำเภออทู่ อง - ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย และสนบั สนุน ผรู้ บั บรกิ าร จังหวดั 30 ก.ย.64 ประจำปี 2564 ประกอบด้วย การพฒั นา ในพน้ื ที่อำเภอ สุพรรณบรุ ี กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและ หอ้ งสมุด อูท่ อง จงั หวดั การเรียนรู้ ประชาชนให้ สุพรรณบรุ ี 1.กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป็นศนู ย์ 8,600 คน - หอ้ งสมุดประชาชน Digital 1.1 ส่งเสริมการอ่านภายใน literacy และ ห้องสมดุ ศูนยก์ ลางการ -บรกิ ารยมื -คืนหนงั สือ เรยี นรตู้ ลอด -ส่งเสริมการอ่านในห้องสมุด ชวี ติ ของชมุ ชน โดยครู กศน.ตำบล - เพอ่ื ส่งเสริม -กิจกรรมอน่ื ๆ การอา่ น การ 1.2 ส่งเสริมการอ่านภายนอก เรียนรู้ ให้กับ ห้องสมดุ นกั เรยี น -กิ จ ก รรม ส่ งเส ริม ก ารอ่ าน นักศกึ ษา เคล่อื นที่ ประชาชน (อำเภอย้ิม/จังหวดั เคลื่อนท/่ี รพ. ทัว่ ไป รวมท้งั สต./ศพด. /โรงเรยี น ฯลฯ) การสร้าง 1.3 กิจกรรมเนอื่ งในวันสำคญั เครือข่าย ให้ เช่น กิจกรรมวันรักการอ่าน เข้ามามีสว่ น (คนเมืองเหน่อรักการอ่าน) รว่ มในการจดั กิ จ ก ร ร ม วั น เด็ ก แ ห่ ง ช า ติ กิจกรรม กิ จ ก ร ร ม อื่ น ๆ ต า ม ค ว า ม การศึกษาตาม เหมาะสมของพ้ืนท่ี อัธยาศัย
กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พ้นื ที่ ระยะเวลา งบ 1,040 คน ดำเนนิ การ ประมาณ 2.กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร อ่ า น บา้ นหนงั สอื ชุมชน - กิจกรรมที่จัดในบ้านหนังสือ ชุมชนโดยห้องสมุดประชาชน และครู กศน.ตำบล 3.กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร อ่ า น 200 คน (ร ถ โ ม บ า ย เค ล่ื อ น ท่ี จั ง ห วั ด สุพรรณบรุ ี) - การเสริมอาวุธทางปัญญาตาม ประสาคนเมอื งเหน่อ 4.กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร อ่ า น 560 คน 400 คน เคล่อื นท่ีสำหรบั ชาวตลาด 5.กิจกรรมอาสาสมัครส่งเสริม การอ่าน เช่น กิจกรรมอบรมให้ ความรู้อาสาสมัครส่งเสริมการ อ่าน/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โดยอาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน 6.กจิ กรรมบรรณสัญจร 3,360 เล่ม - รบั และบริจาคหนังสือ 3.ข้ันตรวจสอบการปฏิบัติตาม แผน (Check) เพื่อประเมนิ คณะนิเทศ ในพ้ืนท่ี ติดตามผล จำนวน อำเภออทู่ อง 1 ต.ค.63 นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล ผลการดำเนิน กศน.อำเภอ 3 คน จังหวัด - - อู่ทอง จงั หวดั งานใหเ้ ปน็ ไป สุพรรณบรุ ี สุพรรณบุรี 30 ก.ย.64 ตามวัตถุ คณะนเิ ทศ ตดิ ตามผล ประสงค์ กศน.อำเภอ อู่ทอง จงั หวดั 4.ขัน้ ปรับปรุงแกไ้ ข (Act) สุพรรณบุรี สรุปผลการดำเนินงาน เพ่ือให้ จำนวน ในพื้นที่ ก.ย.64 - 3 คน อำเภออทู่ อง เพ่อื การพฒั นา ข้อเสนอแนะ จงั หวัด แนวทาง สุพรรณบุรี แกป้ ัญหา พัฒนาให้มี ประสทิ ธภิ าพ มากยิ่งขนึ้
7. วงเงินงบประมาณทง้ั โครงการ แผนงบประมาณ พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 5 กิจกรรม การจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย เป็นจำนวนเงิน 71,418 บาท (เจ็ดหม่นื หนงึ่ พันสรี่ อ้ ยสิบแปดบาทถ้วน) รายละเอียด ดังน้ี 1. คา่ หนงั สือและส่ือ จำนวนเงนิ 28,000 บาท 2. คา่ หนังสอื พิมพ์ห้องสมดุ ประชาชน จำนวนเงิน 3,650 บาท 3. ค่าวารสารห้องสมุดประชาชนฯ จำนวนเงนิ 10,000 บาท 4. ค่าสาธารณูปโภค จำนวนเงิน 5,900 บาท 5. งบดำเนินงาน จำนวนเงนิ 23,868 บาท 6. คา่ อนิ เทอรเ์ น็ต จำนวนเงนิ - บาท 7. ค่าใช้จ่ายอ่ืน จำนวนเงนิ - บาท หมายเหตุ : ถวั เฉลี่ยจ่ายตามความเป็นจรงิ 8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 โครงการการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย (ต.ค. - ธ.ค. 63) (ม.ค. - มี.ค. 64) (เม.ย. - ม.ิ ย.64) (ก.ค. - ก.ย. 64) ประจำปี 2564 5,967 บาท 5,967 บาท 5,967 บาท 5,967 บาท งบการดำเนินงาน 1.กิจกรรมส่งเสริมการอ่านหอ้ งสมุดประชาชน 1.1 ส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุด -บรกิ ารยืม-คืนหนงั สือ -ส่งเสรมิ การอา่ นในหอ้ งสมุดโดยครู กศน.ตำบล -กิจกรรมอ่นื ๆ 1.2 ส่งเสริมการอ่านภายนอกหอ้ งสมดุ -กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านเคลอื่ นท่ี (อำเภอย้ิม/จังหวัดเคล่ือนที่/รพ.สต./ศพด. / โรงเรียน ฯลฯ) 1.3 กจิ กรรมเน่อื งในวนั สำคญั เช่น กิจกรรมวันรักการอ่าน (คนเมืองเหน่อรัก การอ่าน) กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรม อ่นื ๆ ตามความเหมาะสมของพน้ื ท่ี 2.กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านบา้ นหนังสอื ชุมชน - กิจกรรมท่ีจัดในบ้านหนังสือชุมชนโดย ห้องสมดุ ประชาชนและครู กศน.ตำบล
กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 โครงการการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั (ต.ค. - ธ.ค. 63) (ม.ค. - มี.ค. 64) (เม.ย. - มิ.ย.64) (ก.ค. - ก.ย. 64) ประจำปี 2564 14,000 บาท - 14,000 บาท - 3.กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (รถโมบายเคล่ือนที่ 920 บาท 910 บาท 910 บาท 910 บาท จังหวดั สพุ รรณบรุ )ี 2,500 บาท 2,500 บาท 2,500 บาท 2,500 บาท -การเสริมอาวุธทางปัญญาตามประสาคนเมือง 1,475 บาท 1,475 บาท 1,475 บาท 1,475 บาท เหนอ่ 4.กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่สำหรับชาว ตลาด 5.กิจกรรมอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน เช่น กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรู้อาสาสมัครสง่ เสริมการ อ่าน/กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยอาสาสมัคร สง่ เสรมิ การอา่ น 6.กจิ กรรมบรรณสญั จร -รบั และบริจาคหนังสอื 11.ค่าหนังสือและสอื่ ห้องสมุดประชาชน 12.ค่าหนังสอื พิมพ์ 13.ค่าวารสารห้องสมุดประชาชนฯ 14.ค่าสาธารณูปโภค 9. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ บรรณารักษ์ น.ส.กรรภิรมย์ ทัศนสุวรรณ บรรณารักษอ์ ตั ราจา้ ง น.ส.ชิดชนก ศรีโอฬารบญุ ครู กศน.ตำบล ท้งั 13 ตำบล 10. เครือขา่ ย - เทศบาล และ อบต.ทง้ั 13 ตำบล - โรงเรียนในพืน้ ที่ อำเภออู่ทอง - ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก - โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล - ท่ีวา่ การอำเภออู่ทอง 11. โครงการท่เี กยี่ วข้อง โครงการส่งเสริมการอา่ นและพฒั นาแหล่งเรยี นรใู้ นระดับตำบล ปีงบประมาณ 2564
12. ผลลัพธ์ (Outcome) - กศน.อำเภออ่ทู อง มแี หลง่ เรียนรู้ที่มีคณุ ภาพ ครอบคลมุ ในทุกพ้ืนท่ี เช่น ห้องสมุดประชาชนอำเภออทู่ อง บ้านหนังสอื ชมุ ชน และ กศน.ตำบล - ประชาชน ได้รับบรกิ ารศูนย์ Digital literacy และศนู ย์กลางการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตของชุมชน - ผูร้ บั บรกิ ารสามารถศกึ ษาหาความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง อย่างทั่วถึงและเท่าเทยี มกัน - สง่ เสริมและสนับสนุนให้ภาคเี ครือขา่ ยทกุ ภาคส่วนเขา้ มามีสว่ นร่วมในการจัด สง่ เสริม และสนบั สนนุ การ จดั การศึกษาตลอดชีวติ 13. ดชั นีชวี้ ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ - ดชั นชี ี้วัดผลผลิต ร้อยละ 100 มีการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ือส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ให้กับเด็ก เยาวชนและประชาชนทกุ ช่วงวัย ไดต้ ามเป้าหมายกำหนด รอ้ ยละ 80 ของประชาชนและผู้รับบริการ มีความพึงพอใจต่อการใช้บริการการศึกษาตามอัธยาศัยอยู่ใน ระดับดมี าก -ดัชนชี วี้ ดั ผลลพั ธ์ ห้องสมุดประชาชนอำเภออู่ทอง บ้านหนังสือชุมชน และ กศน.ตำบลได้รับการพัฒนาให้ เป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน สง่ เสริมสนับสนุนให้ ผู้รบั บริการสามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเอง อยา่ งทั่วถึง และเท่าเทียมกัน และส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และ สนับสนนุ การจัดการศึกษาตลอดชวี ิต 14. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ - รายงานผลจากการนเิ ทศตดิ ตาม - สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจำปี 2564
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: