Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือasian

หนังสือasian

Description: หนังสือasian

Search

Read the Text Version

48 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เศรษฐกจิ อาเซียน รายวชิ า อาเซียนศึกษา 1 เวลา 4 ช่ัวโมง 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เศรษฐกจิ อาเซียน 2. ผลการเรียนรู้ 2.1 อธิบายพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศการพฒั นาทางอุตสาหกรรมและการคา้ ระหวา่ งประเทศได้ 2.2 บอกสกลุ เงิน อตั ราการแลกเปลี่ยนและความเขม้ แขง็ ของสกลุ เงินอาเซียนได้ 2.3 บอกสถานท่ีสาํ คญั และแหล่งท่องเที่ยวในประเทศสมาชิกอาเซียนได้ 2.4 สรุปความรู้เพ่ือนิทรรศการอาเซียนและ Rally ASEAN ได้ 3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด วตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สาํ คญั ประการหน่ึง คือ การเร่งรัดความเจริญเติบโตและกระชบั ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งสมาชิกอาเซียนและนบั ต้งั แต่เริ่มก่อต้งั อาเซียนเป็นตน้ มา อาเซียนไดก้ าํ หนดความร่วมมือในโครงการตา่ งๆ เพ่ือปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตามเป้ าหมายและ วตั ถุประสงค์ แมว้ า่ ในช่วงเกา้ ปี แรกของสมาชิกอาเซียน กิจกรรมทางดา้ นเศรษฐกิจของอาเซียนยงั ไมม่ ากนกั เพราะอาเซียนไดใ้ ชเ้ วลาส่วนใหญพ่ ิจารณาศึกษาลู่ทางและวางโครงสร้างสาํ หรับ ความร่วมมือในเวลาต่อมา 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ การพฒั นาอุตสาหกรรมและการคา้ ระหวา่ ง ประเทศ 4.2 สกุลเงินอตั ราแลกเปลี่ยนและความเขม้ แขง็ ของสกุลเงินอาเซียน 4.3 สถานท่ีสาํ คญั และแหล่งท่องเท่ียวในประเทศสมาชิกอาเซียน 4.4 จดั นิทรรศการอาเซียนและ Rally ASEAN 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ - กระบวนการปฏิบตั ิ - กระบวนการทาํ งานกลุ่ม

49 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่ เรียนรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทาํ งาน 4. มีความรับผดิ ชอบ 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 7.1 ชิ้นงาน/ภาระงานระหว่างจัดการเรียนรู้ 7.1.1 ศึกษาภาพขา่ วจากหนงั สือพมิ พ์ นิตยสารเก่ียวกบั การประกอบอาชีพของ ประชาชนในกลุ่มอาเซียน 1.1.2 ศึกษาจากวดี ิทศั น์ เรื่อง เส้นทางสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.1.3 ศึกษาจาก Power point เรื่อง สกุลเงินประเทศในกลุ่มอาเซียนและสถานท่ี ทอ่ งเที่ยวของกลุ่มประเทศอาเซียน 1.1.4 ทาํ ใบงาน 1.2 ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด 7.2.1 จดั นิทรรศการอาเซียน 7.2.2 จดั กิจกรรม Rally ASEAN 8. การวดั และประเมินผล 8.1 การวดั และประเมินผลระหวา่ งกิจกรรมการเรียนรู้ 8.1.1 ใบงานท่ี 1 เรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 8.1.2 ใบงานท่ี 2 เร่ือง สกุลเงินประเทศในกลุ่มอาเซียน 8.1.3 ใบงานท่ี 3 เร่ือง สถานที่ทอ่ งเที่ยวของกลุ่มประเทศอาเซียน

50 ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) อาเซียนจะรวมตวั เป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในปี 2558 โดยมีเป้ าหมายใหอ้ าเซียนมีตลาดและฐานการผลิต เดียวกนั และมีการเคลื่อนยา้ ยสินคา้ บริการ การลงทุน เงินทุนและแรงงานมีฝีมืออยา่ งเสรี อาเซียน ไดจ้ ดั ทาํ แผนงานการจดั ต้งั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) ซ่ึงเป็นแผนงานบูรณาการการดาํ เนินงานในดา้ นเศรษฐกิจเพือ่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ 4 ดา้ น คือ 1. การเป็ นตลาดและฐานการผลติ รวม โดยจะมีการเคลื่อนยา้ ยสินคา้ บริการ การลงทุนและ แรงงานมีฝีมืออยา่ งเสรีและเคล่ือนยา้ ยเงินทุนอยา่ งเสรีมากข้ึน รวมท้งั การส่งเสริมการรวมกลุ่ม สาระสาํ คญั ของอาเซียนใหเ้ ป็ นรูปธรรม โดยไดก้ าํ หนดเป้ าหมายเวลาท่ีจะค่อยๆ ลดหรือยกเลิก อุปสรรคระหวา่ งกนั เป็นระยะ ท้งั น้ีกาํ หนดเป้ าหมายใหล้ ดภาษีสินคา้ เป็น 0% และลดหรือเลิก มาตรการที่มิใช่ภาษี สาํ หรับประเทศสมาชิกเก่า 6 ประเทศภายในปี 2553 เปิ ดตลาดการบริการและ เปิ ดเสรีการลงทุนภายในปี 2558 และเปิ ดเสรีการลงทุนภายในปี 2553 2. การสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกจิ ของอาเซียน โดยใหค้ วามสาํ คญั กบั ประเด็นดา้ นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแขง่ ขนั การคุม้ ครองผบู้ ริโภค สิทธิในทรัพยส์ ินทางปัญญา พาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ นโยบายภาษี และ การพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐาน การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยสี ารสนเทศและพลงั งาน 3. การพฒั นาเศรษฐกจิ อย่างเสมอภาค ใหม้ ีการพฒั นาวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) และการเสริมสร้างขีดความสามารถผา่ นโครงการตา่ งๆ เช่น ขอ้ ริเริ่มเพื่อการรวมตวั ของ อาเซียนเป็นตน้ เพอ่ื ลดช่องวา่ งการพฒั นาทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศสมาชิก 4. การบูรณาการเข้ากบั เศรษฐกจิ โลก เนน้ การปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียน กบั ประเทศภายนอกภมู ิภาค เพ่ือใหอ้ าเซียนมีท่าทีร่วมกนั อยา่ งชดั เจน เช่น จดั ทาํ เขตการคา้ เสรีของ อาเซียนกบั ประเทศคู่เจรจาต่างๆ เป็นตน้ รวมท้งั ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายในดา้ นการผลิต จาํ หน่าย ภายในภูมิภาคใหเ้ ช่ือมโยงกบั เศรษฐกิจโลก การจดั ทาํ FTA กบั ประเทศนอกภมู ิภาค

51 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) 1. เป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม ปี 2015 2. สร้างเสริมขดี ความสามารถแข่งขัน เคล่ือนยา้ ยสินคา้ เสรี e-ASEAN เคล่ือนยา้ ยบริการอยา่ งเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนยา้ ยการลงทุนอยา่ งเสรี นโยบายการแขง่ ขนั เคลื่อนยา้ ยของแรงงานมีฝีมืออยา่ งเสรี สิทธิทรัพยส์ ินทางปัญญา เคล่ือนยา้ ยเงินทุนอยา่ งเสรีมากข้ึน การคุม้ ครองผบู้ ริโภค พฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐาน 3. การพฒั นาเศรษฐกจิ อย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากบั เศรษฐกจิ โลก ลดช่องวา่ งการพฒั นา ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ ระหวา่ งสมาชิกเก่า-ใหม่ สร้างเครือขา่ ยการผลิต จาํ หน่าย สนบั สนุนการพฒั นา SMEs จดั ทาํ FTA กบั ประเทศนอกภูมิภาค

52 ใบความรู้ที่ 2 เร่ือง อาเซียน+3 , อาเซียน+6 อาเซียน+3 คอื การรวมกลุ่มประเทศสมาชิก 10 ประเทศ ของประชาคมอาเซียนกบั จีน ญี่ป่ ุน สาธารณรัฐเกาหลี  กาเนิดของอาเซียน+3 พฒั นาการของอาเซียน+3 เร่ิมตน้ เมื่อปี พ.ศ. 2540 ช่วงท่ีเกิดวกิ ฤติการณ์การเงินในภูมิภาค เอเชียตะวนั ออก โดยมีการพบหารือระหวา่ งผนู้ าํ ของประเทศสมาชิกอาเซียนและผนู้ าํ ของจีน ญ่ีป่ ุน และสาธารณรัฐเกาหลี ท่ีกรุงกวั ลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือน ธนั วาคม 2540 ต่อจากน้นั ได้ จดั ประชุมทุกปี - พ.ศ. 2542 จดั ต้งั East Asia Vision Group (EAVG) เพื่อวางวสิ ัยทศั นค์ วามร่วมมือระหวา่ งกนั และเสนอแนวคิดการจดั ต้งั ประชาคมอาเซียนตะวนั ออก (East Asia Community : EAc) - พ.ศ. 2548 อาเซียน+3 ท่ีกรุงกวั ลาลมั เปอร์ ไดม้ ีการลงนามในปฏิญญากวั ลาลมั เปอร์ กาํ หนดใหจ้ ดั ต้งั ประชาคมอาเซียนตะวนั ออก - 24 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ประเทศไทยเป็นเจา้ ภาพการประชุมสุดยอดผนู้ าํ อาเซียน+3 คร้ังท่ี 12 เพื่อลงนามรับรองแถลงการณ์ ท่ีชะอาํ ,หวั หิน วา่ ดว้ ยความมนั่ คงดา้ นอาหารและการพฒั นา พลงั งานชีวภาพ รวมถึงการจดั ต้งั ระบบสาํ รองขา้ วฉุกเฉินอาเซียน+3 และสนบั สนุนให้ ประเทศไทยเป็นผจู้ ดั ต้งั กลไกความร่วมมือดา้ นการศึกษา - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ไดอ้ อกแถลงขา่ ววา่ ดา้ ยความร่วมมืออาเซียน+3 เพ่ือรับวกิ ฤติเศรษฐกิจ การเงินโลก ในปัจจุบนั มีความร่วมมือโดยการจดั ต้งั กองทุนสาํ รองพหุภาคีภายใตม้ าตรการ ริเริ่มเชียงใหม่มีวงเงิน 1.2 แสนลา้ นดอลลาร์สหรัฐ มีจุดประสงคเ์ พอื่ เป็ นกลไกช่วยรักษา เสถียรภาพทางการเงินในภูมิภาค เพ่อื วเิ คราะห์และติดตามสภาวะเศรษฐกิจในภมู ิภาค

53  อาเซียน+6 ประกอบดว้ ยประเทศสมาชิกอาเซียน + จีน เกาหลีใต้ ญ่ีป่ ุน ออสเตรเลีย นิวซีแลนดแ์ ละอินเดีย เป็ นการรวมกลุ่มทางการคา้ อยา่ งใกลช้ ิดโดยสนบั สนุนการขยายการคา้ ระหวา่ งกนั ร่วมมือและลดอุปสรรคทางการคา้ หลีกเล่ียงการนาํ มาตรการกีดกนั ทางการคา้ ใหมๆ่ ออกมาใช้ ประกอบกบั นโยบายดา้ นการเงินและการคลงั ที่ประเทศต่างๆ ใชก้ ระตุน้ เศรษฐกิจและ การบริโภคในประเทศ เพื่อก่อใหเ้ กิดความตา้ นทานผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย และ สามารถพยงุ เศรษฐกิจใหเ้ ขา้ สู่ภาวะปกติได้ เป็นการพฒั นาความร่วมมือทางการคา้ และการลงทุนของอาเซียน+6 ท่ีจะนาํ ไปสู่การจดั ทาํ ขอ้ ตกลง FTA โดยการเปิ ดเสรีทางการคา้ ภาบริการและการลงทุนของอาเซียนทาํ ใหผ้ สู้ ่งออกของ ไทยไดร้ ับสิทธิประโยชน์ในดา้ นภาษี ทาํ ใหไ้ ทยเกิดการขยายตวั ในดา้ นการส่งออกสินคา้ เช่น ขา้ ว อญั มณี ยานยนตแ์ ละชิ้นส่วนไปยงั ประเทศคู่คา้ มากข้ึน

54 ใบงานที่ 1 เรื่อง ประชาคมอาเซียน คาชี้แจง นกั เรียนอธิบายกิจกรรมเศรษฐกิจของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศ..................................................................... ประเทศ .................................................................... อาชีพ ........................................................................ อาชีพ ........................................................................ สินคา้ ส่งออก ............................................................ สินคา้ ส่งออก ............................................................ ประเทศ..................................................................... ประเทศ..................................................................... อาชีพ ........................................................................ อาชีพ ........................................................................ สินคา้ ส่งออก ............................................................ สินคา้ ส่งออก ............................................................ ประเทศ......................................................................... อาชีพ ........................................................................... สินคา้ ส่งออก ...............................................................

55 อาเซียน+3  ประเทศ..................................................................... ประเทศ..................................................................... สินคา้ ส่งออก ............................................................ สินคา้ ส่งออก ............................................................ ประเทศ..................................................................... สินคา้ ส่งออก ............................................................ อาเซียน+6  ประเทศ..................................................................... ประเทศ..................................................................... สินคา้ ส่งออก ............................................................ สินคา้ ส่งออก ............................................................ ประเทศ..............ใ..บ..ง..า.น...ท..ี่.2.......................................... สินคา้ ส่งออก ............................................................

56 คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนศึกษาคน้ ควา้ จาํ นวนประชากรของประเทศในกล่มุ อาเซียน และจดั ทาํ กราฟเปรียบเทียบ จาํ นวนประชากร ประเทศ บรูไน กมั พชู า อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร์ ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ ไทย เวยี ดนาม ดารุสซาลาม จาํ นวน ประชากร ท่ีมาของขอ้ มลู ……………………………………… 2. .ใหน้ กั เรียนศึกษาคน้ ควา้ จาํ นวนประชากรของประเทศท่ีเขา้ มาร่วมมือกบั ประเทศในกล่มุ อาเซียน 2.1 อาชีพ + 3 ……………………………………………………………………………… 2.2 อาชีพ + 6 ........................................................................................................................ 3. เปรียบเทียบสดั ส่วนของประชากรของอาเซียน + 6 กบั ประชากรของโลก โดยนาํ เสนอเป็นกราฟ

57 ใบความรู้ท่ี 2 เรื่อง สกลุ เงนิ ของประเทศในกล่มุ อาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนศึกษาตารางค่าเงินสกุลตา่ งๆในกลุ่มสมาชิกอาเซียนวา่ มีชื่อเรียกอยา่ งไรบา้ ง ประเทศ สกุลเงนิ เปรียบเทยี บกบั ค่าเงนิ บาท สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เงินกีบ (Kip) อตั ราแลกเปลี่ยนอยทู่ ่ี 276 กีบ : 1 บาท The Loa People’s Democratic Republic เงินเรียล (Riel : KHR) อตั ราแลกเปลี่ยนอยทู่ ่ี 100 เรียล : 1 บาท ราชอาณาจกั รกมั พชู า Kingdom of Cambodia ริงกิตมาเลย์ อตั ราแลกเปล่ียนอยทู่ ่ี 1 ริงกิต : 10 บาท (Malaysian Riggit : MYR) อตั ราแลกเปล่ียนอยทู่ ่ี มาเลเซีย Malaysia ดอลลาห์บรูไน 1 ดอลลาร์บรูไน : 23 บาท บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Dollar : BND ) อตั ราแลกเปลี่ยนอยทู่ ่ี Brunei Darussalam สาธารณรัฐสิงคโปร์ ดอลลาห์สิงคโปร์ 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ : 23 บาท Republic of Singapore (Singapore Dollar : SGD) อตั ราแลกเปล่ียนอยทู่ ่ี 1 เปโซ : 0.75 บาท สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ Republic of the Philippines เงินเปโซ อตั ราแลกเปลี่ยนอยทู่ ี่ 461 ด่อง : 1 บาท สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม (Peso : PHP) The Socialist Republic of Vietnam อตั ราแลกเปลี่ยนอยทู่ ่ี 25 จา๊ ด : 1 บาท ประเทศเมียนมาร์ ด่อง ( Dong : VND ) The Union of Mynmar อตั ราแลกเปล่ียนอยทู่ ่ี 1,000 รูเปี ยห์ : 2.87 บาท สาธารณรัฐอินโดนีเซีย จา๊ ด (Kyat : MMK) Republik Indonesia รูเปี ยห์ (Rupiah : IDP)

58 ตัวอย่างธนบัตรของชาตติ ่างๆ ในอาเซียน กีบ เป็ นสกลุ เงินของประเทศลาว เรียล เป็ นสกลุ เงินของประเทศกมั พชู า ริงกิตมาเลเซีย เป็ นเงินสกลุ ประจาํ ชาติของประเทศมาเลเซีย ดอลลาร์บรูไน เป็นสกลุ เงินของประเทศบรูไน ดอลลาร์สิงคโปร์ เป็ นสกลุ เงินของประเทศสิงคโปร์ เปโซ เป็นสกลุ เงินของประเทศฟิลิปปิ นส์ ด่อง เป็นสกลุ เงินของประเทศเวยี ดนาม จ๊าด เป็นสกลุ เงินของประเทศเมียนมาร์ รูเปี ยห์ เป็ นสกลุ เงินของประเทศอินโดนีเซีย เงินบาท เป็นสกลุ เงินของประเทศไทย

59 ใบงานท่ี 2 เรื่อง สกลุ เงินของประเทศในกล่มุ อาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเปรียบเทียบสกลุ เงินของในกลุ่มอาเซียน 1. ในงานมหกรรมสินคา้ อาเซียนแฟร์คร้ังท่ี 1 ทุกๆ ประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนไดน้ าํ สินคา้ ของแตล่ ะชาติมาจาํ หน่ายในประเทศไทย ดวงมณีสาวนอ้ ยขาชอ้ ปปิ้ งไดซ้ ้ือสินคา้ ตา่ งๆ มากมายในงานน้ี นกั เรียนช่วยกนั คาํ นวณเงินท่ีดวงมณีไดใ้ ชจ้ า่ ยเงินเป็นจาํ นวนเทา่ ใด รายการซื้อ ราคา กระเป๋ าจากมาเลย์ 150 ริงกิต กางเกงยนี ส์จากสิงคโปร์ 100 ดอลลาร์สิงคโปร์ ชา้ งแกะสลกั ไมจ้ ากกมั พชู า 3,000 เรียล แหนมเนืองจากเวยี ดนาม 13,830 ด่อง รวมเงนิ ท้งั สิ้น ........................... บาท 2. ปิ ดเรียนภาคฤดูร้อนน้ีญาญา่ เกบ็ เงินเพอ่ื ท่ีจะไปเที่ยวต่างประเทศได้ 30,000 บาท ญาญ่าตอ้ งการไปเที่ยวประเทศมาเลเซีย สกั 3 วนั ญาญา่ จะตอ้ งแลกเงินจากเงินบาทไทยเป็นเงิน ริงกิตมาเลย์ ญาญา่ มีเงิน 30,000 บาท แลกเป็นเงินริงกิตมาเลย์ ไดก้ ่ีริงกิต ตอบ ............................................................................................................ 3. นกั เรียนคิดวา่ ประเทศใดบา้ งท่ีค่าเงินแขง็ กวา่ ประเทศไทย ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. นกั เรียนคิดวา่ ประเทศใดที่มีคา่ เงินอ่อนที่สุดในอาเซียน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 5. นกั เรียนคิดวา่ ประเทศใดในอาเซียนมีค่าเงินใกลเ้ คียงกบั ประเทศไทย ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 6. นกั เรียนคิดวา่ ในอนาคตอาเซียนจะใชเ้ งินสกลุ เดียวกนั เหมือนประเทศในกลุ่มยโุ รปท่ีใช้ เงินยไู ร หรือไม่ เพราะเหตุใด ........................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………….

60 ใบความรู้ท่ี 3 เรื่อง สถานทส่ี าคญั และแหล่งท่องเทย่ี วในประเทศสมาชิกอาเซียน 1. ราชอาณาจักรไทย พระบรมมหาราชวงั พระปฐมเจดีย์ พทั ยา หาดป่ าตอง พระท่ีนงั่ วมิ านเมฆ พระพุทธรูปทองคาํ วดั ไตรมิตร วทิ ยาราม

61 วดั สระเกศ วดั เบญจมบพติ ร วดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม 2. สาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย ศาสนสถานบุโรพทุ โธ เทมภคั สิริสค์ (น้าํ พุศกั ด์ิสิทธ์ิ) เกาะบาหลี

62 3. มาเลเซีย ตึกเปโตรนาส ตึกแฝดท่ีสูงท่ีสุดในโลก จตั ุรัสเมอร์เดกา้ ,มสั ยดิ แห่งชาติ เกาะลงั กาวี อุทยานแห่งชาติกีนาบาลู 4. สาธารณรัฐฟิ ลปิ ปิ นส์ ป้ อมซานติเอโก โบสถซ์ าน อากสุ ติน นาข้นั บนั ได แห่ง เทือกเขาฟิ ลิปปิ นส์

63 5. สาธารณรัฐสิงคโปร์ อาคารโรงละคร Esplanade สวนนกจูร่ง ไนทซ์ าฟารีสวนสตั วส์ ิงคโปร์ 6. บรูไนดารุสซาลาม พระราชวงั อีสตานา มสั ยดิ ทองคาํ Jame Ar' Hassanil Bolkiah Mosque

64 7. ประเทศเมยี นมาร์ พระเจดียช์ เวดากอง พระพุทธไสยาสนเ์ ชาตาจี 8. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม พระราชวงั เดิม หมู่บา้ นโบราณเมืองเว้ สถานที่ศกั ด์ิสิทธ์ิหมี่เซิน อา่ วฮาลอง

65 9. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พระธาตุหลวงเวยี งจนั ทน์ ปราสาทวดั ภู วดั เชียงทอง เมืองหลวงพระบาง วงั เวยี ง 10. ราชอาณาจักรกมั พูชา เมืองพระนครองั กอร์ เขาพระวหิ าร นครวดั นครธม

66 ใบงานท่ี 3 เรื่อง สถานทท่ี ่องเทยี่ วของกล่มุ ประเทศอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมช่ือสถานที่ท่องเท่ียวของกลุ่มประเทศอาเซียนใตภ้ าพและช่ือประเทศ ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศสิงคโปร์ ....................................................... ....................................................... ....................................................... ประเทศเวยี ดนาม ประเทศกมั พชู า ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ....................................................... ....................................................... ....................................................... ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศกมั พชู า ....................................................... ....................................................... ....................................................... ประเทศกมั พชู า ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ประเทศเมียนมาร์ ....................................................... ....................................................... .......................................................

67 ใบงานท่ี 4 เร่ืองสถานท่ีท่องเทยี่ วของกลุ่มประเทศอาเซียน คาชี้แจงใหน้ กั เรียนคน้ หาประวตั ิและความสาํ คญั ของสถานที่ท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียนมา อยา่ งนอ้ ยประเทศละ 1 แห่ง โดยเลือกจากสถานที่ที่ปรากฏในใบความรู้ที่ 3 1. ………………………………………... 6. …………………………………………. …………………………………………... …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 2. ………………………………………… 7. ………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 3. ………………………………………… 8. ………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… ……………………….............................. …………………………………………… …………………………………………… 4. ……………………………………….. 9. ………………………………………… ………………………………………….. …………………………………………… ………………………………………….. …………………………………………… ………………………………………….. …………………………………………… 5. ……………………………………….. 10. ……………………………………… …………………………………………. ………………………………………….. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. ………………………………………….

68 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเมอื งการปกครองของประเทศสมาชิกกล่มุ อาเซียน รายวชิ า อาเซียนศึกษา 1 เวลา 4 ชั่วโมง 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ การเมอื งการปกครองของประเทศสมาชิกใน กลุ่มอาเซียน 2. ผลการเรียนรู้ 2.1 วเิ คราะห์สภาพทวั่ ไปทางการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ 2.2 เปรียบเทียบลกั ษณะการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ 2.3 วเิ คราะห์ขา่ วเหตุการณ์ปัจจุบนั ของกลุ่มประเทศอาเซียนได้ 2.4 นาํ ขอ้ มลู ความรู้ เรื่อง อาเซียนท่ีสืบคน้ มาเขียนความเรียงช้นั สูงได้ 3. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ระบบการเมืองการปกครองในปัจจุบนั ของรัฐต่างๆ น้นั มีความแตกตา่ งกนั ตาม ความเหมาะสม และความตอ้ งการของแตล่ ะรัฐ ซ่ึงในการแยกระบบการเมืองการปกครองออกเป็น ประเภทตา่ งๆ ตอ้ งพจิ ารณาจากประเภทของคนที่ใชอ้ าํ นาจในการปกครองจาํ นวนคนมากนอ้ ย เท่าใด และสถาบนั การปกครองที่ใชอ้ าํ นาจในการปกครองน้นั เป็นสถาบนั ใดและความแตกต่างกนั ของแต่ละประเทศ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 การเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียน 4.2 เปรียบเทียบลกั ษณะการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียน 4.3 วเิ คราะห์ข่าวเหตุการณ์ปัจจุบนั ของกลุ่มประเทศอาเซียน 4.4 เขียนความเรียงเชิงวชิ าการ เร่ือง การเรียนรู้อาเซียน 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ - ทกั ษะการคิดแกป้ ัญหา 5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ - กระบวนการปฏิบตั ิ - กระบวนการทาํ งานกลุ่ม

69 5.4 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - กระบวนการสืบคน้ ขอ้ มลู 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 มีวนิ ยั 6.2 ใฝ่ เรียนรู้ 6.3 มุ่งมน่ั ในการทาํ งาน 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 7.1 ชิ้นงาน/ภาระงานระหว่างจัดกจิ กรรมเรียนรู้ 7.1.1 ศึกษาจากใบความรู้ 7.1.2 ทาํ ใบงาน 7.2 ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด - การนาํ ความรู้ที่ไดร้ ับจากอาเซียนศึกษา เขียนความเรียงเชิงวชิ าการ - การวเิ คราะห์ข่าวเหตุการณ์ปัจจุบนั ของกลุ่มประเทศอาเซียน 8. การวดั และประเมินผล การวดั และประเมินผลระหวา่ งจดั การเรียนรู้ ใบงานที่ 1 เรื่อง การเมืองการปกครองของรัฐตา่ งๆ ในสังคมโลก ใบงานที่ 2 เรื่อง การเปรียบเทียบการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนในปัจจุบนั ใบงานที่ 3 เรื่อง การคิดวเิ คราะห์ขา่ วเหตุการณ์ปัจจุบนั ของกลุ่มประเทศอาเซียน ใบงานที่ 4 เรื่อง ความเรียงเชิงวชิ าการ เรื่อง อาเซียนศึกษา

70 ใบความรู้ ที่ 1 เร่ือง ระบบการเมืองการปกครองของรัฐต่างๆ ในสังคมโลก ประเภทของระบบการเมืองการปกครองในปัจจุบนั ของรัฐต่างน้นั มีความแตกต่างกนั ตาม ความเหมาะสมและความตอ้ งการของแต่ละรัฐ ซ่ึงในการแยกแยะระบบการเมืองการปกครองออกเป็น ประเภทต่างๆ น้นั ตอ้ งพิจารณาจากประเภทของคนท่ีใชอ้ าํ นาจในการปกครอง , จาํ นวนคนมากนอ้ ย เท่าใด และสถาบนั การปกครองท่ีใชอ้ าํ นาจในการปกครองน้นั เป็นสถาบนั ใด 1. ผ้เู ป็ นเจ้าของอานาจอธิปไตย แบ่งไดด้ งั น้ี คนเดยี ว คนส่ วนน้ อย คนส่ วนมาก 1. สมบูรณาญาสิทธิราชย์ 1. อภิชนาธิปไตย 1. ประชาธิปไตย กษตั ริยเ์ ป็นผมู้ ีอาํ นาจเดด็ ขาด ในการปกครองแต่เพียงผเู้ ดียว ปกครองโดยคนส่วนนอ้ ยท่ีมี ปกครองโดยคนส่วนมากเพ่ือ 2. เผดจ็ การ ฐานะสูงกวา่ คนทว่ั ไปท้งั ประโยชนข์ องคนส่วนมาก ผเู้ ผดจ็ การมีอาํ นาจเดด็ ขาด เช่นเดียวกบั กษตั ริย์ ความรู้ ชาติตระกลู ทรัพยส์ ิน ประชาชนเป็นผใู้ ชอ้ าํ นาจ 2. คณาธิปไตย อธิปไตย โดยการใชส้ ิทธิ ปกครองโดยคนส่วนนอ้ ยเพื่อ เลือกต้งั ผแู้ ทนของตนเขา้ ไป ผลประโยชนข์ องกลุ่มตนที่ บริหารประเทศ ดงั คาํ กล่าว เป็นชนช้นั กลาง ของอบั ราฮมั ลิงคอร์นท่ีวา่ 3. คอมมวิ นิสต์ “การปกครองแบบ ปกครองโดยพรรค ประชาธิปไตย เป็ นการ คอมมิวนิสตก์ ลุ่มผปู้ กครอง ปกครองของประชาชน เป็นผกู้ าํ หนดแบบแผนควบคุม โดยประชาชนเพอื่ ประชาชน” การดาํ เนินชีวิตของประชาชน 2. สถาบันการปกครอง เม่ือพิจารณาจากสถาบนั ที่ใชอ้ าํ นาจอธิปไตยในการปกครองแลว้ ระบบ การเมืองการปกครองน้นั จาํ แนกออกเป็น 3 ประเภท คือ รัฐสภา ประธานาธิบดี กงึ่ ประธานาธิบดกี ่งึ รัฐสภา รัฐสภา ประธานาธิบดี กงึ่ ประธานาธิบดกี งึ่ รัฐสภา (มีข้ึนคร้ัง 1. รัฐสภาเป็นฝ่ ายนิติบญั ญตั ิมี 1. ใชห้ ลกั การปกครองแบบ แรกท่ีประเทศฝรั่งเศสหลงั สงครามโลก ท่ี 2) ฐานะอาํ นาจ และมีความสาํ คญั แยกอาํ นาจระหวา่ ง 1. ประธานาธิบดีเป็นประมุขของชาติ เหนือกวา่ คณะรัฐมนตรี ฝ่ ายนิติบญั ญตั ิ(รัฐสภา) 2. การทาํ งานของคณะรัฐมนตรี ฝ่ ายบริหาร ประมุขฝ่ ายบริหาร ดาํ รงตาํ แหน่งได้ ตอ้ งไดร้ ับความไวว้ างใจจาก (ประธานาธิบดี) จนครบวาระ จากรัฐสภา ฝ่ ายตุลาการ(ศาล) 2. นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีมี 3. รัฐสภาสามารถเปิ ดอภิปราย 2. รัฐสภาและ ส่วนร่วมในการบริหารและตอ้ ง และลงมติเสียงขา้ งมาก ประธานาธิบดีน้นั ไดร้ ับ เลือกจากประชาชน

71 โดยตรง

72 รัฐสภา ประธานาธิบดี กง่ึ ประธานาธิบดกี ่ึงรัฐสภา ถา้ ไมไ่ วว้ างใจกไ็ ม่สามารถ ทาํ งานต่อได้ 3. ประธานาธิบดีแต่งต้งั รับผดิ ชอบต่อรัฐสภา 4. ฝ่ ายบริหารไม่มีความสะดวก ในการบริหารงานสามารถยบุ คณะรัฐมนตรี , ผพู้ ิพากษาศาล 3. รัฐสภามีอาํ นาจนิติบญั ญตั ิ สภาได้ สูงสุด ควบคุมการบริหารงานของ 4. รัฐสภามอี านาจยบั ย้งั อาํ นาจ รัฐบาลโดยเปิ ดอภิปรายและ ประธานาธิบดีการดาํ เนินการ ลงมติเสียงส่วนมากในการ ของประธานาธิบดีน้นั รัฐสภา ไวว้ างใจหรือไม่ไวว้ างใจให้ ตอ้ งใหค้ วามยินยอม ทาํ งานต่อ 5. ประธานาธิบดถี ่วงดลุ อานาจ 4. ถา้ มติรัฐสภาไมไ่ วว้ างใจคณะ รัฐสภาได้โดย ไม่ลงนามยบั ย้งั รัฐบาลตอ้ งลาออกแต่ กฎหมายท่ีออกโดยรัฐสภา ประธานาธิบดีอยตู่ ่อจนครบ 6. ศาลถ่วงดุลอานาจ วาระ ประธานาธิบดแี ละรัฐสภาโดย มีอิสระในการพิพากษาคดี ต่างๆ และสามารถยกเลิกคาํ สง่ั ของประธานาธิบดี หรือ ยกเลิกกฎหมายท่ีออกโดย รัฐสภา 7. รัฐสภาไม่อาจบงั คบั ให้ ประธานาธิบดีออกจาก ตาํ แหน่งก่อนครบวาระ และ ประธานาธิบดีไมอ่ าจยบุ สภา ไดเ้ ช่นกนั 3. ระบอบการเมอื งการปกครองที่สาคญั รูปแบบของการเมืองการปกครองน้นั มีความแตกต่างกนั ในส่วนของผทู้ ี่ใชอ้ าํ นาจอธิปไตย ในการปกครองและการมีสถาบนั การปกครอง โดยทวั่ ไปกลา่ วไดว้ า่ ระบบการเมืองการปกครองท่ีปรากฏ ในโลกน้ีมี 2 ระบอบดว้ ยกนั คือ ประชาธิปไตย เผดจ็ การ การปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย การปกครองแบบระบอบเผดจ็ การ ประชาชนเป็นเจา้ ของอาํ นาจอธิปไตย โดยยดึ หลกั ดงั น้ี ใหค้ วามสาํ คญั กบั อาํ นาจรัฐและผปู้ กครอง และถือ 1. ความเสมอภาค วา่ ผลประโยชน์ , เกียรติภมู ิของรัฐ/ผปู้ กครอง อยู่ 2. สิทธิ เสรีภาพ หนา้ ท่ี เหนือเสรีภาพของประชาชน แบ่งเป็น 2 รูปแบบ

73 ประชาธิปไตย เผดจ็ การ 3. นิติธรรม 4. การยอมรับเสียงขา้ งมาก 1. เผดจ็ การอานาจนยิ ม 5. อาํ นาจอธิปไตยเป็นของประชาชน 1) ควบคุมกิจกรรมทางการเมืองของบุคคล 6. การใชเ้ หตุผล 2) ไม่ควบคุมสถาบนั และองคก์ รทางสงั คม เช่น ครอบครัว ศาสนา การศึกษา 3) ประชาชนมีหนา้ ที่ตอ้ งเคารพเชื่อฟังคาํ สง่ั ของรัฐหรือผปู้ กครองอยา่ งเคร่งครัด ไมข่ ดั ขวางนโยบายทางการเมืองของรัฐ เนน้ การแสดงออกท่ีเป็นความจงรักภกั ดี 2. เผดจ็ การเบด็ เสร็จนยิ ม 1) ควบคุมกิจกรรมของบุคคลท้งั ส่วนที่เป็น การเมือง และส่วนที่ไมใ่ ช่การเมือง 2) องคก์ รสถาบนั ทางสงั คมตอ้ งอยภู่ ายใตก้ าร ควบคุมของรัฐ 3) ประชาชนตอ้ งปฏิบตั ิตามคาํ สงั่ ของรัฐอยา่ ง ไมจ่ าํ กดั โดยอา้ งวา่ เพ่ือความเจริญและความ มนั่ คงของชาติ ตารางเปรียบเทียบระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยกบั เผดจ็ การ หัวข้อ ประชาธิปไตย เผดจ็ การ 1. อาํ นาจอธิปไตย 1. เป็นของประชาชน 1. เป็นของผนู้ าํ หรือกลุ่มบุคคล 2. การมีส่วนร่วมทางการ 2. ใหส้ ิทธิเสรีภาพทาง 2. ปิ ดก้นั สิทธิเสรีภาพทาง การเมืองของประชาชน การเมือง การเมือง 3. ลกั ษณะการปกครอง 3. ยดึ เสียงขา้ งมาก 3. ยึดแนวความคิดของผปู้ กครอง 4. พรรคการเมือง 4. มีพรรคการเมืองหลายพรรค 4. มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว 5. ระบบเศรษฐกิจ 5. ใชแ้ นวคิดทุนนิยม 5. ใชแ้ นวคิดสงั คมนิยม

74

75 ใบงานที่ 1 เร่ือง ระบบการเมอื งการปกครองของรัฐต่างๆ ในสังคมโลก คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนนาํ คาํ ต่อไปน้ีไปเติมลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง การปกครองแบบประชาธิปไตย การปกครองแบบเผดจ็ การ การปกครองแบบอภิชนาธิปไตย การปกครองแบบคณาธิปไตย การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ 1. ………………………. 2. ………………………. เป็ นการปกครองของคนส่วน ปกครองเพ่อื ผลประโยชนข์ อง นอ้ ยที่มีฐานะสูงกวา่ คนทว่ั ไปใน กลุ่มตน และเป็ นพวกที่ไมม่ ีความ สงั คม เช่น มีความรู้ มีชาติ เหนือกวา่ ทางสงั คมท้งั ทางดา้ น ตระกลู มีทรัพยส์ ิน ความรู้ ชาติตระกลู ทรัพยส์ ิน 3. ………………………. 4. ………………………. การปกครองของประชาชน การปกครองท่ียกยอ่ งและให้ อาํ นาจอธิปไตยเป็ นของประชาชน ความสาํ คญั กบั อาํ นาจรัฐและ โดยการเลือกต้งั สมาชิก ผปู้ กครอง(คนเดียวหรือหลายคน) ผแู้ ทนราษฎรเขา้ ไปบริหารประเทศ และถือวา่ ผลประโยชน์ เกียรติภมู ิ เม่ือประชาชนไม่พอใจในการ ของรัฐ/ผปู้ กครองอยเู่ หนือเสรีภาพ บริหารประเทศก็สามารถเรียก ของประชาชน อาํ นาจกลบั คนื มาได้ เป็ นการ ปกครองโดนคนส่วนมาก 6. ……………………………... กษตั ริยเ์ ป็นผทู้ ี่มีอาํ นาจ 5. ………………………. เป็ นการปกครองของพรรค เดด็ ขาดในการปกครองแต่เพียง ผเู้ ดียวสืบทอดตาํ แหน่งโดยการ การเมืองเพยี งพรรคเดียวท่ีปกครอง สืบสนั ตติวงศต์ ามคติความเช่ือ ประเทศกลุม่ ผปู้ กครองจะเป็นผทู้ ่ี ในลทั ธิเทวราชา อาํ นาจและการ ถือครองอาํ นาจและกาํ หนดแบบ ปกครองของกษตั ริยจ์ ึงศกั ด์ิสิทธิ แผนทางการเมืองการปกครอง และละเมิดไม่ได้ เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม และ วถิ ีการดาํ เนินชีวติ ของประชาชน โดยการควบคุมท่ีเขม้ งวดเด็ดขาด

76 ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การเปรียบเทยี บการเมอื งการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนในปัจจุบัน ช่ือประเทศ ลกั ษณะการเมอื งการปกครอง ผ้นู า เมอื งหลวง 1. ประเทศเมยี นมาร์ เนปิ ดอร์ การปกครองแบบเผดจ็ การทหารภายใต้ ประธานาธิบดี (Union of Myanmar) รัฐธรรมนูญ 1. ไดร้ ับเอกราชจากองั กฤษเมื่อ พ.ศ.2491 ผนู้ าํ ทางปกครอง 2. ในปี พ.ศ.2531 ไดเ้ กิดเหตุจลาจลภายในฝ่ าย ท่ีมีอาํ นาจเดด็ ขาด ทหารจึงปราบปรามประชาชนและยึดอาํ นาจ การปกครองจนถึงปัจจุบนั 3. พ.ศ.2532เปล่ียนชื่อจากประเทศเมียนมาร์มา 2. ราชอาณาจกั รไทย เป็นเมยี นมาร์ นายกรัฐมนตรี กรุงเทพมหานครฯ (Kingdom of Thailand) 4. พ.ศ.2533 มีการเลือกต้งั และนางอองซาน ซูจีจากพรรคการเมือง NLD(Nationl League for Democracy)ไดร้ ับชยั ชนะแต่ไมส่ ามรถ จดั การปกครองไดจ้ ึงทาํ ใหเ้ มียนมาร์มีการ ปกครองแบบเผดจ็ การทหาร การปกครองแบบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริย์เป็ นประมุข 1. ไดเ้ ปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบรู ณาญาสิทธิราชยเ์ ป็นประชาธิปไตย เม่ือ 24 มิถุนายน 2475 2. พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ได้ พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั ร ไทยฉบบั ถาวรเมื่อ 10 ธนั วาคม 2475 3. ปัจจุบนั ราชอาณาจกั รไทยมีการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2550 (ฉบบั ที่ 18) 3.สาธารณรัฐ การปกครองแบบเผดจ็ การคอมมวิ นิสต์ ประธานประเทศ นครหลวงเวยี ง จนั ทร์ ประชาธิปไตยประชาชน (แบบเบ็ดเสร็จนิยม) ลาว 1. ไดร้ ับเอราชจากฝรง่ั เศสเมื่อ พ.ศ.2496 ตอ่ มา นายกรัฐมนตรี (Lao People's Democratic เกิดความวนุ่ วายขดั แยง้ ภายในกลายเป็ น Republic) สงครามกลางเมือง 2. พ.ศ.2518 พรรคคอมมิวนิสตไ์ ดร้ ับชยั ชนะ ปกครองแบบคอมมิวนิสต์

77 ชื่อประเทศ ลกั ษณะการเมอื งการปกครอง ผ้นู า เมอื งหลวง 4.สาธารณะรัฐสังคม กรุงฮานอย นยิ มเวยี ดนาม 3. หลงั ปี พ.ศ.2529 สถานการณ์ทางการเมือง (Socialist Republic of กรุงพนมเปญ Vietnam) การปกครองไดผ้ อ่ นคลายเปิ ดประเทศโดย 5. ราชอาณาจกั รกมั พชู า ใชน้ โยบายจนิ ตนาการใหม่ (Kingdom of Cambodia) การปกครองแบบเดจ็ การคอมมิวนิสต์(แบบ ประธานาธิบดี เบด็ เสร็จนิยม) 1. โฮจิมินหป์ ระกาศเอกราชจากฝร่ังเศสใหแ้ ก่ นายกรัฐมนตรี เวยี ดนามเม่ือ 2 กนั ยาน พ.ศ.2488 2. ในปี เดียวกนั น้นั ฝร่ังเศสตอ้ งการยดึ ครอง เวียดนามเหนือ สงครามเดียนเบยี นฟู 3. พ.ศ.2497 ฝรั่งเศสแพส้ งครามแต่ในการลง นามในสนธิสญั ญาเจนีวา ทาํ ใหเ้ วยี ดนามถกู แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือเวยี ดนามเหนือ ปกครองแบบเผดจ็ การคอมมิวนิสต์ เมืองหลวง คือ กรุงฮานอย ผนู้ าํ คือนาย โฮจิมินห์ เวยี ดนามใต้ มีนายโงดินห์เดียม เป็นผนู้ าํ สถาปนาสาธารณรัฐเวียดนาม เมืองหลวง คือ กรุงไซ่ง่อน และมีอเมริกา สนบั สนุน 4. พ.ศ.2518 เวียดนามเหนือรวมกบั เวยี ดนาม ใตไ้ ดส้ าํ เร็จภายใตก้ ารปกครองดว้ ยระบอบ คอมมิวนิสต์ การปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้ พระมหากษตั ริย์ รัฐธรรมนูญ (แต่ตามสภาพจริงอาํ นาจการปกครองอยใู่ น นายกรัฐมนตรี ระบบเผดจ็ การภายใตอ้ าํ นาจ นายฮุน เซน) 1. ไดร้ ับเอกราชจากฝรั่งเศสเม่ือ พ.ศ.2496 โดยมีเจา้ นโรดมสีหนุเป็นประมุข 2. พ.ศ.2513 เกิดความขดั แยง้ นาํ ไปสู่สงคราม กลางเมืองทาํ ใหป้ ระชาชนตอ้ งดาํ รงชีวติ อยู่ ในภาวะสงครามตลอด 3. พ.ศ.2518 กองกาํ ลงั เขมรแดงนาํ โดยพอลพต

78 ช่ือประเทศ ลกั ษณะการเมอื งการปกครอง ผ้นู า เมอื งหลวง 6. มาเลเซีย พระราชาธิบดี กรุงกวั ลาลมั เปอร์ ยดึ กรุงพนมเปญ ไดน้ าํ นโยบายขบั ไลช่ าว นายกรัฐมนตรี (Malaysia) กมั พชู าออกไปทาํ นาทาํ การเกษตรตาม บนั ดาร์เสรีเบกาวนั ชนบท กวาดลา้ งผตู้ ่อตา้ น เป็นเหตุใหช้ าว สุลต่าน 7. รัฐบูรไนดารุสซาราม กมั พชู าเสียชีวติ กวา่ 1 ลา้ นคน ชาวโลก (State of Brunei Darussalam) เรียกเหตุการณ์น้ีวา่ สงครามลา้ งเผา่ พนั ธุ์ การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (สหพนั ธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ) 1. ในปี พ.ศ.2506 ไดป้ ระกาศเอกราชโดยรวม ท้งั สิงคโปร์ ซาบาห์ ซาราวกั และบรูไน 2. หลงั จากไดเ้ อกราชไดม้ ีปัญหาความขดั แยง้ ระหวา่ งชาวจีนกบั ชาวมาเลยจ์ นกระทง่ั ในปี พ.ศ.2508 ลีกวนยู ผนู้ าํ พรรคชาวจีนจึง ประกาศแยกสิงคโปร์ออกเป็ นเอกราช 3. ตาํ แหน่งประมุขแห่งรัฐคือยงั ดีเปอร์ตวน อากง น้นั คดั เลือกจากรัฐ 9 รัฐ บน คาบสมทุ รมาลายู (ยกเวน้ ปี นงั มะละกา เพราะไมม่ ีเจา้ ครองรัฐและรัฐซาบาห์ รัฐซา ราวกั ) เลือกต้งั 5 ปี /คร้ัง 4. การเลือกต้งั ของมาเลเซียตามระบอบ ประชาธิปไตยภายใตร้ ัฐธรรมนูญจะมีทุก 5 ปี /คร้ัง การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 1. เน่ืองจากความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร น้าํ มนั ทาํ ใหอ้ งั กฤษไมย่ อมใหเ้ อกราช แตใ่ นปี พ.ศ.2521 องั กฤษไดใ้ หส้ ิทธิในการปกครอง ตนเอง 2. 1 มกราคม พ.ศ.2527 องั กฤษใหเ้ อกราชแก่ บรูไน 3. สุลตา่ น เป็ นประมุขและเป็นผนู้ าํ ใน การบริหารดาํ รงตาํ แหน่งนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม,เช้ือพระวงศช์ ้นั สูง ดาํ รงตาํ แหน่งทางการเมืองที่สาํ คญั

79 ช่ือประเทศ ลกั ษณะการเมอื งการปกครอง ผ้นู า เมอื งหลวง 8. สาธารณรัฐสิงคโปร์ ประธานาธิบดี สิงคโปร์ (Republic of Singapore) การปกครองแบบประชาธิปไตย นายกรัฐมนตรี กรุงจาการ์ตา 9.สาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย (ระบบประธานาธิบดี) ประธานาธิบดี (Republic of Indonesia ) 1. ในพ.ศ.2508 ลีกวนยไู ดเ้ ป็นผนู้ าํ ในการ กรุงมะนิลา แยกตวั ออกจากสหพนั ธรัฐมาเลเซียประกาศ เอกราช เม่ือ 9 สิงหาคม 2508 2. ประธานาธิบดีเป็นประมุขทางพิธีการ นายกรัฐมนตรีเป็นผนู้ าํ ฝ่ ายบริหาร 3. สิงคโปร์มีความมนั่ คงทางการเมืองมาก เพราะต้งั แต่ต้งั ประเทศมาน้นั มีรัฐบาลที่มา จากพรรคการเมืองพรรคเดียวและมีเสียงขา้ ง มาก การปกครองแบบประชาธิปไตย (ระบบประธานาธิบดี) 1. ไดร้ ับเอกราชจากเนเธอร์แลนดเ์ มื่อ 17 สิงหาคม 2488 เป็นประเทศท่ีเป็นหมู่ เกาะท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุดในโลก 2. ปกครองดว้ ยระบบประชาธิปไตยแบบ สาธารณรัฐมีประธานาธิบดีเป็ นประมขุ 10.สาธารณรัฐฟิ ลปิ ปิ นส์ การปกครองแบบประชาธิปไตย ประธานาธิบดี (Republic of The Phlippines) (ระบบประธานาธิบดี) 1. ไดร้ ับเอกราชจากอเมริกาจนเป็นท่ียอมรับ เมื่อ 4 กรกฎาคม 2489 2. ฟิ ลิปปิ นส์เป็นชาติเดียวในเอเชียที่ไดร้ ับ อิทธิพลจากตะวนั ตกมากท่ีสุด มีการผสมผสานทางวฒั นธรรมจนเป็น เอกลกั ษณ์แบบลาตินอเมริกา 3.ปกครองดว้ ยระบบประชาธิปไตยแบบ สหรัฐอเมริกา

80 ใบงานท่ี 2 เร่ือง การเปรียบเทยี บการเมอื งการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนในปัจจุบนั คาชี้แจง จงตอบคาํ ถามลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง 1. ประเทศสมาชิกในสมาคมอาเซียนมีการปกครองแบบใดบา้ ง....................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2. ประเทศเมียนมาร์มีการปกครองแบบ............................................................................................ มีเมืองหลวงชื่อ..............................................ผนู้ าํ สูงสุดทางทหารคือ.......................................... 3. ราชอาณาจกั รไทยมีการปกครองแบบ.......................................................................................... มีรัฐธรรมนูญฉบบั ถาวรเม่ือวนั ท่ี.......................................ในรัชสมยั ใด...................................... ..................................................................................................................................................... 4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวไดร้ ับเอกราชจาก........................มีการปกครองแบบ.... ...............................................................ประธานประเทศคือ....................................................... เมืองหลวงคือ.....................................ปัจจุบนั ใชน้ โยบาย....................................บริหารประเทศ 5. สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนามมีการปกครองแบบ...................................................................... สงครามเดียนเบียนฟูเป็นสงครามระหวา่ งเวยี ดนามกบั ...................................ผลของสงคราม คร้ังน้ีคือ........................................................................................................................................ 6. ราชอาณาจกั รกมั พชู ามีการปกครองแบบ...................................................................................... ผนู้ าํ ที่มีอาํ นาจเด็ดขาดในการบริหารคือ...........................................................กษตั ริยค์ ือ............ ..................................................................................................................................................... 7. มาเลเซียมีการปกครองแบบ..............................................................การเลือกพระราชาธิบดีหรือ ยงั ดีเปอร์ตวนอากงองคป์ ัจจุบนั ทรงมีพระนาม............................................................................ และจะเปลี่ยนทุกๆ กี่ปี ..........................โดยการเลือกต้งั จากสุลตา่ น 9 รัฐ 8. รัฐบรูไนดารุสซารามมีการปกครองแบบ..................................................................................... ผนู้ าํ สูงสุดในการบริหารประเทศคือ............................................................................................ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีมากและสร้างความมงั่ คง่ั ทางเศรษฐกิจคือ................................................ 9. สาธารณรัฐสิงคโปร์น้นั แยกมาจากประเทศใด..................................................มีการปกครอง แบบ..................................................................ผนู้ าํ ที่สร้างความเจริญให้แก่สิงคโปร์มากที่สุด คือ................................................................นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบนั คือ.................................. 10. สภาพทางภมู ิประเทศของสาธารณรัฐอินโดเซียมีลกั ษณะเป็น.................................................... ปัจจุบนั มีการปกครองแบบ....................................................................เมืองหลวงคือ................ 11. ฟิ ลิปปิ นส์ปกครองแบบ............................................................เมืองหลวงคือ..............................

81 ใบงานที่ 3 เรื่อง การวเิ คราะห์ข่าวเหตุการณ์ปัจจุบนั ของกล่มุ ประเทศอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนนาํ ขา่ วเหตุการณ์ปัจจุบนั ของกลุ่มประเทศอาเซียนมาติดลงในกรอบดา้ นล่าง พร้อมวเิ คราะห์ข่าวตามหวั ขอ้ ที่กาํ หนดให้ 1. ประเดน็ ปัญหา ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลดี/ผลเสีย ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................... 3. ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

82 ช่ือ ........................................... นามสกุล ................................................ ช้นั .................. เลขที่ ........ ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................

83 แบบประเมนิ ความเรียงช้ันสูง เรื่อง อาเซียนศึกษา คะแนนเตม็ 10 คะแนน ประเดน็ ประเมิน รายละเอยี ด คะแนน เน้ือหา เน้ือหาตรงประเดน็ ขอ้ มูลชดั เจน มีแหล่งอา้ งอิง 4 มากกวา่ 4 แหล่ง ภาษา 3 อา้ งอิง ภาษามาตรฐานหรือก่ึงมาตรฐานส่ือความชดั เจน 3 เรียงลาํ ดบั ต่อเน่ือง อา้ งอิงเป็ นระบบและถูกตอ้ งท้งั หมด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook