1 นวัตกรรมกรรมหรือผลการปฏิบัติงานท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) การพฒั นาสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ด้วยนวัตกรรม Co for CLEAN Model โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ปีการศกึ ษา 2565 ระดบั ทอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอศขี รภมู ิ สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวัดสุรินทร์ สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก คำนำ การพัฒนาผู้เรียน กศน. ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ มี คุณธรรม จริยธรรม เป็นคนดี มีวินัย มีทักษะความสามารถในศตวรรษที่ ๒๑ สามารถอยูร่ ่วมกบั ผู้อื่นไดอ้ ย่างมี ความสขุ หา่ งไกลจากยาเสพติด สารเสพติด สื่อลามกอนาจาร การพนันการทะเลาะวิวาท ซงึ่ เปน็ ภัยคุกคามต่อ ความมนั่ คงในรูปแบบตา่ ง ๆ ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ สงั คม และประเทศชาติ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั อำเภอศีขรภมู ิ จึงประชุมวางแผนการดำเนนิ งานโดยใชน้ วัตกรรมกรรมหรือผลการปฏบิ ัติงานท่ีเป็น เลิศ (Best Practice) โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ชื่อผลงาน การพัฒนา สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ด้วยนวัตกรรม Co for CLEAN Model ประกอบด้วย ความเป็นมาและสำคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นำเสนอ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดำเนินงาน ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ผลการดำเนนิ งาน/ผลสัมฤทธิ/์ ประโยชน์ท่ีได้รับ ปัจจัยความสำเรจ็ บทเรยี นท่ีได้รับการ เผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ และ ร่องรอย หลักฐาน ภาพถ่าย ชิ้นงานที่แสดงให้เห็นว่าได้มี การปฏิบตั จิ รงิ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอศีขรภูมิ หวังเป็นอย่างยิ่งว่านวัตกรรม กรรมหรือผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข ชื่อผลงาน การพัฒนาสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุขด้วยนวัตกรรม Co for CLEAN Model จะเป็นประโยชน์และแบบอย่างในการดำเนินงานตามโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุขได้ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอศีขรภูมิ
ข สารบญั เรอื่ ง หนา้ คำนำ......................................................................................................................... ........................ ก สารบญั .............................................................................................................................................. ข นวัตกรรมกรรมหรือผลการปฏิบัตงิ านที่เปน็ เลิศ (Best Practice)................................................... 1 แบบรายงานนวตั กรรมกรรมหรอื ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice).............................. 2 2 ชอ่ื นวัตกรรมกรรมหรอื ผลการปฏบิ ัติงานที่เปน็ เลิศ (Best Practice)......................................... 2 ความเปน็ มาและสำคัญของผลงานหรือนวตั กรรมทีน่ ำเสนอ....................................................... 3 วัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนินงาน............................................................................ รูปแบบการพัฒนาสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ด้วยนวัตกรรม 5 Co for CLEAN Model............................................................................................................. 6 ขน้ั ตอนการดำเนินงาน................................................................................................................ 60 ผลการดำเนินงาน/ผลสมั ฤทธ์/ิ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ......................................................................... 63 ปัจจัยความสำเรจ็ ........................................................................................................................ 64 บทเรียนท่ไี ด้รับ........................................................................................................................ .... 64 การเผยแพร่/การได้รับการยอมรบั /รางวลั ท่ไี ด้รับ........................................................................ 66 รอ่ งรอย หลกั ฐาน ภาพถา่ ย ช้นิ งานท่ีแสดงใหเ้ หน็ วา่ ไดม้ ีการปฏิบัตจิ รงิ .....................................
๓ นวตั กรรมกรรมหรือผลการปฏิบัตงิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปีการศกึ ษา 2565 ระดับทอง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอศีขรภูมิ สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั สรุ นิ ทร์ ..................................................... ชื่อผลงาน “การพฒั นาสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ด้วยนวตั กรรม Co for CLEAN Model” ช่ือผพู้ ัฒนา นางกนกณฐั สิงหะ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอศีขรภูมิ และบุคลากร กศน.อำเภอศขี รภูมิ สถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอศขี รภมู ิ สังกดั สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดสุรนิ ทร์ สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ โทรศัพท์ 0 4456 0168 โทรศัพท์มอื ถอื 09 3535 3223 E-mail [email protected]
๔ แบบรายงานนวัตกรรมกรรมหรอื ผลการปฏบิ ัตงิ านทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) โครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ปกี ารศึกษา 2565 ระดับทอง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอศขี รภมู ิ สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั สรุ ินทร์ ชอ่ื ผลงาน : การพฒั นาสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ด้วยนวตั กรรม Co for CLEAN Model ...................................... ความเปน็ มาและสำคัญของผลงานหรอื นวัตกรรมที่นำเสนอ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒0 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เป็นยุทธศาสตร์ชาตใิ นการพัฒนาประเทศ ไทยโดยไดก้ ำหนดวิสัยทศั น์ \"ประเทศไทย มคี วามม่ันคง มั่งค่งั ย่งั ยนื เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการ พัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง\" มีกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติตามลำดับเพื่อให้เกิด ประสทิ ธิผล ตามเป้าหมาย โดยการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเปน็ ประเด็นปัญหา ภายใต้แผน แม่บทด้านความมั่นคง ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติด และลดระดับความรุนแรง ของปัญหาตามยุทธศาสตร์ชาติ และนำไปสู่ \"สังคมไทยปลอดภัยจากยาเสพติด\" ซึง่ ข้อมูลจากรายงาน World Drug Report 2019 ของสำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรม แห่งสหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and Crime : UNODC) พบว่าในปี ค.ศ. ๒๐๑๗ มีผู้ใช้ยาเสพ ติดทั่วโลกประมาณ ๒7๑ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๕.๕ ของประชากรโลก และยาเสพติดที่มีแนวโน้ม เพิ่มสูงขึ้นคือยาเสพติดประเภทสารสังเคราะห์ในกลุ่ม ATS โดยเฉพาะเมทแอมเฟตามีนที่มีการ ขยายตวั เพม่ิ ข้นึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดยาเสพติดในประเทศไทย พบว่า กล่มุ ผู้ค้าเพม่ิ ปริมาณยาเสพติด จำนวนมากเพอ่ื ทุม่ ตลาดกระต้นุ ความต้องการของผู้เสพให้คงอยู่ ราคาที่ถูกลงเปน็ ปจั จัยเสริมให้กลุ่มผู้ เสพเข้าถึงยาเสพติดได้ง่าย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การติดต่อสื่อสารเป็นช่องทางติดต่อค้าขาย ยาเสพติด ผา่ นสื่อสังคมออนไลน์ เชน่ การใช้ Facebook, Line, Twitter โดยช่องทางทพี่ บมากที่สุด คือ Twitter รองลงมาคือ Facebook ส่งผลให้การค้ายาเสพติดขยายวงกว้าง ซึ่งกลุ่มผู้เสพยาเสพติด ส่วนใหญ่มีอายุ ๑๕ - ๒๔ ปี คิดเป็นร้อยละ ๓๖ หรือมีสัดส่วนมากกว่า 1 ใน ๓ ของผู้เสพทั้งหมด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้มีงานทำ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ใช้แรงานและรับจ้างมากที่สุด ยาเสพติดที่มีคดี คือยาบ้า ร้อยละ ๗๔.๔ รองลงมาคือกญั ชา ร้อยละ ๕.๙ และไอซ์ รอ้ ยละ ๕.๗ ยาเสพฝ้าระวงั คือ ไอซ์ เฮโรอีน คีตามีน เอ็กซ์ตาซี และกัญชา (คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แผนปฏิบัติการด้าน การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๖๓) ปัญหายาเสพติดเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาสังคม ดำรงอยู่ควบคู่ไปกับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มเยาวชนท่เี ปน็ กลุ่มเสย่ี งสำคัญ เป็นวยั ท่มี คี วามเส่ียงสูง ต่อการใช้ยาเสพติด ก้าวเข้าสู่วัยรุ่นเป็นช่วงการปรับตัว มีการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนทำให้มี ความอยากรู้ อยากลอง เมือ่ เข้าไปยุ่งเกยี่ วกบั ยาเสพติด สมองจะถูกทำลายสง่ ผลถึงการเรียน และอาจ
๕ ชักชวนเพื่อนให้มายุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ส่งผลให้ปัญหายาเสพติดทวีความรุนแรงมากขึ้นคุณส่งจาก สถานการณ์ สภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบันเห็นได้ว่า พฤติกรรมของเด็กและเยาวชนมีแนวโน้มทวี ความรุนแรงมากขึน้ ท้งั ปัญหายาเสพติด การสูบบหุ รี่/บุหรี่ไฟฟ้า การบรโิ ภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สื่อลามกอนาจาร การพนัน การทะเลาะวิวาท โดยสาเหตุสำคัญมาจากปัญหาครอบครัว ปัจจัย สภาพแวดล้อมท่ีเป็นอบายมุข สงิ่ ยวั่ ยุ และการใช้ความรุนแรงในสงั คม ซ่งึ มผี ลกระทบตอ่ เด็ก เยาวชน และผู้เกี่ยวข้องอีกมากมายนอกจากนี้ เด็กและเยาวชนที่ขาดความตระหนักรู้ การปลูกฝังความรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม ทักษะการคิดวิเคราะห์ จากสถานการณ์ สภาพแวดล้อมของสังคมปัจจบุ ันเห็นได้ว่า พฤตกิ รรมของเดก็ และเยาวชน มีแนวโนม้ ทวีความรุนแรงมากขึน้ ทัง้ ปัญหายาเสพตดิ การสบู บุหร่/ี บุหรไี่ ฟฟา้ การบริโภคเครอื่ งดมื่ ที่มี แอลกอฮอล์สื่อลามกอนาจาร การพนัน การทะเลาะวิวาท โดยสาเหตุสำคัญมาจากปัญหาครอบครัว ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่เป็นอบายมุข สิ่งยั่วยุ และการใช้ความรุนแรงในสังคม ซึ่งมีผลกระทบต่อเด็ก เยาวชน และผู้เกี่ยวซ้องอีกมากมายนอกจากนี้ เด็กและเยาวชนที่ขาดความตระหนักรู้ การปลูกฝัง ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม ทักษะการคิดวิเคราะห์ขาดเหตุผลในการแก้ไขปัญหา และไม่ได้รับการ ดแู ลชว่ ยเหลอื ทเี่ หมาะสม จะเป็นปญั หาคุณภาพชีวิตของคนไทยในอนาคตดังนั้น กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้มอบนโยบายการจัดการศึกษา สู่การปฏิบัติให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องดำเนินการจัดการา มุ่งเน้น ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง คนดี ดำรงตนอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้องตามแนวคิดกาแผนการ ศึกษาแห่งชาติ ที่กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ว่า \"คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ เปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษท่ี ๒๑\" การมีส่วนร่วมบูรณาการการทำงาน ส่งเสริมสนับสนุน ป้องกัน และชว่ ยเหลอื ของหนว่ ยงานภาครัฐ เอกชน ครู อาจารย์ ผู้ปกครอง ผ้นู ำชุมชน และทุกคนที่เกี่ยวข้อง เพ่อื ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาต่าง จากมาตรการค้นหาผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงด้วยระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน (Student care and support system) ของสถานศึกษา พบผูเ้ รียนกลุ่มเส่ียงประเภทเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และบหุ ร/ี่ บุหร่ี ไฟฟ้า จำนวน 58 คน เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาผูเ้ รยี น และขบั เคลอ่ื นโยบายในการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาด้านยา เสพติดในสถานศึกษา จึงได้ดำเนินงานโดยใช้นวัตกรรมกรรมหรือผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ชื่อผลงาน การพัฒนาสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ด้วยนวัตกรรม Co for CLEAN Model วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการดำเนนิ งาน วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นรูเ้ ทา่ ทันพษิ ภัยของสารเสพติด มที ักษะชีวติ ในการป้องกันยาเสพติด ๒. เพื่อให้ผเู้ รยี นมีจิตสำนึกในเร่ืองคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมงุ่ ทำแต่ความดี ๓. เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ พัฒนาสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมขุ
๖ เปา้ หมายของการดำเนินงาน 1. เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ ผู้เรียนที่มีพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และบุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า ปีการศึกษา 2565 จำนวน 58 คน ดงั นี้ ระดับการศกึ ษา เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ ประเภทความเสีย่ ง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รวม ชาย หญงิ บุหรี่/บหุ รไ่ี ฟฟา้ และบุหร/่ี บุหรีไ่ ฟฟ้า ทัง้ สิ้น ประถมศึกษา -- ชาย หญงิ มัธยมศึกษา 13 4 1- ชาย หญงิ 1 ตอนต้น 8- -- 26 มัธยมศกึ ษาตอน 16 8 1- ปลาย 29 12 5- 14 - 2 - 31 รวม 41 รวมท้งั สน้ิ 14 3- 58 3 58 2. เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ ผู้เรยี นกลมุ่ เส่ยี งด่มื เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ และบุหร/่ี บหุ รี่ไฟฟา้ มีจำนวนทลี่ ดลง
๗ รูปแบบการพฒั นาสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ด้วยนวตั กรรม Co for CLEAN Model Co for CLEAN Model คือ กระบวนการดำเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอศีขรภูมิ เพื่อการพัฒนาสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โดย การประสานงานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อส่งเสริมสนับสนุนด้านงบประมาณ บุคลากร และ ทรพั ยากรต่าง ๆ เพ่อื ร่วมกนั แก้ไขปัญหาผู้เรียนกลมุ่ เสย่ี งยาเสพตดิ และอบายมขุ C : Coordination การประสานความร่วมมือ คือ การประสานความร่วมมือของ สถานศกึ ษาโดยมผี ู้บรหิ ารสถานศึกษา บุคลากร คณะกรรมการสถานศกึ ษา และองคก์ รนกั ศึกษา เพ่ือ ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายในการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมอื ระหว่าง สถานศึกษากับ ผู้นำชุมชน หน่วยงานต่าง ๆ เช่น ที่ว่าการอำเภอ สถานีตำรวจ องค์การบริหารส่วน ตำบล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ผู้นำ ชุมชน รวมทั้ง ผู้ปกครอง คณะครูและผู้เรียน ในการร่วมกันขับเคลื่อนโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข เพื่อแสดงถึงเจตนารมณ์อันมุ่งมั่น และความตั้งใจที่จะร่วมกัน ดำเนนิ การแกไ้ ขปญั หาทเี่ กิดขนึ้ กับผู้เรยี นให้ปรากฏผลเปน็ รูปธรรม C : Communication การติดต่อสื่อสาร คือ การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงาน ความร่วมมอื การปฏิบัติงานของภาคีเครือข่ายในการขอรับงบประมาณ บุคลากร วัสดุหรืออปุ กรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการ จัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การเยี่ยมบ้านด้วยระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน (Student care and support system) กิจกรรมสัมพันธ์ชุมชน การประชุม สัญจร การระดมทรัพยากร การให้บริการด้านสถานที่ การรณรงค์ป้องกันยาเสพติด กิจกรรมการ คัดกรองหรือค้นหาผู้ติดยาเสพติด เปน็ ต้น
๘ L : Learning การเรียนรู้ คือ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กิจกรรมรพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมการประกวดโครงงาน โดยมกี ารประสานเครือข่าย วิทยากรผู้มีความรู้ และผู้ทีเ่ กี่ยวข้องมาให้ ความรทู้ ัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ E : Environment สภาพแวดล้อม คือ การจัดให้มีสภาพแวดล้อมที่น่าดู น่าอยู่ น่า เรียน ไม่มีพื้นที่เสีย่ ง มีแหล่งเรียนรู้ทางวิชาการ เช่น จัดบอร์ดนิทรรศการ จดหมายข่าว ที่มีความรู้ เกย่ี วกบั ยาเสพติด ปัญหาโรคเอดส์ การต้งั ครรภ์ก่อนวัยอนั ควร อบุ ัตภิ ยั และอบายมุข A : Activity กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ คือ กิจกรรมการให้บริการวิชาการ จัด กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันและการป้องกันที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมการเยี่ยมบ้านด้วยระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน (Student care and support system) การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ โดยการให้ หน่วยงาน/องค์กรต่าง ๆ ให้ความรแู้ กผ่ ู้เรยี น บคุ ลากร และชมุ ชน เช่น เจา้ หน้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าท่ี จากโรงพยาบาล มีกจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ท่ชี ่วยใหม้ คี วามสามคั คี และใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ไม่ม่ัว สุมกับยาเสพติด หรือสื่อลามกอนาจาร เช่น การเล่นกีฬา กิจกรรมประกวดหรือแข่งขันทักษะ ความสามารถ และกิจกรรมตามกลุ่มสนใจร่วมกันจัดทำขึ้นมาเพื่อพัฒนาร่างกายและจิตใจ รวมทั้ง กิจกรรมท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา N : Network ภาคเี ครือข่าย คือ การสรา้ งภาคีเครอื ข่ายในพ้ืนท่ีใหค้ วามร่วมมือและมี ส่วนร่วม เช่นสถานศึกษาใกล้เคียง หน่วยงานราชการต่าง ๆ ตำรวจ พระสงฆ์ ซึ่งอยู่ในบริเวณ ท้องถ่นิ และชุมชน ท้ังนี้เพอื่ ชว่ ยสถานศึกษาในการดำเนินงานให้มีมาตรการป้องกันและการป้องปราม ติดตามผ้จู ำหน่ายและผู้เสพและมาตรการความปลอดภยั เป็นการเพิ่มความม่ันใจให้กบั สถานศึกษาใน การตอ่ สกู้ บั ปัญหายาเสพตดิ และแหลง่ อบายมุขรอบสถานศึกษา ขัน้ ตอนการดำเนินงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอศีขรภูมิ นำเข้าสู่การจัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปี ซึ่งดำเนินงานโดยใช้นวัตกรรมกรรมหรือผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ช่อื ผลงาน การพฒั นาสถานศึกษา สีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ด้วยนวัตกรรม Co for CLEAN Model ตามแผนกิจกรรมด้วย หลักการและวิธีการบรู ณาการดงั น้ี 1. หลักการของวงจรเดมมิ่ง (PDCA) คือ วงจรที่พัฒนามาจากวงจรที่คิดค้นโดยวอล์ท เตอร์ ซวิ ฮารท์ (Walter Shewhart ) ผบู้ กุ เบกิ การใช้สถิตสิ ำหรบั วงการอตุ สาหกรรมและต่อมาวงจรน้ี เริ่มเป็นที่รู้จักกันมากขึ้นเมื่อ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) ปรมาจารย์ด้านการบริหาร คุณภาพเผยแพร่ให้เป็นเครื่องมือสำหรับการปรับปรุงกระบวนการทำงานของพนักงานภายในโรงงาน ให้ดียิ่งขึ้น และช่วยค้นหาปัญหาอุปสรรคในแต่ละขั้นตอนการผลิตโดยพนักงานเอง จนวงจรนี้เป็นที่ รู้จักกันในอีกชื่อว่า “วงจรเด็มมิ่ง” ต่อมาพบว่า แนวคิดในการใช้วงจร PDCA นั้นสามารถนำมาใช้ได้ กับทุกกิจกรรม จึงทำให้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นทั่วโลกPDCA เป็นอักษรนำของศัพท์ ภาษาอังกฤษ ๔ คำ คอื
๙ P : Plan = วางแผน D : DO = ปฏบิ ตั ิตามแผน C : Check = ตรวจสอบ / ประเมนิ ผลและนำผลประเมินมาวเิ คราะห์ A : Action = ปรับปรงุ ดำเนินการให้เหมาะสมตามผลการประเมิน 1.1 การวางแผน (Plan : P) เปน็ สว่ นประกอบของวงจรท่ีมคี วามสำคญั เน่ืองจาก การวางแผนเป็นจุดเริ่มต้นของงานและเป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้การทำงานในส่วนอื่น เป็นไปอย่างมี ประสิทธิผล การวางแผนในวงจรเดมมิ่ง เป็นการหาองค์ประกอบของปัญหา โดยวิธีการระดม ความคิด การหาสาเหตุของปัญหา การหาวิธีการแก้ปัญหา การจัดทำตารางการปฏิบัติงาน การ กำหนดวิธีดำเนินการ การกำหนดวิธีการตรวจสอบ และประเมินผล ในขั้นตอนนี้ มีการดำเนินการ ดงั นี้ 1.1.1 ตระหนักและกำหนดปัญหาทีต่ ้องการแก้ไข หรือปรับปรงุ ให้ดขี ึ้น จาก ความร่วมมือของเครือข่าย และชุมชน ประสานกัน ในการระบุปัญหาที่เกิดขึ้น ในการ ดำเนนิ งาน เพ่ือที่จะร่วมกันทำการศกึ ษาและวิเคราะห์หาแนวทางแกไ้ ขต่อไป 1.1.2 เก็บรวบรวมข้อมูล สำหรับการวิเคราะห์และตรวจสอบการ ดำเนินงาน หรือหาสาเหตุ ของปัญหา เพื่อใช้ในการปรับปรุง หรือแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งควรจะ วางแผนและดำเนินการเก็บข้อมูลให้เป็นระบบระเบียบ เข้าใจง่าย และสะดวกต่อการใช้งาน เช่น แฟ้มงาน แผนภูมิแผนภาพ หรือแบบสอบถาม เปน็ ตน้ 1.1.3 อธิบายปัญหาและกำหนดทางเลือก วิเคราะห์ปัญหา เพื่อใช้กำหนด สาเหตุ ของความบกพร่อง ตลอดจนแสดงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น กศน.อำเภอศีขรภูมิใช้วิธีการ วางแผน ระดมความคดิ หาสาเหตุของปัญหาและหาวิธกี ารแกป้ ญั หา อย่างมรี ะบบ ขัน้ ตอน ตรวจสอบ ได้ 1.1.4 เลือกวิธีการแก้ไขปัญหา หรือปรับปรุงการดำเนินงาน โดยร่วมกัน วิเคราะห์ และวจิ ารณ์ทางเลือกตา่ ง ๆ ผ่านการระดมความคิด และการแลกเปลยี่ นความคิดเห็นของ สมาชิก เพ่ือตดั สนิ ใจเลอื กวธิ ีการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมทส่ี ุดในการดำเนินงาน ให้สามารถบรรลุตาม เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจจะต้องทำวิจัยและหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือกำหนดทางเลือก ใหม่ทมี่ ีความนา่ จะเปน็ ในการแกป้ ัญหาได้มากกวา่ เดิม 1.2 การปฏิบัติตามแผน (Do : D) เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่กำหนดไว้ใน ตาราง การปฏิบัติงาน ทั้งน้ี ทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมต้องมีความเข้าใจถึงความสำคัญและความจำเป็นใน แผนนั้น ๆ ความสำเรจ็ ของการนำแผนมาปฏิบตั ิต้องอาศยั การทำงานด้วยความรว่ มมือเปน็ อย่าง ดี ตลอดจนการจดั การทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏบิ ัตงิ านตามแผนน้ัน ๆ ในข้ันตอนน้ี ขณะที่ ลงมือปฏบิ ตั จิ ะมีการตรวจสอบไปดว้ ย หากไม่เปน็ ไปตามแผนอาจจะต้องมีการ ปรับแผนใหม่และเม่ือ แผนนั้นใช้งานได้กน็ าไปใชเ้ ป็นแผนและถือปฏิบัติต่อไป 1.3 การตรวจสอบ (Check : C) หมายถึง การตรวจสอบดูว่าเม่ือปฏิบัติงานตาม แผน หรือการแก้ปัญหางานตามแผนแล้ว ผลลัพธ์เป็นอย่างไร สภาพปัญหาได้รับการแก้ไขตรงตาม เป้าหมายที่กลุ่มตั้งใจหรือไม่ การไม่ประสบผลสำเร็จอาจจะเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น ไม่ปฏิบัติตามแผน ความไมเ่ หมาะสมของแผน การเลือกใชเ้ ทคนิคท่ไี ม่เหมาะสม เป็นตน้
๑๐ 1.4 การดำเนินการให้เหมาะสม (Action : A) เป็นการกระทำภายหลังท่ี กระบวนการ ๓ ขั้นตอนตามวงจรได้ดำเนินการเสร็จแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นการนาเอาผลจากขั้นการ ตรวจสอบ (C) มาดำเนนิ การใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป 2. การบูรณาการการดำเนินงานแบบองค์รวม เกี่ยวกับเรื่องยาเสพติดและ อบายมขุ ขั้นตอนการดำเนนิ งานได้ประยกุ ต์ ใชห้ ลักการบรหิ ารจดั การศึกษา โดยใช้หลักความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่ายหลักความร่วมมือ (Cooperation) หมายถึง ความเต็มใจของแต่ละคนในการ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อไปสู่เป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่ง ขององค์การหรือหน่วยงาน ความร่วมมอื เป็นการช่วยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ดว้ ยความสมัครใจ แม้จะไม่มีหนา้ ท่ีโดยตรง อาจจะทำเร่ืองเดียวกันใน เวลาเดยี วกนั หรือตา่ งเวลาก็ได้ แมก้ ระท่ังอาจใหค้ วามร่วมมือทำบางเร่ืองบางเวลา การมอบหมายให้ ผู้รับผิดชอบปฏิบัติด้วยความสามัคคี สมานฉันท์ และมีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อให้ทุก ๆ ฝ่ายร่วมมือ ปฏิบัตงิ านเป็น น้ำหนงึ่ ใจเดยี วกัน ขับเคล่ือนให้ตรงกับวัตถุประสงค์ และนโยบายขององค์กร ท่ีสำคัญ ต้องรับรู้ว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มตามโครงสร้างที่มีอยู่ในองค์กรและผู้ปฏิบัติงาน ต่างก็เกิดความ พอใจในการทำงานนั้นด้วย ซึ่งนำไปสู่ แนวคิด รูปแบบการพัฒนาสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข ดว้ ยนวตั กรรม “Co for CLEAN ” จากหลกั การและวิธีการบูรณาการดังกล่าว สถานศกึ ษามีกระบวนการดำเนนิ งานการพฒั นา สถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ด้วยนวตั กรรม Co for CLEAN Model ดังตอ่ ไปน้ี ภาพแสดงข้ันตอนการดำเนนิ งานการพัฒนาสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ดว้ ยนวัตกรรม Co for CLEAN Model
๑๑ C : Coordination การประสานความร่วมมือ คือ การประสานความร่วมมือของ สถานศึกษาโดยมีผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา และองค์กรนักศึกษา เพื่อประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายในการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสถานศึกษากับ ผู้นำชุมชน หน่วยงานต่าง ๆ เช่น ที่ว่าการอำเภอ สถานีตำรวจ องค์การ บริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ผู้นำ ชุมชน รวมทั้ง ผู้ปกครอง คณะครูและผู้เรียน ในการร่วมกันขับเคลื่อนโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข เพื่อแสดงถึงเจตนารมณ์อันมุ่งมั่น และความตั้งใจที่จะร่วมกัน ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขน้ึ กบั ผู้เรยี นให้ปรากฏผลเปน็ รปู ธรรม โดยมวี ิธกี ารดำเนนิ งานดังนี้ 1. จัดประชุมผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา และองค์กร นักศึกษาเพื่อกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน และแผนงานการพัฒนา สถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ดว้ ยนวัตกรรม Co for CLEAN Model ภาพแสดงการประชุมประชุมผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา บุคลากร ภาพแสดงการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ภาพแสดงการประชมุ องค์กรนักศกึ ษา
๑๒ 2. จดั ทำประกาศนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ งาน ประกาศเรื่อง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอศีขรภมู ิ เป็นสถานศกึ ษา ปลอดบุหร่ียาเสพติดและเครื่องดมื่ แอลกฮอล์ ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2565
๑๓ ประกาศเรื่อง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอศีขรภูมิ เป็นสถานศกึ ษา ปลอดบหุ รยี่ าเสพติดและเครื่องดมื่ แอลกฮอล์ ลงวนั ท่ี 20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2565 (หน้า 1/2)
๑๔ ประกาศเรื่อง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอศีขรภูมิ เป็นสถานศกึ ษา ปลอดบหุ รยี่ าเสพติดและเครื่องดมื่ แอลกฮอล์ ลงวนั ท่ี 20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2565 (หน้า 2/2)
๑๕ คำส่ัง กศน.อำเภอศขี รภูมิ ท่ี 109/2565 เร่อื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ และอบายมุขในสถานศึกษา สง่ั ณ วนั ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (หน้า 1/5)
๑๖ คำส่ัง กศน.อำเภอศขี รภูมิ ท่ี 109/2565 เร่อื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ และอบายมุขในสถานศึกษา สง่ั ณ วนั ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (หน้า 2/5)
๑๗ คำส่ัง กศน.อำเภอศขี รภูมิ ท่ี 109/2565 เร่อื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ และอบายมุขในสถานศึกษา สง่ั ณ วนั ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (หน้า 3/5)
๑๘ คำส่ัง กศน.อำเภอศขี รภูมิ ท่ี 109/2565 เร่อื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ และอบายมุขในสถานศึกษา สง่ั ณ วนั ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (หน้า 4/5)
๑๙ คำส่ัง กศน.อำเภอศขี รภูมิ ท่ี 109/2565 เร่อื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ และอบายมุขในสถานศึกษา สง่ั ณ วนั ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (หน้า 5/5)
๒๐ ประกาศ กศน.อำเภอศีขรภูมิ เรื่อง จัดตั้งคลินิกเสมารักษ์ กศน.อำเภอศีขรภูมิ ประกาศ ณ วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
๒๑ คำสั่ง กศน.อำเภอศีขรภูมิ ที่ 110/2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานคลินิกเสมมารักษ์ กศน.อำเภอ ศีขรภูมิ สั่ง ณ วนั ท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (หนา้ 1/2)
๒๒ คำสั่ง กศน.อำเภอศีขรภูมิ ที่ 110/2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานคลินิกเสมมารักษ์ กศน.อำเภอ ศีขรภูมิ สั่ง ณ วนั ท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (หนา้ 2/2)
๒๓ 3. จัดทำร่างแผน แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมตามที่ได้ประชุมวางแผน มีจำนวน 6 กิจกรรม ดงั นี้ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้เรียนด้วยระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน (Student care and support system) กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมหอ้ งเรียนสีขาว กจิ กรรมท่ี 3 สง่ เสริมความรูด้ ้านยาเสพติดและอบายมขุ ไดแ้ ก่ 1. โครงการทกั ษะชีวิต สำหรับผู้เรียน เรื่อง การป้องกันตนเองจากยาเสพติด สำหรบั นักศึกษา กศน.อำเภอศีขรภมู ิ 2. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพ พืชกัญชา – กัญชง อย่างชาญ ฉลาด สำหรบั นักศกึ ษา กศน.อำเภอศขี รภูมิ 3. โครงการกิจกรรมเข้าจังหวะ กศน.วัยใส ห่างไกลยาเสพติด (งบอุดหนุน จากเทศบาลตำบลศขี รภมู ิ) 4. โครงการทกั ษะชีวติ สำหรบั ผูเ้ รียน เรอื่ ง การรเู้ ท่าทนั สอื่ สงั คม ออนไลน์ นักศึกษา กศน.อำเภอศขี รภูมิ 5. โครงการทักษะชีวิตสำหรับผู้เรียน เรื่อง การป้องกันการท้องก่อนวัยอัน ควร สำหรบั นักศกึ ษา กศน.อำเภอศีขรภูมิ กจิ กรรมท่ี 4 ส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมและจติ อาสา 1. โครงการขยายผลโครงการจิตอาสา สำนกั งาน กศน. ประจำปี 2565 2. โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม เพอ่ื ถวายเปน็ พระราชกศุ ล สมเด็จ พระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ภาคเรียนที่ 1/2565 3. โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม ธรยิ ธรรม เพือ่ ถวายเปน็ ราชกศุ ลวนั คลา้ ยวนั พระราชสมกพ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าพชั รกิตยิ าภา นเรนทริ าเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณสี ิริพัชร มหาวัชรราชธิดา นักศกึ ษา กศน.อำเภอศขี รภมู ิ ภาคเรยี นท่ี 2/2565 4. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้จิตอาสายุวกาชาด นักศึกษา กศน.อำเภอ ศีขรภมู ิ ภาคเรียนที่ 1/2565 5. โครงการอบรมอาสายุวกาชาด นักศึกษา กศน.อำเภอศีขรภูมิ หลักสูตร พนื้ ฐานยุวกาชาด ภาคเรียนท่ี 2/2565 6. โครงการสง่ เสริมการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กิจกรรมท่ี 5 การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อให้สถานศกึ ษาปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนความสามารถด้านวิชาการ กีฬา ดนตรี นาฏศิลป์
๒๔ 3. ดำเนินการจัดทำบันทึกข้อตกลง (MOU) และประสานความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย เพื่อขอความร่วมมือในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ได้แก่ ผู้ปกครองนักศึกษา สถานีตำรวจภูธรอำเภอศีขรภูมิ สำนักงานเทศบาลตำบลศีขรภูมิ กศน. อำเภอบัวเชด, โรงเรียนมัธยมจารพัตวิทยา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่ม ตำบลแตล ที่วา่ การอำเภอศีขรภมู ิ และ ผู้นำชมุ ชน บนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) กบั ท่วี ่าการอำเภอศีขรภูมิ
๒๕ บันทึกข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) กบั สถานตี ำรวจภูธรศีขรภมู ิ
๒๖ บนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับ ผปู้ กครองผู้เรยี น
๒๗ บนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กบั กศน.อำเภอบวั เชด
๒๘ บนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับ เทศบาลตำบลศขี รภมู ิ
๒๙ บนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) กบั เทศบาลโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลบา้ นนาทม่
๓๐ บนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) กบั โรงเรียนมธั ยมจารพัตวทิ ยา
๓๑ ภาพแสดงการลงนามข้อตกลงความรว่ มมือของผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอศีขรภมู ิ กบั นายอำเภอศีขรภูมิ ภาพแสดงการลงนามข้อตกลงความร่วมมือของผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอศีขรภูมิ กบั ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนโรงเรียนมัธยมจารพัตวทิ ยา
๓๒ C : Communication การติดต่อสื่อสาร คือ การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงาน ความร่วมมือการปฏบิ ตั ิงานของภาคีเครือขา่ ยในการขอรับงบประมาณ บุคลากร วัสดุหรืออปุ กรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการ จัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การเยี่ยมบ้านด้วยระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน (Student care and support system) กิจกรรมสัมพันธ์ชุมชน การประชุม สัญจร การระดมทรัพยากร การให้บริการด้านสถานที่ การรณรงค์ป้องกันยาเสพติด กิจกรรมการ คดั กรองหรอื คน้ หาผูต้ ดิ ยาเสพตดิ โดยมวี ิธกี ารดำเนนิ งานดังนี้ 1. การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงานความร่วมมือการปฏิบัติงานของภาคี เครือข่ายในการขอรับงบประมาณจากภาคีเครือขา่ ย หนังสือ กศน.อำเภอศีขรภูมิ ที่ ศธ0210.8313/698 ลงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เรอื่ ง ขอรบั เงนิ อดุ หนุนเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในโครงการกิจกรรมเขา้ จังหวะ กศน.วัยใสห่างไกลยาเสพติด จากเทศบาลตำบลศขี รภมู ิ
๓๓ แบบเสนอกิจกรรมโครงการโครงการกิจกรรมเข้าจังหวะ กศน.วัยใสห่างไกลยาเสพติด เพื่อขอรับเงิน อดุ หนนุ จากกองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพสำนกั งานเทศบาลตำบลศขี รภูมิ (หนา้ 1/3)
๓๔ แบบเสนอกิจกรรมโครงการโครงการกิจกรรมเข้าจังหวะ กศน.วัยใสห่างไกลยาเสพติด เพื่อขอรับเงิน อดุ หนนุ จากกองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพสำนกั งานเทศบาลตำบลศขี รภูมิ (หนา้ 2/3)
๓๕ แบบเสนอกิจกรรมโครงการโครงการกิจกรรมเข้าจังหวะ กศน.วัยใสห่างไกลยาเสพติด เพื่อขอรับเงิน อดุ หนนุ จากกองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพสำนกั งานเทศบาลตำบลศขี รภูมิ (หนา้ 3/3)
๓๖ หนังสือสำนักงานเทศบาลตำบลศีขรภูมิ ที่ สร 42804/647 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2565 เรื่อง แจ้งผลการอนุมัติโครงการและให้พิจารณาลงนามในบันทึกข้อตกลงพร้อมขอให้ส่งเอกสารการ เบิกจา่ ย
๓๗ 2. การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงานความร่วมมือการปฏิบัติงานของภาคี เครอื ขา่ ยในการขอสนบั สนุนบคุ ลากรเป็นวทิ ยากร หนังสือ กศน.อำเภอศีขรภูมิ ที่ ศธ0210.8313/696 ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เรอ่ื ง ขอเชิญเปน็ วทิ ยากร ส.ต.ต. สมหมายคลังสมบตั ิ จากสถานีตำรวจภธู รศขี รภูมิ
๓๘ หนังสือ กศน.อำเภอศีขรภูมิ ที่ ศธ0210.8313/124 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 เรื่อง ขอเชิญเป็นวิทยากร (ผู้อำนวยการโรงพยบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่ม) โครงการ มหกรรมวิชาการเพทาอทักษะการดำเนินชีวิตสำหรับนักศึกษา กศน.อำเภอศีขรภูมิ ภาคเรียนเรียนท่ี 2/2565 วนั ท่ี 9 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ณ หอประชมุ กศน.รวมใจ กศน.อำเภอศขี รภมู ิ
๓๙ 3. การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงานความร่วมมือการปฏิบัติงานของภาคี เครือขา่ ยในการขอเชิญเปน็ ประธาน/รว่ มเปน็ เกยี รตใิ นพิธเี ปดิ โครงการ หนังสือ กศน.อำเภอศีขรภูมิ ที่ ศธ 0210.8313/ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เรื่อง ขอเชิญเป็นประธาน พิธีเปิดโครงการกิจกรรมเข้าจังหวะ กศน.วัยใส ห่างไกลยาเสพติด (นายกยกเทศมนตรีตำบลศขี รภูม)ิ
๔๐ L : Learning การเรียนรู้ คอื กจิ กรรมการจดั การเรยี นรผู้ า่ นการเรยี นการสอนแบบบูรณา การ กจิ กรรมรพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) กจิ กรรมจติ อาสา กิจกรรมคา่ ยคุณธรรมจรยิ ธรรม กิจกรรม การประกวดโครงงาน โดยมีการประสานเครือข่าย วิทยากรผู้มีความรู้ และผู้ที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้ ทัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติ โดยมวี ธิ กี ารดำเนินงานดงั น้ี กจิ กรรมท่ี 1 กิจกรรมหอ้ งเรยี นสีขาวบรู ณาการรว่ มกบั กจิ กรรมการพบกลมุ่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอศีขรภูมิ จัดกิจกรรม ห้องเรียนสีขาว ห้องเรียนที่ปลอดยาเสพติดและปัจจัยเส่ียงทุกชนิด โดยมีการดำเนนิ งานของผู้เรียนแกนนำ ๔ ฝา่ ยในด้านการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ และพฤติกรรม ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ของสมาชิกในห้องเรียน เพือ่ สร้างภมู คิ มุ้ กนั ยาเสพติดและอบายมขุ รูปภาพแสดงผังโครงสรา้ งห้องเรียนสีขาว ณ กศน.ตำบล 15 ตำบล/ห้องเรียน
๔๑ รปู ภาพแสดงการดำเนนิ กจิ กรรมห้องเรียนสขี าว ณ กศน.ตำบล 15 ตำบล/ห้องเรยี น
๔๒ กจิ กรรมท่ี 2 ส่งเสรมิ ความร้ดู ้านยาเสพติดและอบายมุข ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอศขี รภูมิ จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความรู้ด้านยาเสพติดและอบายมุขเพื่อให้ผู้เรียนรู้เท่าทันพิษภัยของยาเสพติดและอบายมุขประเภทต่างๆ โดยจดั กจิ กรรมกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน ไดแ้ ก่ 1. โครงการทักษะชีวิต สำหรับผู้เรียน เรื่อง การป้องกันตนเองจากยาเสพติด สำหรับผู้เรียน กศน.อำเภอศีขรภูมิ ภาคเรียนที่ 1/2565 จัดกิจกรรมวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๕ ณ หอประชมุ กศน.รวมใจ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรนิ ทร์
๔๓ 2. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ ด้านสุขภาพ พืชกัญชง – กัญชา กศน.อำเภอ ศขี รภมู ิ ภาคเรียนที่ 1/2565 จดั กิจกรรมวันที่ ๒๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๕ ณ กศน.ตำบล ท้งั ๑๕ ตำบล
๔๔ 3. โครงการกิจกรรมเขา้ จงั หวะ กศน.วัยใสห่างไกลยาเสพติด ภาคเรยี นที่ 1/2565 จัดกิจกรรมวันที่ 26-27 กรกฎาคม 2565ณ หอประชุม กศน.ร่วมใจ กศน.อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสรุ ินทร์ (ไดร้ บั งบอุดหนนุ จากเทศบาลตำบลศขี รภมู )ิ
๔๕ 4. โครงการทักษะชีวิตสำหรับผู้เรียน เรื่อง การรู้เท่าทัน สื่อ สังคม ออนไลน์ ผเู้ รยี น กศน.อำเภอศขี รภมู ิ วันที่ 29 สิงหาคม 2565 ณ หอประชมุ อำเภอศขี รภมู ิ
๔๖ 5. โครงการทักษะชีวิตสำหรับผู้เรียน เรื่อง การป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร สำหรับนักศกึ ษา กศน.อำเภอศีขรภมู ิ ภาคเรยี นที่ 2/2565 วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 4 โซนคือ 1) โชนศีขรภูมิสามัคคี จัด ณ กศน.ตำบลตรึม 2) โชนศีขรภูมิพิสัย จัด ณ กศน.ตำบลยาง 3)โชนศีขรภูมิ หรดี ณ กศน.ตำบลจารพตั 4)โชนศขี รภูมภิ ัคดี ณ กศน.ตำบลแตล 1) โชนศีขรภูมสิ ามคั คี จัด ณ กศน.ตำบลตรมึ 2) โชนศขี รภูมิพิสยั จดั ณ กศน.ตำบลยาง 3) โชนศขี รภมู หิ รดี ณ กศน.ตำบลจารพตั 4)โชนศขี รภมู ภิ ัคดี ณ กศน.ตำบลแตล การนเิ ทศติดตามการดำเนนิ การจัดกิจกรรม โดย ขา้ ราชการครู และครูอาสาสมัครฯ
๔๗ กิจกรรมที่ 3 สง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรมและจิตอาสา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอศขี รภูมิ จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรมและจติ อาสา เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดี เป็นผู้มจี ติ อาสาเห็นประโยชน์ ส่วนร่วมมากกว่าส่วนตน มีความพอเพียง สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยจัดกิจกรรม กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ไดแ้ ก่ 1. โครงการขยายผลโครงการจติ อาสา สำนักงาน กศน. ประจำปี 2565
๔๘ 2. โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จริยธรรม เพ่อื ถวายเป็นพระราชกุศล สมเด็จพระ นางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ภาคเรยี นท่ี 1/2565 จัดกจิ กรรมวันท่ี ๘ สิงหาคม 2565 ณ วดั ในพืน้ ทก่ี ศน.ตำบลทัง้ 15 ตำบล
๔๙ 3. โครงการเสริมสร้างคุณธรรม ธริยธรรม เพื่อถวายเป็นราชกุศลวันคล้ายวันพระราช สมกพ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหา วชั รราชธดิ า นกั ศึกษา กศน.อำเภอศขี รภูมิ ภาคเรียนท่ี 2/2565 วนั ท่ี 27 ธันวาคม 2565 จำนวน 4 โซน คอื 1) โชนศขี รภูมสิ ามคั คี จัด ณ วัดทุง่ สวา่ งนารุ่ง ตำบลนารุ่ง 2) โชนศีขรภมู พิ สิ ัย จัด ณ วัดบา้ นหนองบัว 3)โชนศีขรภูมิหรดี ณ วัดหนองเหล็ก และ 4)โชนศีขรภูมิภัคดี ณ วัดชัยมงคลมุนีวาส อำเภอศีขรภูมิ จงั สุรินทร์
Search