Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20140701-1404198800

Description: 20140701-1404198800

Search

Read the Text Version

ห น า | 151 พระคุณเจา (คนธรรมดาเรียกสมเด็จพระราชาคณะ) ทา น คํากริยา (คนธรรมดาเรยี กภกิ ษทุ ่ัวไป) คําลักษณะนาม – ประเคน(ยกของดวยมืออบใหพระ) ถวาย(มอบให) ฉัน(กิน) อาพาธ(ปว ย) มรณภาพ(ตาย) อนุโมทนา(ยินดีดวย) จําวดั (นอน) – รูป(เปนลักษณะนามสําหรับสําหรับนับจํานวนพระภิกษุ เชน พระภิกษุ 2 รปู คนท่วั ไปนยิ มใชค าํ วาองค) 

152 | ห น า บทท่ี 6 ภาษาไทยกับชอ งทางการประกอบอาชพี สาระสําคญั ภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาติ เปนภาษาที่ใชสื่อสารในชีวิตประจําวัน อีกทั้งยังเปนชองทางที่ สามารถนําความรูภาษาไทยไปใชในการประกอบอาชีพตางๆ ได โดยใชศิลปะทางภาษาเปนสื่อนํา ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง เมื่อศึกษาจบบทที่ 7 แลว คาดหวงั วา ผูเรยี นจะสามารถ 1. มีความรู ความเขาใจ สามารถวิเคราะหศักยภาพตนเอง ถึงความถนัดในการใชภาษาไทยดาน ตา งๆ ได 2. เห็นชองทางในการนําความรูภาษาไทยไปใชในการประกอบอาชีพ 3. เห็นคุณคาของการใชภาษาไทยในการประกอบอาชีพ ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองท่ี 1 คุณคาของภาษาไทย เรื่องที่ 2 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ เร่ืองท่ี 3 การเพิ่มพูนความรูและประสบการณทางดานภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ

ห น า | 153 เรือ่ งท่ี 1 คุณคาของภาษาไทย ภาษาไทยเปนภาษาทีบ่ งบอกถึงเอกลักษณความเปนไทยมาชานาน ตัง้ แตโบราณจนถึง ปจจุบัน ภาษาไทยเปนภาษาที่สุภาพ ไพเราะ ออนหวาน และสิ่งท่ีสําคัญคือเปนภาษาทีใ่ ชในการ สือ่ สารของมนุษยในชีวิตประจําวัน หากมีการพูดภาษาไทยใหถูกตองเหมาะสมตามกาลเทศะแลว จะ แสดงถึงกิริยามารยาทที่เรียบรอย นอบนอมมีสัมมาคารวะ จะทําใหคนอื่นมีความรักใครในตัวเรา นอกจากนี้ ภาษาไทยยังสามารถนํามาดัดแปลงแตงเปนคํากลอน แตงเปนเพลงไดอ ยา งไพเราะเพราะ พรง้ิ ทําใหผูฟง หรือใครทไี่ ดยนิ แลว เกดิ ความหลงใหล เพลนิ เพลินไปกบั เสยี งเพลงนนั้ ๆ ได ฉะนัน้ เพ่ือใหผูเรียนเกิดทักษะอยางถูกตองและเหมาะสมในการสื่อสารกับผูอ ืน่ อยางมี ประสิทธิภาพ รูจ ักแสวงหาความรูแ ละประสบการณ รักการอาน การเขียน การพูด การบันทึก ความรูและขอมูลขาวสารที่ไดรับ เกิดความภาคภูมิใจในความเปนเจาของภาษา และเห็นคุณคาของบรรพ บุรษุ ท่ไี ดสรางสรรคผลงานไว ผูเรียนควรทจ่ี ะรซู ง้ึ ถึงคุณคา ตลอดจนรักษแ ละหวงแหนภาษาไทย เพ่ือใหค ง อยคู ูกับคนไทยตลอดไป

154 | ห น า เร่อื งท่ี 2 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ ภาษาเปนเครื่องมือในการสือ่ สารระหวางผูส งสาร (ผูพ ูด ผูเ ขียน) กับผูร ับสาร (ผูฟ ง ดู ผูอ าน) ที่ มนุษยใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน โดยเริ่มตัง้ แตวัยเด็กทีเ่ ริม่ หัดพูด เพือ่ ส่ือสารกับพอแม พ่ีนอง บุคคล ใกลเคยี ง ตอ มาเม่ืออยูในวยั เรยี น เรม่ิ เขา สรู ะบบโรงเรียนตั้งแตอนบุ าล ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศกึ ษา ผูเรียนในวัยนีเ้ ริม่ ใชภาษาท่มี ีระบบระเบยี บ มีหลกั เกณฑก ารใชภาษาทีส่ ลบั ซบั ซอน ยากงายตามระดับ การศึกษา ซึง่ ส่งิ ทีผ่ ูเ รียนไดเรียนรูเ กีย่ วกับภาษาไทยนี้ จะเปนการปูพืน้ ฐานความรูใหผูเรียน มีความรู ความ เขาใจ เกิดความซาบซึง้ และมีความคิดสรางสรรคของงานที่เกิดจากการเรียนภาษาไทย เชน มีผูเรยี นทเ่ี รียน อยูใ นระดับมัธยมศกึ ษา แตเ ปน ผูใฝร ู รกั การอาน รักการจดบนั ทึกเรื่องราวตา งๆ เร่มิ จดบนั ทึกจากสง่ิ ท่ี ใกลตวั คือ การจดบันทกึ กจิ วัตรประจําวนั จดบนั ทกึ เหตุการณท ่ไี ดป ระสบพบเหน็ ในแตล ะวัน เชน พบเห็น เหตุการณนํ้าทวมคร้งั ย่งิ ใหญในกรุงเทพมหานคร พบเห็นชีวิตความเปนอยขู องประชาชนเม่ือประสบภัยน้ํา ทวม ฯลฯ โดยผูเรยี นคนน้ีปฏบิ ตั เิ ชน น้ีเปนประจําทุกๆ วัน เมอ่ื ผูเรยี นคนนี้เปนคนที่ชอบเขยี น ชอบบนั ทกึ เร่ืองราวตา งๆ และแทนทผี่ ูเรียนคนนี้จะจดบนั ทึกเร่ืองราวตา งๆ และเก็บไวเ ปนขอมลู สวนตัวเทา นนั้ แต ผเู รยี นคนน้ี จะนําเรื่องราวท่ีบันทึกไวเผยแพรในเวบ็ ไซต เปนการบอกเลาเหตกุ ารณทไ่ี ดป ระสบพบเหน็ มาให ผูอนื่ ไดรบั รู บังเอิญมีสํานกั พิมพทไ่ี ดอานผลงานเขียนของผเู รยี นคนน้ี เกิดความพึงพอใจ และขออนุญาต นาํ ไปจดั พิมพเปนรปู เลม และจดั จาํ หนาย โดยผูเรียนจะไดรับคา ตอบแทนในการเขียนดวย อีกกรณีหนงึ่ ผเู รยี นคนหน่งึ เปนนกั พูด เวลาโรงเรียนมกี ารจัดกจิ กรรมหรือมีการจดั งานใดๆ กต็ าม ผูเรียนคนน้จี ะอาสาคอยชว ยเหลือโรงเรยี นโดยเปนผปู ระกาศบาง ผดู าํ เนินกิจกรรมตางๆ บาง ซึ่งส่ิงเหลา น้ี จะเปนพื้นฐานใหผูเรียนคนนี้ ไดเ รียนรูในระดับทส่ี ูงข้นึ โดยอาจจะเปนผทู ําหนาท่พี ธิ กี ร เปน นกั จัดรายการ วิทยุ เปนนักพากยการต ูน ฯลฯ ทีส่ ามารถสรางรายไดใหกับตนเองได ฉะนน้ั จากตวั อยา งที่กลา วมาต้งั แตตน จะเหน็ ไดว าการเรียนรูภ าษาไทย กส็ ามารถนาํ ความรทู ี่ ไดรับไปสรางงาน สรางอาชีพเลีย้ งตนเอง เลีย้ งครอบครัวได เชนเดียวกับการเรียนรูใ นสาระวิชาความรู อื่นๆ กอนทีผ่ ูเรียน กศน. จะตัดสินใจใชความรูภ าษาไทยไปประกอบอาชีพ ผูเ รียนจะตองวเิ คราะห ศักยภาพตนเองกอนวา ผูเรียนมคี วามรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั วชิ าภาษาไทยทมี่ เี น้อื หาเก่ียวกับการฟง การดู การพดู การอา น การเขียน หลกั การใชภ าษา วรรณคดีและวรรณกรรม ลึกซึ้งถกู ตอ งหรือยัง หากวิเคราะห แลวคิดวาผูเ รียนยังไมแมนยาํ ในเนือ้ หาความรูว ิชาภาษาไทยก็จะตองกลับไปทบทวนใหเขาใจ จากนัน้ จึง วิเคราะหตนเองวามีใจรักหรือชอบที่จะเปนนักพูดหรือนักเขียน สวนเนื้อหาเกีย่ วกับการฟง การดู การ

ห น า | 155 อาน หลักการใชภาษา และวรรณคดีและวรรณกรรมเปนขอมูลความรูประกอบในการเปนนกั พูดท่ีดี หรือนักเขียนทีด่ ไี ด ตอไปน้ีจะขอนาํ เสนอขอมูลและตวั อยางของการประกอบอาชีพนกั พูด และนกั เขยี นพอสังเขปดงั น้ี การประกอบอาชพี นักพูด ผเู รียนท่ีไดวเิ คราะหศ ักยภาพตนเองแลววาเปนผูที่มีความสนใจและรักท่ีจะเปนนกั พูด จะตอง เปน ผูท มี่ คี วามรู ความสามารถหรือคุณสมบัติอยางไรบาง โดยขอนําเสนอขอมูลพอเปนสังเขปไดดังนี้ ก. นักจัดรายการวิทยุ ผูเรยี นท่ีสนใจจะเปน นกั จดั รายการวทิ ยุ เรมิ่ แรกผูเรยี นอาจจะเปน นกั จัดรายการวทิ ยรุ ะดับ ชมุ ชน เสียงตามสาย ฯลฯ จนผูเรียนมีทกั ษะประสบการณมากขึ้น จงึ จะเปนนกั จดั รายการวิทยรุ ะดบั จงั หวดั หรือระดบั ประเทศตอไป หนา ที่ของนักจดั รายการวทิ ยุ แบง ได 4 ประการ คือ 1. เพอ่ื บอกกลา ว เปน การรายงาน ถา ยทอดสงิ่ ท่ีไดประสบ พบเห็นใหผ ูฟ งไดรับรูอยา ง ตรงไปตรงมา 2. เพ่ือโนมนาวใจ เปนการพยายามที่จะทําใหผูฟงมีความเห็นคลอยตาม หรือโตแ ยง 3. เพ่อื ใหค วามรู เปนความพยายามที่จะใหผูฟงเกิดความพึงพอใจ มีความสุขใจ ลักษณะของนักจัดรายการวิทยุ (รจู กั ตนเอง) มีดังนี้ 1. เปน ผมู จี ิตใจใฝร ู 2. วองไวตอการรับรูขอมูลขาวสาร 3. มมี นุษยสัมพันธท ่ดี ี 4. มีจิตใจกวางขวาง เห็นอกเห็นใจผูอ ่ืน 5. มีความอดทนตอแรงกดดันตางๆ ข. พิธกี ร - ผปู ระกาศ ในการทําหนา ทีพ่ ิธกี ร หรือผูประกาศ การใชเ สยี งและภาษาจะตอ งถูกตอง ชดั เจน เชน การ ออกเสยี งตวั ร ล การอา นเวนวรรคตอน การออกเสียงควบกล้าํ การออกเสียงสูง ตํา่ นอกจากจะตองมี ความรูในเรื่องของภาษาแลว ผทู ท่ี าํ หนาทพ่ี ิธีกร – ผูประกาศ จะตอ งพัฒนาบุคลิกภาพ การแตง หนา ตลอดจนเรียนรกู ารทาํ งานของพธิ ีกร – ผูประกาศอยางชัดเจนดวย คุณลกั ษณะของผทู าํ หนา ท่ีพิธีกร – ผูประกาศ มีดังนี้ 1. บคุ ลิกภาพภายนอกตอ งดูดี มีความโดดเดน ดูนาประทับใจ มีลักษณะที่เปนมิตร เนื่องจาก การเปนพธิ กี ร – ผปู ระกาศ จะตองพบปะกบั ผูค นหรอื ผูฟง

156 | ห น า 2. นา้ํ เสียงนมุ นวล นา ฟง การใชน้ําเสยี งเปนส่งิ สําคญั การใชอ กั ขระจะตอ งถกู ตอง ออก เสียงดงั ฟงชดั การเวนวรรคตอน คําควบกลํา้ จะตองสมํา่ เสมอ นํ้าเสยี งนาฟง ไมแข็งกระดา ง เวลาพูดหรือ อานขาว ควรมสี ีหนายิ้มแยม และน้ําเสียงท่ชี วนฟงเพื่อใหผูฟง รูสึกสบาย เม่ือไดฟง 3. ภาพลกั ษณท่ดี ี ควรเปนตัวอยา งทด่ี ีนาเช่ือถือ สําหรบั ผูฟงหรอื ผูชม การปรากฎตัวในงาน ตางๆ ควรมีการแตงกายที่สุภาพเรียบรอยเหมาะสมสอดคลองกับสถานการณนั้นๆ 4. ความรูรอบตัว ผทู จ่ี ะทําหนาทพ่ี ธิ ีกร – ผูประกาศจะตองเปน ผูท ี่สนใจใฝรูเรอื่ งราว ขาวสารขอมูลทีท่ ันสมัย เกาะติดสถานการณวามีอะไรเกิดขึน้ บาง กับใคร ที่ไหน ทีส่ าํ คัญตองเปนผูที่ พรอมจะเรียนรูเรือ่ งราวใหมๆ อยูเสมอ รูจักวิเคราะหขาวสารทีไ่ ดรับฟงมาใหเขาใจกอนที่จะเผยแพร ใหผูอ ื่นไดรับรู 5. ตรงตอเวลา การตรงตอเวลาถอื วา เปนเรอื่ งสําคัญมากท้ังผทู ท่ี าํ หนา ทพ่ี ธิ ีกร – ผูประกาศ จะตองมเี วลาใหท มี งานไดใ หขอ มลู อธบิ ายประเด็นเน้ือหาสาระ กระบวนการข้ันตอนตา งๆ ถา ไมพ รอมหลงั พลาดพลง้ั ไป ทมี งานคนอน่ื ๆ จะเดอื ดรอ นและเสยี หายตามไปดว ย 6. รูจ กั แกปญ หาเฉพาะหนา การเปน พิธีกร – ผูประกาศ ถึงแมวาจะมีการเตรียมความ พรอมทีเ่ รียบรอยดีแลว แตเหตุการณเฉพาะหนาบางครัง้ อาจจะเกิดขึน้ ได โดยทีไ่ มไดคาดหมายไว พธิ กี ร – ผูประกาศ จะตองมีปฏิภาณไหวพริบในการแกปญหาเฉพาะหนา ได ค. ครูสอนภาษาไทยกับประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ.2558 ประเทศไทยจะกาวสูประชาคมอาเซียน ฉะนั้น ประชาชนคนไทย จําเปนตองเตรียมความพรอม หรือปรับตัวใหทันตอการเปลีย่ นแปลง ซึง่ การเปลีย่ นแปลงดังกลาวจะ กอ ใหเ กดิ ประโยชนแ ละการเปลย่ี นแปลงในดา นตา งๆ ดงั น้ี ประโยชนท ่จี ะไดรับ 1. ประชากรเพิ่มข้ึน ทําใหเพิ่มศกั ยภาพในการบรโิ ภค เพิ่มอาํ นาจการตอรองในระดับโลก 2. การผลติ (ยง่ิ ผลิตมาก ย่ิงตนทนุ ต่าํ ) 3. มีแรงดึงดูดเงินลงทุนท่ีอยูนอกอาเซียนสงู ข้ึน สิ่งทีส่ ง ผลตอการเปลยี่ นแปลงในดา นตา งๆ 1. การศึกษาในภาพใหญของโลก มีการเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรง 2. บุคลากรและนักศึกษา ตองเพิ่มทักษะทางดานภาษาอังกฤษใหสามารถสื่อสารได 3. ปรับปรุงความเขาใจทางประวัติศาสตร เพื่อลดขอขัดแยงในภูมิภาคอาเซียน 4. สรางบัณฑิตใหสามารถแขงขันไดในอาเซียน เพิ่มโอกาสในการทํางาน ดงั นน้ั จะเห็นไดว า ตัง้ แตป  พ.ศ. 2558 เปนตนไป ประชาชนอาเซียนจะเดินทางเขาออก ประเทศไทยเปนจํานวนมาก ไมวา จะเปนแมคา พอคา นักธุรกจิ นกั ทองเทยี่ ว ฯลฯ ฉะนน้ั เราในฐานะ เจาของประเทศ เจาของภาษาไทย ทําอยางไรจึงจะทําใหประชาชนอาเซียนที่เขามาประกอบอาชีพใน

ห น า | 157 ประเทศไทยไดเรียนรูภ าษาไทย วัฒนธรรมไทย เพ่ือเปนพืน้ ฐานในการส่ือสารทีเ่ ขาใจกัน ในทีน่ ี้จึง ขอเสนออาชีพท่ีผูเรียนที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแลว สามารถประกอบอาชีพ สราง รายไดใหกับตนเอง นัน่ ก็คือ ครูสอนภาษาไทยใหกับประชาชนอาเซียน ภาษาไทยที่สอนนี้เปน ภาษาไทยพื้นฐานที่ประชาชนอาเซียนเรียนรูแลว สามารถสื่อสารกับคนไทยแลวเขาใจ สามารถดําเนิน ชวี ติ ประจาํ วนั ได เชน พอ คา แมค า นกั ทอ งเทีย่ ว ฯลฯ คุณลักษณะของครูผูสอนภาษาไทยกับประชาชนอาเซียน 1. มั่นใจในความรูภาษาไทยดีพอ 2. มีใจรักในการถายทอดความรู 3. เปน ผมู คี วามรูในภาษาอาเซยี น อยา งนอ ย 1 ภาษา เนื้อหาความรูภาษาไทยที่ประชาชนอาเซียนควรเรียนรู 1. ทักษะการฟง การดู การพูด 2. หลกั การใชภาษา ระดับพื้นฐาน ไดแก พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต 3. ทักษะการอาน 4. ทักษะการเขียน 5. ทักษะการอาน เขียนเลขไทย อารบิค การจดั กลุม ผูเรียน 1. แสวงหากลุม ผเู รยี น ตง้ั แต 1 คนขึ้นไป (จาํ นวนขึ้นอยกู ับศกั ยภาพของครูผสู อน) 2. กาํ หนดแผนการสอน (วนั เวลา/สถานทน่ี ดั พบ) 3. เตรยี มเน้ือหา สาระ สอื่ อุปกรณการจัดกิจกรรมการเรยี นรู 4. มีการวัดและประเมินผลความกา วหนาของผเู รียน การประกอบอาชพี นกั เขียน จากตวั อยางขา งตน ท่ีกลาวถงึ ผทู จี่ ะเปน นักเขยี นมอื อาชพี จะตอ งเปนผูรจู ักจดบันทกึ ใฝรู ใฝ แสวงหาความรูอยางตอเนื่อง หรือแมแตเปนนักอาน เพราะเชื่อวาการเปนผูอานมากยอมรูมาก มีขอ มูลใน ตนเองมาก เม่อื ตนเองมขี อมลู มาก จะสามารถดงึ ความรขู อมลู ในตนเองมาใชใ นการส่ือสารใหผูอ านหรือ ผูรับสารไดรับรูหรือไดประโยชน ตัวอยางของอาชีพนักเขียน ไดแก การเขียนขาว การเขียนโฆษณา การแตงคําประพันธ การเขียนเรือ่ งสั้น การเขียนสารคดี การเขียนบทละคร การเขียนบทวิทยุ- โทรทัศน การแตงเพลง ฯลฯ ซ่ึงตัวอยางเหลานี้ ลวนแตผูเขียนสามารถสรางชน้ิ งานใหเ กดิ รายได ทั้งส้ิน เพยี งแตผูเขียนจะมคี วามรัก ความสนใจที่จะเปนนักเขยี นหรือไม

158 | ห น า คุณสมบัติของนักเขยี นท่ีดี การจะเปน นกั เขียนมืออาชพี ทีด่ ไี ด จะตองเรม่ิ ตนทีละขน้ั หรือเรม่ิ จาก 0 ไป 1 2 3 และ 4 โดย ไมค ิดกระโดดขา มขน้ั ซงึ่ มวี ิธกี ารดังนี้ 1. ต้งั ใจ นกั เขียนตองมคี วามตง้ั ใจ และรับผิดชอบในทุกขอความที่ตนเองไดเขียนถายทอดออกมา ไมใ ชเพยี งตวั อักษร ท่ีเรียงรอยออกมาเปนเน้ือหาเทานั้น แมแ ตย อ หนา หรือเวน วรรคก็นับวา เปน สว นหนง่ึ ท่ี แสดงใหเ ห็นถึงความตั้งใจของนักเขียน ที่นักอานจะสามารถมองเห็นไดเชนกันจุดประสงคของการเปน นักเขยี นไมใ ชเปน เพื่อเขยี นอะไรสักเรือ่ งใหจบแลว เลกิ ราไป แตน กั เขยี นควรใสใจทุม เทในสิง่ ทีเ่ ขียน และ ลงมือถายทอดเรือ่ งราวในจินตนาการนัน้ อยางสุดความสามารถ หากมีความตั้งใจจริงคนอา นจะรับรไู ด ทันที 2. รบั ฟง นักเขียนตอ งรูจ กั ที่จะรับฟงคําวิจารณของเพือ่ นนกั เขียนดวยกันอยางใจกวา ง เพราะไม วานกั เขียนจะมฝี ม ือระดับใด ก็สามารถมีขอ ผิดพลาดไดเชนกัน แมแ ตความคดิ เหน็ ของนกั อา นกม็ สี ว น ชว ยใหนกั เขยี นปรับปรุงแกไขใหดียิ่งขนึ้ ได เพราะโดยสวนมากนักอานมักจะเห็นขอบกพรองใน บทความของนักเขียนมากกวาตัวนักเขียนเอง 3. ใฝร ู นกั เขียนตอ งรูจักคนควา หาความรู ขอมลู หรอื แหลงอางองิ ท่ีถูกตอ ง เพอื่ พัฒนา การ เขียนของตนเอง การเขียนเนื้อหาโดยปราศจากขอมูลจะทําใหเนือ้ หาปราศจากสาระและแกน สาร คนอานจะไมรูสกึ สนุก 4. จรรยาบรรณ ไมวาอาชีพใดๆ จําเปนตองมีจรรยาบรรณเปนของตนเอง นกั เขียนก็เชนกัน นักเขียนที่มีจรรยาบรรณ ตองไมลอกของคนอื่นมาแอบอางชื่อเปนของตนเอง นี่คือสิ่งที่รายแรงที่สุด สาํ หรบั นกั เขยี น 5. ความรับผดิ ชอบ ไมวา อาชีพใดๆ ความรับผิดชอบเปนส่ิงสําคญั ซงึ่ ในทีน่ ้ี หมายถึง ความ รบั ผดิ ชอบตอทุกถอยคาํ ในเนือ้ หา กอนจะแสดงผลงานใหผ ูใดไดอ านไมว าผเู ขียนจะตงั้ ใจหรือ ไม ตง้ั ใจกต็ าม 6. ความสุข หลายคนอาจแอบคิดอยูในใจวาการเปนนักเขียนไมใชเรื่องงาย ไมวาอาชีพใดๆ ตอ งมจี ุดงายจดุ ยากดวยกันท้ังสิน้ แลว เหตใุ ดการเปนนกั เขยี นตอ งมคี วามสขุ ? เพราะถาหากนกั เขยี น เขยี นดวยความทกุ ขไมรูสึกมีความสุขกบั การเขียน ก็แสดงวา นกั เขียนผูน้ันไมเหมาะกบั การเปนนักเขยี น นักเขยี น คอื ผทู ี่แสดงความคิดเห็น ดวยการเขียนเปนหนังสือหรือลายลักษณอกั ษร ซง่ึ อาจ แสดงออกในรูปแบบเรียงความ บทความ เรื่องสั้น นวนิยายฯลฯ คนที่จะเอาดีดานงานเขียน จะตองเปน คนชา งฝน มพี รสวรรค และตองเรียนรู พยายามเขียนตามที่ตนถนดั รูจกั อยใู นโลกแหงจินตนาการ จงึ จะ เขยี นใหผ ูอา นหัวเราะ รองไหและรอคอย ถอื วาเปน หัวใจหลกั ของนกั เขยี น นอกจากนต้ี องเปนนักอาน นกั เขียนตองมอี ารมณออนไหว รูสึกไวตอสิง่ เราทง้ั หลาย นอกจากน้ี ยังตองเปนคนชางคดิ ชางสงั เกต

ห น า | 159 ตัวอยา ง การนาํ ความรูภ าษาไทยไปประกอบอาชพี นักเขยี น 1. นกั ขาว เปน การเขยี นขาวทใ่ี ชกระบวนการทางความคดิ ของผูส่ือขา วทสี่ ามารถนาํ ไปสูก ารปฏบิ ตั ิงานขา ว ในขั้นตอนการเขียน บอกเลา ขอ เทจ็ จรงิ เพื่อใหเกดิ ประโยชน ในการรบั ใช หรือสะทอ นสังคม ซงึ่ แตกตางไปจากการเขียนของนักเขียนทั่วๆ ไป เพราะการเขียนขาวของผูสื่อขาวมีความสําคัญตอการ แสวงหาความจริง ของสังคม ทีต่ องอาศัยรูปแบบ โครงสรางของการเขียนขาวมาชวยนําเสนอ ขอเท็จจริงอยางมีระบบ อะไรเปน ขา วไดบ าง ? ขา ว คือ เหตกุ ารณ ความคดิ ความคดิ เห็น อันเปนขอเทจ็ จริง ที่ไดรับการหยิบยกข้ึนมารายงาน ผา นงชอ งทางส่ือทเ่ี ปนทางการ นักหนังสือพิมพที่มีชื่อเสียงทานหนึ่งชื่อ จอหน บี โบการท กลาววา “เมือ่ สุนัขกัดคนไม เปนขาว เพราะเปนเหตุการณปกตทิ ีเ่ กิดขึน้ บอยๆ แตเ ม่ือคนกดั สนุ ัข นัน่ คือขา ว” คาํ กลา วนแ้ี สดงใหเ หน็ วาเร่ืองราวทปี่ กติไมม ีความนาสนใจมากพอท่ีจะเปน ขา ว แตถา เปน เร่อื งท่ีนานๆ กวาจะอบุ ัตขิ ึน้ สกั ครง้ั หนึง่ กจ็ ะเปนขาวไดงาย สิ่งทจ่ี ะเปน ขา วไดค อื สิง่ ทมี่ ีลักษณะ ดงั น้ี ความทันดวนของขาว ผลกระทบของขาว มีความเดน ความใกลชิดของขาวตอผูอานหรือผูชม ทั้งทางกายและทางใจ

160 | ห น า เรื่องราวหรือเหตุการณท่ีกาํ ลังอยใู นกระแสความสนใจของสาธารณชน หรอื เรยี กวา “ประเด็น สาธารณะ” 2. นกั เขยี นบทวิทยุ-โทรทัศน มคี ุณสมบตั ิโดยทัว่ ไป ดงั น้ี 2.1 ชางคดิ เปนคุณสมบัติสําคัญของนักเขียน ความคิดริเริ่มสรางสรรคเปนพรสวรรคของแต ละบคุ คล ความชา งคดิ ในท่ีน้ีหมายถงึ ความสามารถในการสรา งเร่ืองทส่ี มบูรณจ ากเหตกุ ารณเลก็ ๆ เพยี ง เหตกุ ารณเ ดียว นักเขยี นบทละครผูซ่ึงเลนกับถอยคําสาํ นวนจะใชความพยายามอยางมากที่จะเรียงรอย ถอยคําใหสามารถสรางจินตนาการตามที่เขาตองการ 2.2 อยากรูอยากเห็น นักเขียนจะตองศึกษาเรื่องตางๆ ท่ผี ูส่ือขาวไดร ายงานขา วไว แลวนํามา คดิ ใครครวญวา อะไร ทาํ ไม สาเหตจุ ากอะไร อยา งไร ที่ทําใหเ กดิ เหตกุ ารณหรือสถานการณเ ชนน้ันข้ึน และเมื่อเดินทางไปยังพนื้ ท่ีตางๆ นักเขยี นจะตองมคี วามพยายามทุกวิถีทางท่ีจะปฏบิ ัติตนใหค นุ เคยกับคน ของทองถิ่นนั้นๆ วาเขามีชีวิตความเปนอยูที่แทจริงอยางไร 2.3 มวี ินยั วทิ ยแุ ละโทรทศั นเปนสือ่ ทม่ี เี วลาเปน เครื่องกาํ หนดทแ่ี นน อน นกั เขยี นควรกาํ หนด จดุ เปา หมายของตนเองวาจะเขยี นใหไ ดอ ยางนอยกคี่ ําตอ วัน ผทู ย่ี ึดอาชีพน้ีจะตองมีวนิ ัยในการเขียนเปน อยางมาก เพื่อใหสามารถสงบทไดตรงเวลา และผลิตบทออกมาอยางสม่ําเสมอเพื่อการยังชีพ 2.4 รูจักการใชภ าษา นักเขียนบทจะตองเปนผูที่สามารถสรางคําตางๆ ข้ึนมาไดโดยอาศัยแหลง ขา วสารขอมลู ตา งๆ ฟง คําพูดของบุคคลตา งๆ ศกึ ษาจากการอา นหนังสอื นิตยสาร หนงั สอื พมิ พ การเขา เรียนในหองเรียน ฟงวิทยุกระจายเสียง ดูโทรทัศน ภาพยนตร นอกจากนี้ หนังสือจําพวกพจนานุกรม ศัพทานุกรม เปนสิง่ ที่มีคาสาํ หรับนักเขียน เพราะสามารถชวยในการตรวจสอบหรือคนหาคําได การ เขยี นสาํ หรบั สอื่ ประเภทวทิ ยุโทรทัศนมีกุญแจดอกสําคัญคอื “ความงาย” เพอ่ื ผรู ับจะไดเขา ใจไดง า ยและ เขาใจไดเ ร็ว

ห น า | 161 2.5 รูจักส่ือ นกั เขยี นบทตองรถู งึ การทาํ งานของเครอ่ื งมือของส่ือนัน้ ๆ โดยการดูเพ่ือที่จะ เรยี นรู อานจากหนงั สือที่อธิบายถึงกระบวนการออกอากาศ หรือเยี่ยมชมและสังเกตการเสนอรายการ ตางๆ อบรมระยะส้ันๆ กับมหาวิทยาลยั ตางๆ หรือศกึ ษาดูงาน เปน ตน 2.6 มีความเพียร อาชีพนักเขียนตองมีความมานะอดทน มีความเพียรพยายามที่จะทําใหได และอาจจะตองเขียนบทจํานวนมากกวาจะมีคนยอมรับสกั เรื่อง แหลงขอมลู สําหรับการเขยี นบทวทิ ยุโทรทัศน 1. หนังสือพมิ พ นักเขียนบทสามารถนําเนื้อหาของขาวสารตางๆ มาพัฒนาเปนโครงสรางของ บทไดอยางดี แมกระทั่งขาวซุบซิบ ขาวสังคมในหนังสือพิมพ ก็สามารถนํามาพัฒนาบุคลิกของตัวละครแต ละตัวในเร่ืองท่ีเขียนได 2. นติ ยสาร เรื่องราวตางๆ ในนิตยสารแตละประเภทเปนขอมูลท่ดี ีเยยี่ มสาํ หรับนกั เขยี นบท ในดานขอ มูล ขอเท็จจริง ตลอดจนการสบื เสาะไปสแู หลง ขอ มูลเบอ้ื งตน ไดอยา งดี ปจจุบันนิตยสารมี หลายประเภท และแยกแยะเนน ผูอ า นทสี่ นใจเฉพาะเรือ่ งน้ันๆ ยงิ่ ทําใหนักเขยี นบทแสวงหาขอ มูลที่ เจาะจงไดงายขึ้น 3. รายงานการวจิ ยั ในการเขียนบทบางครั้งผลงานวิจัยเขามามีบทบาทสําคัญในการ ประกอบการเขยี นบท สถานวี ิทยุโทรทัศนบ างแหง หรอื บริษัทผลติ รายการวทิ ยโุ ทรทัศน จะมแี ผนกวจิ ยั ไว โดยเฉพาะเพื่อทําหนาที่วิจัยหาขอมูลมาประกอบการเขียนบท 4. หองสมดุ นักเขียนบทบางทานทํางานอยูในสถานีที่ไมมีแผนกวิจัย จึงตองหาขอมูลจาก หองสมุดท่ีมีอยูใ นทองถิน่ ซ่ึงเปน แหลง ขอมูลท่ดี ีอกี แหง หน่ึงของนกั เขยี นบทวทิ ยโุ ทรทศั น 5. หนว ยงานราชการ เมื่อไดรับมอบหมายใหเขียนบทใหกับหนวยงานราชการตางๆ นักเขียน บทจะแสวงหาขอมูลเก่ียวกับเรื่องนนั้ ๆ จากหนวยงานทเ่ี ก่ียวของโดยตรง เชน เขียนเรือ่ งเก่ยี วกับปา ไม ก็ แสวงหาขอมูลจากกรมปาไม เปนตน นอกจากขอมูลจากแหลงใหญๆ ทัง้ 5 แหลงแลว นักเขียนบทสามารถหาขอมูลไดดวยตนเอง จากการคุยกับเพื่อนๆ ในวงวิชาชีพตางๆ จากการไปอยูใ นสถานท่ีน้ันๆ ไปไดพบไดเห็นไดยินมาดวย ตนเอง นักเขียนบทสามารถบันทึกไวในคลังสมองของตนเอง แลวนํามาใชไดทันทีเมื่อตองการ รปู แบบและประเภทของบทวทิ ยโุ ทรทศั น บทวิทยุโทรทัศนประกอบดวยองคประกอบที่จําเปน 2 สวน คอื สว นของภาพและสวนของ เสียง การใหขอมูลท่ีสมบูรณทัง้ ดานภาพและเสียงจะทาํ ใหรายการสาํ เร็จลุลวงไปไดดวยดี ดงั นน้ั นักเขียนบทวิทยุโทรทัศนควรทราบขอกําหนดในการวางรูปแบบโทรทัศน และประเภทของบทวิทยุ โทรทัศน เพื่อจะทําใหงายและสะดวกตอการทํางานของฝายผลิตรายการ

162 | ห น า 1. การวางรปู แบบบทวิทยุโทรทัศน สวนภาพ การวางรูปแบบบทวิทยุโทรทัศนโ ดยท่วั ไปนนั้ นิยมเขยี นโดยสวนของภาพจะอยูครึ่ง หนากระดาษทางซาย และสวนของเสียงจะอยูท างขวาของคอลัมนภาพ เพื่อผูเขียนตองการเขียน ขอแนะนําเครื่องหมายของช็อต (shot) ท่สี าํ คญั คอื ตวั หนังสอื ภาพ และส่ิงที่จําเปนที่สําคัญที่เก่ียวกับภาพ โทรทัศนใหเขียนสิ่งเหลานี้ไวใน “สวนภาพ” ทัง้ นี้ ผูเขียนตองเขาใจศัพททางดานโทรทัศนพอสมควร และพยายามใชคําศัพทดานภาพและดานเทคนิคทีต่ นเขาใจเปนอยางดี หลีกเลี่ยงการใชศัพทเทคนิคที่ ผูเขียนเองยังไมเขาใจความหมายที่แทจริงของคํานั้นๆ สวนเสียง ผูเขียนจะใสคําบรรยาย เพลง เสียงประกอบใน “สวนเสียง” เชนเดียวกับการอธิบาย สิง่ ตางๆ ใหก ับตวั แสดง ผแู สดงแบบ ผบู รรยาย เชน อธบิ ายการเคลื่อนไหว หรืออารมณ เปนตน จะไมใชสวน ภาพสาํ หรบั อธบิ ายส่งิ ตา งๆ ใหกบั ตัวแสดงไมวาจะอยูหลงั กลอ งหรือหนากลอ ง คําอธิบายและรายการซึง่ ควรเขียนไวกอนบท ไดแกคําอธิบายเกีย่ วกับลักษณะผูแสดง (character) ฉาก (setting) และอุปกรณที่ใชประกอบฉาก ตลอดจนงานดานกราฟกภาพทีใ่ ชประกอบ เอาไวหนาเดียวหรือหลายหนาก็ได จะไมมีการเขียนสิง่ เหลานี้ไวในบท เพราะอาจทําใหเกิดการสับสน และเปน สาเหตุของความผิดพลาด ขณะที่อานบทอยางรวดเร็วระหวางการผลิต 2. ประเภทของบทวิทยุโทรทศั น 2.1 บทวทิ ยโุ ทรทศั นแ บบสมบรู ณ บทประเภทนี้จะบอกคาํ พดู ทกุ คาํ พูดทผ่ี ูพดู จะพดู ใน รายการต้งั แตตนจนจบ พรอมกันนัน้ ก็จะบอกรายละเอียดเกย่ี วกบั คําส่งั ทางดานภาพและเสยี งไวโดย สมบรู ณ รายการที่ใชบทประเภทนี้ไดแก รายการละคร รายการตลก รายการขาว และรายการโฆษณา สนิ คาสําคญั ๆ ประโยชนของการเขียนบทวิทยุโทรทัศนแบบสมบูรณ คือ เราสามารถมองภาพของรายการได ตัง้ แตตนจนจบกอนทีจ่ ะมีการซอม ทําใหเราสามารถกําหนดมุมกลอง ขนาดภาพ และขนาดของเลนสที่ ใช ตลอดจนกาํ หนดเวลาการเคลอ่ื นไหวของกลอ งไดอ ยา งถกู ตอ งแนน อน ขอเสียเปรียบของบทวิทยุโทรทัศนแบบนี้ คือ เราจะปฏิบัติตามบทอยางเครงครัด ถาทุกสิง่ ทุก อยางเปนไปตามบท รายการก็จะดําเนินไปดวยดีและสมบูรณ แตหากมีอะไรไมเปนไปตามบท ผูก ํากับ รายการและผูรวมทีมงานก็จะเกิดความสับสน และตองพยายามแกไขปญหาเฉพาะหนาที่เกิดขึ้นใหได 2.2 บทวิทยโุ ทรทัศนก่งึ สมบูรณ มีขอแตกตางกับบทโทรทัศนแบบสมบูรณ ตรงที่คําพูดคํา บรรยายหรอื บทสนทนาไมไดระบุหมดทุกตวั อักษร บอกไวเพยี งแตห วั ขอเรือ่ งหรือเสียงทจี่ ะพดู โดยทั่วไปเทานั้น บทดังกลาวใชกับรายการประเภทรายการเพื่อการศึกษา รายการปกิณกะ และรายการที่ ผูพูด ผสู นทนา หรอื ผบู รรยายพดู เองเปนสว นใหญ ไมมีระบใุ นบท

ห น า | 163 สิง่ สําคัญของบทวิทยุโทรทัศนแบบกึง่ สมบูรณ คือ ตองระบุคําสุดทายของคําพูดประโยค สุดทายที่จะใหเปนสัญญาณบอกผูก ํากับรายการวา เมือ่ จบประโยคนีจ้ ะตัดภาพไปยังภาพยนตร สไลด หรือภาพนิง่ ซ่ึงใชป ระกอบในรายการหรือตดั ภาพไปยังโฆษณาหรอื ตัดภาพไปฉากอ่นื 2.3 บทวทิ ยโุ ทรทศั นบอกเฉพาะรูปแบบ จะเขียนเฉพาะคําสั่งของสวนตางๆ ที่สําคัญใน รายการ ฉากสําคัญๆ ลําดับรายการที่สําคัญๆ บอกเวลาของรายการแตละตอน เวลาดําเนินรายการ บท โทรทัศนแบบนี้มักจะใชกับรายการประจําสถานี อาทิ รายการสนทนา รายการปกิณกะ รายการอภิปราย 2.4 บทวิทยุโทรทศั นอ ยางครา วๆ บทประเภทนี้จะเขียนเฉพาะสิ่งที่จะออกทางหนาคาํ สง่ั ทางดา นภาพและดา นเสียง โดยทว่ั ไปแลว ผูกาํ กับรายการจะตองนําบทอยา งครา วๆ นีไ้ ปเขยี น กลองโทรทัศนเทานัน้ และบอกคําพูดท่ีจะพูดประกอบสิ่งที่ออกหนากลองไวอยางคราวๆ ไมมีตบแตง ใหม ใหเ ขาอยูใ นรูปของบทวิทยโุ ทรทัศนเฉพาะรูปแบบเสียกอน เพื่อใหผ ูรว มงานท้งั หมดไดรวู า ควรจะ ทํางานตามขั้นตอนอยางไร หลกั การเขยี นบทวทิ ยโุ ทรทศั น การเขียนบทวิทยุโทรทัศนควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ 1. เขียนโดยใชสํานวนสนทนาที่ใชสําหรับการพูดคุย มิใชเขียนในแบบของหนังสือวิชาการ 2. เขียนโดยเนนภาพใหม าก รายการวทิ ยโุ ทรทัศนจะไมบ รรจคุ ําพูดไวท กุ ๆ วินาที แบบ รายการวิทยุกระจายเสียง 3. เขยี นอธบิ ายแสดงใหเห็นถึงสิ่งที่กําลังพูดถึง ไมเขียนและบรรยายโดยปราศจาก ภาพประกอบ 4. เขยี นเพื่อเปนแนวทางใหเ กดิ ความสมั พนั ธร ะหวา งผชู มแตล ะกลุม ผูซ ่ึงเปนเปาหมายใน รายการของทาน มิใชเขียนสําหรับผูชมโทรทัศนสวนใหญ 5. พยายามใชถ อยคาํ สํานวนที่เขาใจกนั ในยคุ นั้น ไมใ ชค ําทีม่ หี ลายพยางค ถา มีคาํ เหมือนๆ กนั ใหเลือก ใหเลอื กใชคาํ ทเี่ ขา ใจไดง ายกวา 6. เขยี นเรอ่ื งทีน่ าสนใจและตองการเขยี นจริงๆ ไมพ ยายามเขียนเรอื่ งซ่งึ นา เบื่อหนาย เพราะ ความนาเบื่อจะปรากฏบนจอโทรทัศน 7. เขียนโดยพัฒนารูปแบบการเขียนของตนเอง ไมลอกเลียนแบบการเขยี นของคนอ่นื

164 | ห น า 8. คนควาวัตถุดิบตางๆ เพื่อจะนํามาใชสนับสนุนเนื้อหาในบทอยางถูกตองไมเดาเอาเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีขอเท็จจริงเขาไปเกี่ยวของ 9. เขียนบทเริ่มตน ใหนาสนใจและกระตุน ใหผ ชู มอยากชมตอไป 10. เขยี นโดยเลือกใชอารมณแสดงออกในปจจุบัน ไมเปนคนลาสมัย 11. ไมเ ขยี นเพอ่ื รวมจุดสนใจทงั้ หมดไวใ นฉากเลก็ ๆ ในหองทีม่ ีแสงไฟสลัว ผชู มตองการ มากกวาน้ัน 12. ใชเทคนิคประกอบพอควร ไมใชเทคนิคประกอบมากเกินไปจนเปนสาเหตุใหสูญเสียภาพ ทเ่ี ปนสวนสาํ คญั ท่ีตอ งการใหผชู มไดเ ขา ใจไดเหน็ 13. ใหความเชือ่ ถือผูกํากับรายการวาสามารถแปลและสรางสรรคภาพไดตามคําอธิบายและ คําแนะนําของผูเขียน ผูกํากับจะตัดทอนบทใหเขากับเวลาที่ออกอากาศ และไมตองแปลกใจถาบรรทัด แรกๆ ของบทถกู ตัดออก หรืออาจผดิ ไปจากชวงตน ๆ ทเี่ ขียนไว ตอ งใหความเช่อื ถือผูกํากบั รายการและ ไมพยายามจะเปนผกู ํากับรายการเสียเอง 14. ไมลืมวาผูกํากับจะแปลความเราใจของผูเขียนบทออกมาไดจากคําอธิบายและคําแนะนําที่ ผเู ขยี นเขียนเอาไวใ นบท 15. ผูเขยี นบทตองแจง ใหท ราบถึงอปุ กรณทต่ี องใชเปนพิเศษ ซ่งึ จําเปน และอาจหาไดยาก เวลา เขยี นควรคํานึงดวยวา อุปกรณท ่ใี ชประกอบน้นั เปนอปุ กรณซ ่งึ ไมส ้นิ เปลอื งคา ใชจ ายมากจนเกนิ ไป และ อปุ กรณน ้ันตองหาได ขน้ั ตอนการเขยี นบทวทิ ยโุ ทรทศั น การเขียนบทวิทยุโทรทัศนมีขั้นตอนงายๆ 3 ขั้น ไดแก การกําหนดวัตถุประสงคและ กลุมเปาหมาย การกําหนดระยะเวลาและรูปแบบของรายการ และการกําหนดหัวขอเรือ่ ง ขอบขายเนือ้ หา คนควา และลงมือเขียน 1. กาํ หนดวตั ถุประสงคและกลุมเปาหมาย สิ่งแรกท่ีควรคํานึงกอนลงมือเขียน คือวัตถุประสงคข องการเขียน วาเขยี นเพื่ออะไร เขียน เพือ่ ใคร ตอ งกําหนดใหแนนอนวา ผูเขียนตองการใหรายการท่ีกาํ หนดใหอะไรแกผ ูชม เชน ใหค วามรู ใหค วามบนั เทิง ปลูกฝงความสํานกึ ท่ดี ีงาม เปน ตน จากนัน้ จงึ ดูกลุมเปาหมาย วา ผเู ขียนตองการผชู มเพศ ใด อยูในชวงอายุ การศึกษา สถานภาพทางสังคม สถานภาพทางเศรษฐกิจแบบใด เปนตน 2. การกําหนดระยะเวลาและรูปแบบของรายการ ผเู ขียนตองรูวาเวลาในรายการมีระยะเวลาเทา ไร เพอ่ื จะไดกาํ หนดรปู แบบของรายการให เหมาะสมกับระยะเวลาของรายการ รูปแบบของรายการสามารถจัดแบงออกไดหลายแบบ ไดแก รายการ

ห น า | 165 ขา ว รายการพดู กบั ผชู ม รายการสมั ภาษณ รายการสนทนา รายการตอบปญหา รายการแขง ขนั รายการ อภิปราย เกม รายการสารคดี รายการปกิณกะ รายการดนตรี และละคร 3. การกําหนดหวั ขอเรอ่ื ง ขอบขายเนอ้ื หา คน ควา และลงมอื เขียน เม่ือทราบเง่ือนไขตางๆ ดังทก่ี ลา วมาในตอนตนแลว จะทําใหผ ูเขยี นกําหนดหัวขอเรื่องและ ขอบขายเนื้อหาไดงายขึ้น จากนั้นจึงเริ่มคนควาเพิม่ เติมเพื่อใหไดขอมูลทีถ่ ูกตองที่สุดแลวจึงลงมือ เขียน โดยคํานึงถึงขอควรคํานึงหลักการเขียนบทวิทยุโทรทัศน 15 ขอที่กลา วมาแลว ขางตน หลงั จากน้ัน ควรตรวจสอบขอเทจ็ จริง สาํ นวน และเขยี นอกี เพื่อพัฒนาบท แกไขปรบั บทวทิ ยุโทรทัศนเ พ่อื ใหไ ดบทวทิ ยุ โทรทัศนท่ีดที สี่ ดุ 3. นกั เขยี นนิทาน เปน เรอ่ื งของจินตนาการ ผูเขียนจะตอ งมศี ลิ ปะในการเขียนเพอ่ื ใหความสนุกสนาน ปลูกฝง คุณธรรม คติแงค ิดมุมมองตา งๆแกผูอา น.. องคประกอบของนทิ าน 1. แนวคดิ แกนสารหรือสาระทจ่ี ุดประกายใหเกิดเร่ืองราว เชน แมก ระตายผรู ักลกู สดุ หวั ใจ ยอมสละชวี ติ ตวั เองเพอ่ื แลกกับลูก หรือ ลูกสค่ี นคิดปลูกฟก ทองยักษใ หแ ม หรือ ลกู ไก 7 ตวั ทย่ี อมตาย ตามแม หรอื โจรใจรา ยชอบทาํ รายผหู ญงิ วนั หนง่ึ กลบั ทํารา ยแมต วั เองโดยไมต ั้งใจ หรือ ลูกหมูสามตัวไมเชื่อแมทําใหเปนเหยื่อของหมาปา 2. โครงเรอ่ื งของนิทาน โครงเร่ืองและเนอื้ หาตองไมซ ับซอน ส้นั ๆ กะทัดรัด เปน ลกั ษณะเร่อื ง เลา ธรรมดา มกี ารลําดับเหตุการณกอนหลัง

166 | ห น า 3. ตวั ละคร ขึ้นอยกู ับจินตนาการของผูเขียน เชน คน สตั ว เทพเจา แมม ด เจา ชาย นางฟา แตไมควรมีตัวละครมากเกินไป 4. ฉาก สถานที่เกิดเหตุ เชน ในปา กระทอมราง ปราสาท บนสวรรค แลวแตความคิดสรางสรรค ของผูเขียน 5. บทสนทนา การพูดคุยของตัวละคร ควรใชภาษาที่เขาใจงาย กระชับ สนกุ สนาน ไมใ ชคาํ หยาบ 6. คติสอนใจ เมือ่ จบนิทาน ผอู า นควรไดแงคิด คตสิ อนใจเพอ่ื เปนการปลกู ฝงคุณธรรมกลอ ม เกลาจติ ใจ สรปุ การท่ีจะเปนนกั เขียนหรือนกั พดู ประเภทใดๆ กต็ าม หวั ใจสําคัญของนักเขียนหรือนักพูดก็ คือ ความรูท่ีนักเขียนหรือนกั พดู ไดถา ยทอดใหก ับผฟู ง หรือผอู า น (ผูรับสาร) ไดเขา ใจในประเด็นหรอื สง่ิ ที่ไดนาํ เสนอ เรอื่ งที่ 3 การเพิ่มพูนความรู และประสบการณทางดานภาษาไทย เพื่อการประกอบอาชพี จากการนําเสนอแนวทางของการนําความรูภาษาไทยไปเปนชองทางในการประกอบอาชีพ ประเภทตา งๆ เชน การพูด การเปน พธิ ีกร ผูป ระกาศ นกั จัดรายการวิทยุ โทรทศั น ครสู อนภาษาไทยกับ ประชาชนอาเซียน การเขยี น นักเขยี นขาว เขยี นบทละคร เขียนนิทาน เขียนสารคดี แลวนัน้ เปน เพยี งจุด ประกายใหผ ูเรียนไดเรียนรวู าการเรยี นวิชาภาษาไทยมใิ ชเ รยี นแลว นําความรไู ปใชใ นชีวติ ประจําวัน เทานั้น แตการเรียนรูวิชาภาษาไทยยังสามารถนําความรูประสบการณทางดานภาษาไทยไปประกอบ อาชีพ สรางรายไดใหกับตนเองไดดวย แตการทีผ่ ูเ รียนจะเปนนักเขียนหรือนักพูดที่มีชือ่ เสียง เปนที่

ห น า | 167 ยอมรับของสังคม ผูเ รียนจะตองแสวงหาความรู ทักษะ ประสบการณเพิม่ เติมจากสถาบันการศึกษาทั้ง ภาครัฐและเอกชน ที่เปนหลักสตู รเฉพาะเรอ่ื ง หรือหากผเู รียนตองการศึกษาหาความรูเพิม่ เติมในระดับ การศึกษาทีส่ ูงข้ึน ก็จะมีสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย เชน คณะนิเทศศาสตร คณะวารสาร ศาสตร ฯลฯ ไดอกี ทางเลือกหนง่ึ หรือในขณะท่ีผูเรียนกาํ ลงั ศึกษาอยใู นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และตองการทีจ่ ะเรียนรูว ิชาภาษาไทย เพือ่ ตอยอดไปสูชองทางการประกอบอาชพี ไดจรงิ ผเู รยี น สามารถเลือกเรยี นวิชาเลอื กตามหลกั สตู รในระดบั เดียวกันท่ีมีเนื้อหาเฉพาะเร่ืองทส่ี นใจไดอ ีกทางเลอื ก หนง่ึ ดว ย นอกจากทีผ่ ูเรียนจะเลือกวิธีการศกึ ษา หาความรูเพม่ิ เติม โดยวิธีศกึ ษาเปนหลกั สตู รสัน้ ๆ เฉพาะเรือ่ ง หรือจะศึกษาตอเฉพาะสาขาวิชาในระดับการศึกษาที่สูงขึ้นก็ตาม แตส่งิ สําคัญที่ผูเ รียน ควร ปฏิบัติอยางตอเนือ่ ง คือการฝกฝนทักษะ ประสบการณในการเขียน หรือการพูดอยางสมาํ่ เสมอ รวมทง้ั มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรกู ับกลมุ คนท่มี ีความสนใจในอาชีพเดียวกนั ดวย กิจกรรมทายบท กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนแสดงความคิดเห็นถึงคุณคาของภาษาไทยวามีอะไรบาง กิจกรรมที่ 2 ใหผ ูเรียนวิเคราะหต นเองวา เปนผูทมี่ คี วามรูความสามารถในการเปนนักพูด หรือนักเขยี น หรือไม เพราะเหตุใด

168 | ห น า กิจกรรมท่ี 3 ใหผเู รียนแสดงความคดิ เห็นวาหากผเู รยี นตองการจะเปนนกั เขียน หรอื นักพดู ที่ดีแลว ผูเรยี น จะศึกษาหาความรู ทักษะ ประสบการณจากที่ใดไดบ า ง และเพราะเหตใุ ดถงึ ตัดสนิ ใจเชน น้นั

ห น า | 169 บรรณานกุ รม การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม ชุดวชิ าภาษาไทย หมวดวชิ าภาษาไทยระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลักเกณฑแ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2544: โรงพมิ พองคก ารคา ของครุ ุสภา 2546 การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ชดุ การเรยี นทางไกลระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หมวดวชิ าภาษาไทย 2546

170 | ห น า หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รายช่ือผูเขา รวมประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาหนงั สอื เรยี นวชิ าภาษาไทย ระหวา งวนั ท่ี 10 – 13 กมุ ภาพันธ 2552 ณ บา นทะเลสคี รีมรีสอรท จงั หวดั สมทุ รสงคราม 1. นางสาวพมิ พใ จ สทิ ธสิ ุรศกั ด์ิ ขา ราชการบาํ นาญ 2. นางพมิ พาพร อินทจกั ร สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 3. นางกานดา ธวิ งศ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 4. นายเรงิ กองแกว สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั นนทบรุ ี รายชอ่ื ผูเขา รว มประชมุ บรรณาธกิ ารหนงั สอื เรยี นวชิ าภาษาไทย ครั้งที่ 1 ระหวา งวันที่ 7 – 10 กนั ยายน 2552 ณ โรงแรมอูท องอนิ น จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 1. นางสาวพมิ พใจ สิทธสิ รุ ศกั ดิ์ ขา ราชการบาํ นาญ 2. นายเรงิ กองแกว สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั นนทบรุ ี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางนพรตั น เวโรจนเ สรวี งศ ครัง้ ท่ี 2 ระหวางวนั ที่ 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอูทองอินน จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 1. นางสาวพมิ พใ จ สิทธสิ รุ ศกั ดิ์ ขา ราชการบาํ นาญ 2. นายเรงิ กองแกว สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั นนทบรุ ี 3. นางนพรตั น เวโรจนเ สรวี งศ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ห น า | 171 ทปี่ รกึ ษา บญุ เรอื ง คณะผูจดั ทํา อ่มิ สุวรรณ 1. นายประเสรฐิ จําป เลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชัยยศ แกว ไทรฮะ รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รนิ ทร ตณั ฑวุฑโฒ รองเลขาธิการ กศน. 4. ดร.ทองอยู ท่ปี รึกษาดา นการพฒั นาหลกั สตู ร กศน. 5. นางรักขณา ผอู าํ นวยการกลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น คณะทํางาน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสุรพงษ มน่ั มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศริญญา กุลประดิษฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วฒั นา ผพู ิมพต นฉบบั 1. นางปย วดี คะเนสม กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางเพชรนิ ทร เหลอื งจติ วฒั นา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพ ิพัฒน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวชาลีนี ธรรมธิษา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 5. นางสาวอรศิ รา บา นชี กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ผอู อกแบบปก ศรรี ัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นายศภุ โชค

172 | ห น า รายช่ือผูเ ขารว มประชุมปฏิบัติการปรับปรุงเอกสารประกอบการใชหลักสูตรและส่ือ ประกอบการเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ระหวา งวนั ที่ 4 – 10 พฤศจกิ ายน 2554 ณ โรงแรมมริ ามา กรงุ เทพมหานคร สาระความรพู น้ื ฐาน (รายวชิ าภาษาไทย) ผูพ ัฒนาและปรบั ปรงุ 1. นางอชั ราภรณ โคว คชาภรณ หนว ยศกึ ษานเิ ทศก ประธาน 2. นางเกลด็ แกว เจริญศักด์ิ หนว ยศกึ ษานเิ ทศก เลขานกุ าร ผชู วยเลขานุการ 3. นางนพรตั น เวโรจนเสรวี งศ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวสมถวลิ ศรจี นั ทรวโิ รจน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางสาววนั วสิ าข ทองเปรม กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook