Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore onie-ebook-manual-0000029

onie-ebook-manual-0000029

Description: onie-ebook-manual-0000029

Search

Read the Text Version

สมัยใหม่ ท่ีจะต้องหาวธิ กี ารจดั การทดี่ ี โดยไมม่ องว่าตัวเองเปน็ ศูนยก์ ลาง อย่างเดียว แต่เป็นการมองในลักษณะของพันธมิตร (Alliance) ที่มี หลายๆ สว่ นมาทำงานร่วมกนั มากขึน้ สถาบนั วิจยั และพฒั นาระบบสขุ ภาพ ชุมชน (สพช.) ภาคใต้ จดั ให้มีเครือขา่ ยการเรยี นรู้ PCU (Primary Care Unit : การบริการสุขภาพปฐมภูมิ) ภาคใต้ เพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ด้านสุขภาพ และขยายกว้างขวางในเร่ืองวัฒนธรรม วิถีชีวิต การ ศึกษาและด้านอ่ืน ๆ ท่ีมีผลต่อการดำรงชีวิตของคนในภาคใต้ รวมทั้ง ขยายเครือขา่ ยไปสภู่ าคอื่น ๆ ดว้ ย ผู้เรียบเรยี ง จตุพร สทุ ธิววิ ฒั น์ หนว่ ยศกึ ษานิเทศก ์ เอกสารและแหล่งอ้างอิง 1. http://www.onec.go.th/Act/6.32/page01003.htm 2. http://www.thai-folksy.com/FolkDat/S-kotai/Ancient-Gold/ 02- Liturature.htm 3. http://gotoknow.org/blog/southpcu เอกสารสาระหลักการและแนวคิดประกอบการดำเนินงาน กศน. : คัมภีร์ กศน. 145

การจดั การความรู้ (Knowledge Management) ความนำ “ความรู้ คือ พลัง หรือความรู้ คือ อำนาจ” ข้อความน้ีเป็นท่ี ยอมรับที่เป็นสากล ทั้งภาคธุรกิจเอกชน และภาคราชการ จากการ ยอมรับดังกล่าวมาสู่การเน้นที่ปฏิสัมพันธ์ของคนว่ามีความสำคัญในการ ถ่ายทอดความรู้กว่าเครื่องมือหรือเอกสารใด แม้ความรู้จะถูกจัดระบบ และเวน้ ตอ่ การเขา้ ถงึ ของบคุ คลตา่ งๆ ดเี พยี งใดกต็ าม แตท่ ำอย่างไร จึง จะสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดมรรคผล เกิดประโยชน์ท่ีเป็นรูปธรรมต่อ สงั คม ความหมาย การจัดการความรู้เป็นกระบวนการท่ีองค์การยกระดับความร้ ู ให้คุณค่าแก่ทรัพยากรความรู้ และจัดการทรัพยากรความรู้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดแก่องค์การ โดยที่ความรู้น้ันจะต้องถูกต้องและสอดคล้องกับบุคคล และเวลา มีการดำเนินกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับความรู้ ได้แก่ การผลิต ความรู้ การสรา้ งความรู้ และการเผยแพร่ความรู้ มีการแบง่ ปนั แลกเปลย่ี น ความรู้ ยกระดับความรู้ ใช้ความรู้ร่วมกันในการแก้ปัญหา การวางแผน กลยุทธ์และการตัดสินใจ รวมไปถึงมีการจัดการเกี่ยวกับฐานความรู้ของ ทรพั ยากรบุคคลในองค์การ 146 เอกสารสาระหลกั การและแนวคดิ ประกอบการดำเนนิ งาน กศน. : คัมภรี ์ กศน.

ประเภทความร ู้ ความรอู้ าจแบง่ ใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ 1. ความรเู้ ด่นชดั (Explicit Knowledge) เปน็ ความรทู้ ีอ่ ยู่ในรปู แบบที่เปน็ เอกสารหรอื วิชาการอยู่ในตำรา คมู่ อื ปฏิบัตงิ าน 2. ความรซู้ อ่ นเร้น (Tacit Knowledge) เป็นความรทู้ ่แี ฝงอยู่ใน ตัวคน เปน็ ประสบการณท์ สี่ งั่ สมมายาวนาน เปน็ ภมู ปิ ัญญา โดยที่ความรู้ทั้ง 2 ประเภทนี้มีวิธีการจัดการที่แตกต่างกัน การ จัดการ “ความรู้เด่นชัด” จะเน้นไปท่ีการเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้เมื่อนำไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็นำมาสรุปไว้เพ่ือใช้อ้างอิง หรอื ใหผ้ อู้ ืน่ เขา้ ถงึ ได้ต่อไป สว่ นการจัดการ “ความรซู้ อ่ นเรน้ ” นน้ั จะเน้น ไปท่กี ารจัดเวทีเพือ่ ใหม้ ีการแบง่ ปนั ความรูท้ ี่อยู่ในตวั ผปู้ ฏิบัตงิ านไดต้ ่อไป ในชีวิตจริง ความรู้ 2 ประเภทนี้จะเปล่ียนสถานภาพ สลับปรับ เปลย่ี นไปตลอดเวลา บางครัง้ Tacit ก็ออกมาเป็น Explicit และบางคร้ัง Explicit ก็เปล่ยี นไปเป็น Tacit “โมเดลปลาทู” เป็นโมเดลอย่างง่ายของสถาบันส่งเสริมการ จัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) ท่ีเปรียบการจัดการความรู้เหมือนกับ ปลาทูหน่งึ ตัวทม่ี ี 3 ส่วน คอื 1. ส่วน “หัวปลา” (Knowledge Vision-KV) หมายถึง ส่วนที่ เปน็ เปา้ หมาย วิสัยทศั น์ หรอื ทิศทางของการจัดการความรู้ โดยก่อนทีจ่ ะ ทำจัดการความรู้ต้องตอบให้ได้ว่า “เราจะทำ KM ไปเพ่ืออะไร?” โดย “หัวปลา” นี้จะตอ้ งเป็นของ “คณุ กจิ ” หรือผู้ดำเนินกจิ กรรม KM ทง้ั หมด โดยมี “คณุ เอ้ือ” และ “คุณอำนวย” คอยช่วยเหลือ 2. ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) หมายถึง ส่วนของการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงถือว่าเป็นส่วนสำคัญซ่ึง “คุณอำนวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ “คุณกิจ” มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เอกสารสาระหลกั การและแนวคดิ ประกอบการดำเนินงาน กศน. : คมั ภรี ์ กศน. 147

ความรู้โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ในตัว “คุณกิจ” พร้อมอำนวยให้ เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีมให้เกิดการหมุนเวียนความรู้ยก ระดับความร้แู ละเกดิ นวตั กรรม 3. ส่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “คลงั ความรู้” หรอื “ขุมความร”ู้ ท่ีได้จากการเกบ็ สะสม “เกร็ดความร”ู้ ที่ ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “หางปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ICT ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้ เป็นความรู้ที่เด่นชัด นำไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนใช้ พร้อมยก ระดบั ตอ่ ไป ตัวอยา่ ง การทำอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น งานฝีมือ การทำอาหาร ซ่ึงมีการสร้าง เก็บ และถ่ายทอดความรู้และภูมิปัญญาที่มีในครอบครัว จากรนุ่ หนึ่งไปสอู่ ีกรนุ่ หนึ่งตอ่ ๆ กนั ไปหลายช่วั คน โดยใช้วิธีธรรมชาติ เช่น พดู คุย สัง่ สอน สังเกต จดจำ ซ่งึ ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งมกี ระบวนการทีเ่ ปน็ ระบบ แตอ่ ยา่ งใด วธิ ีการดงั กล่าว เชอื่ ว่าเปน็ การจดั การความรู้รูปแบบหน่งึ อย่างไรก็ตามโลกในยุคปัจจุบันเป็นยุคของการเปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็วในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ เทคโนโลยี การตลาด และ ความต้องการของลูกค้าและผู้รับบริการ เป็นต้น ดังนั้นการใช้วิธีการ จัดการความรู้แบบธรรมชาติอย่างเดียวอาจก้าวตามโลกไม่ทัน จึงจำเป็น ต้องมีกระบวนการที่เป็นระบบเพื่อช่วยให้บุคคลในองค์กรได้ใช้ความรู้ท่ี ต้องการได้ทันเวลาทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเพ่ิมคุณภาพของผลผลิตและ บริการ รวมทัง้ เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขนั ขององคก์ ร 148 เอกสารสาระหลักการและแนวคิดประกอบการดำเนินงาน กศน. : คัมภรี ์ กศน.

ขั้นตอนหลกั ของกระบวนการความรู้ (KM) 1. การคน้ หาความรู้ (Knowledge Identification) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจดั การความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 6. การแบง่ ปนั แลกเปลีย่ นความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning) การจัดการความรู้ (KM) ไมม่ ีสูตรสำเรจ็ ... วิธีการขั้นตอนในการสร้างองค์กรให้เป็นองค์กรให้เป็นองค์กร แหง่ การเรยี นรู้ หรือรปู แบบการจัดการความรขู้ องแต่ละองคก์ ร ไม่จำเปน็ จะต้องมีรูปแบบเดียวกัน ขึ้นอยู่กับว่าสภาพพื้นฐานและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนทุนทางสังคมทางวิชาการ ประสบการณ์ และวัฒนธรรม ฯลฯ ของแต่ละองค์กร เป็นตัวกำหนด ดังนั้น เราจึงไม่ควรกังวลหรือกลัวผิด พลาดในการหารูปแบบ และขั้นตอนการจัดการความรู้มากจนเกินไป แต่ส่ิงที่ควรใส่ใจ คือเมื่อดำเนินการแล้วเกิดการพัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนามาตรฐานองค์กร และเกิดการยกระดับองค์ความรู้ที่นำไปใช้ใน การปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากน้อยเพยี งใดตา่ งหาก เอกสารสาระหลกั การและแนวคิดประกอบการดำเนินงาน กศน. : คมั ภรี ์ กศน. 149

สรุป หากองค์กรจะพัฒนาตนเองให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ก็ จำเป็นจะต้องบริหารจัดการความรู้ภายในองค์กรให้เป็นระบบเพื่อส่งเสริม ให้บุคลากรเรียนรู้ได้จริงและต่อเนื่อง หากองค์กรใดมีการจัดการความรู้ โดยไม่มีการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนภายในองค์กร ก็นับ เป็นการลงทุนที่สูญเปล่าได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม การบริหารจัดการ ความรู้ มีความซับซ้อนมากกว่าการพัฒนาบุคลากรด้วยการฝึกอบรม เพราะเป็นกระบวนการท่ีต้องดำเนินการต่อเนื่องภายหลังจากท่ีบุคลากร มีความรู้ความชำนาญแล้ว องค์กรจะทำอย่างไรให้บุคลากรเหล่านั้นยินดี ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น และในขั้นตอนสุดท้าย องค์กร จะต้องหาเทคนิคการจัดเก็บความรู้เฉพาะไว้กับองค์กรอย่างมีระบบเพื่อท่ี จะนำออกมาใช้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ผ้เู รยี บเรยี ง นายวมิ ล จำนงบุตร ผ้อู ำนวยการ สำนักงาน กศน. กทม. ประวณี รอดเขียว หนว่ ยศึกษานิเทศก ์ เอกสารและแหลง่ อ้างอิง ประพนธ์ ผาสุกยืด. 2547. การจัดการความรู้ ฉบับมือใหม่หัดขับ. กรุงเทพฯ : ใยไหม. วิจารณ์ พานิช. 2548. การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สขุ ภาพใจ. สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน. 2550. เอกสารประกอบการ อบรมโครงการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะ การปฏิบัติงานการศึกษานอกโรงเรียน. กระทรวงศึกษาธิการ : กรุงเทพฯ. (เอกสารอัดสำเนา) 150 เอกสารสาระหลกั การและแนวคิดประกอบการดำเนนิ งาน กศน. : คมั ภรี ์ กศน.

ภาคผนวก เอกสารสาระหลกั การและแนวคิดประกอบการดำเนินงาน กศน. : คัมภรี ์ กศน. 151

คณะทำงานจดั ทำสาระหลักการและกระบวนการจดั การศกึ ษา นอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการศึกษาตลอดชีวิต 1. ดร.ทองอย ู่ แก้วไทรฮะ ทป่ี รกึ ษา 2. ศาสตราจารย์ ดร.สมุ าลี สังขศ์ รี ที่ปรึกษา 3. ดร.ศรีสว่าง เล้ยี ววารณิ ประธาน 4. ดร.ชยั ยศ อ่มิ สุวรรณ์ รองประธาน 5. นายกุลธร เลิศสรุ ยิ ะกุล คณะทำงาน 6. ดร.วศิ น ี ศลิ ตระกูล คณะทำงาน 7. ดร.ปาน กมิ ปี คณะทำงาน 8. รองศาสตราจารย์ ดร. สนอง โลหติ วิเศษ คณะทำงาน 9. ดร.วรยั พร แสงนภาบวร คณะทำงาน 10. ดร.อมรา ปฐภิญโญบรู ณ์ คณะทำงาน 11. ดร.วริ ฬุ ห์ นิลโมจน์ คณะทำงาน 12. นางอญั ชลี ธรรมะวธิ กี ลุ คณะทำงาน 13. นางสุภาพรรณ นอ้ ยอำแพง คณะทำงานและเลขานุการ 14. นางสาวประวณี รอดเขียว คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานกุ าร 15. นางสาวจตพุ ร สทุ ธวิ ิวฒั น์ คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานุการ 16. ดร.รงุ่ อรณุ ไสยโสภณ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ เอกสารสาระหลักการและแนวคดิ ประกอบการดำเนนิ งาน กศน. : คมั ภีร์ กศน. 153

รายช่อื ผู้เขา้ ประชมุ ปฏิบัติการจดั ทำต้นฉบับสาระหลักการ แนวคิดประกอบการดำเนนิ งาน กศน. : คัมภรี ์ กศน. ระหว่างวันที่ 16-19 มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมนนทบรุ พี าเลซ จังหวดั นนทบรุ ี 1. ดร.ทองอย ู่ แก้วไทรฮะ ทีป่ รกึ ษา สำนกั งาน กศน. 2. ดร.ศรีสวา่ ง เลี้ยววาริณ หัวหน้าหนว่ ยศึกษานเิ ทศน์ 3. ดร.ชัยยศ อม่ิ สุวรรณ ์ ผเู้ ชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร 4. นายวชั รินทร ์ จำป ี ผ้เู ชยี่ วชาญด้านเผยแพร่ทางการศกึ ษา 5. นายวิมล จำนงบตุ ร ผอ.สำนกั งาน กศน. กรงุ เทพมหานคร 6. นางสาวลัดดาวลั ย ์ เลิศเพญ็ เมธา ผอ.สำนักงาน กศน. จังหวัดนครนายก 7. ดร.วเิ ลขา ลสี วุ รรณ์ ผอ.สำนกั งาน กศน. จงั หวัดเชยี งราย 8. ดร.อจั ฉรา สากระจาย ผอ.สำนกั งาน กศน. จังหวดั กาฬสินธ์ ุ 9. นายวรี ะกลุ อรณั ยะนาค ผอ.สำนักงาน กศน. จังหวัดนนทบรุ ี 10. นายพล ศรีกลั ยา ผอ.กศน. เขตสวนหลวง 11. นางชญาณี ใหญ่สูงเนิน สำนักงาน กศน. จงั หวดั อดุ รธาน ี 12. นายอกุ ฤษฎ์ ทองสุนทร สถาบนั สง่ เสรมิ และพัฒนานวตกรรม การเรยี นร ู้ 13. นายกฤตพิ ฒั น ์ แสงทอง กลุ่มสง่ เสรมิ ปฏิบัติการ 14. ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 15. นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป์ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 154 เอกสารสาระหลกั การและแนวคดิ ประกอบการดำเนินงาน กศน. : คมั ภีร์ กศน.

16. นายสุรพงษ์ มัน่ มะโน กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 17. นางกนกพรรณ สุวรรณพทิ ักษ์ กล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 18. นางลกั ขณา นิลกล่ำ กลุม่ การเจ้าหน้าที่ 19. นายสมบตั ิ ค้ิวฮก ศนู ย์เทคโนโลยที างการศึกษา 20. ดร.ปิยะพงษ ์ ไสยโสภณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ 21. นางอญั ชลี ธรรมะวิธีกลุ ศกึ ษานิเทศกเ์ ช่ียวชาญ 22. นางสุภาพรรณ นอ้ ยอำแพง ศึกษานิเทศก์เชย่ี วชาญ 23. นางสาวประวีณ รอดเขียว ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ 24. นางสาวจตุพร สทุ ธิวิวัฒน ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการพิเศษ คณะบรรณาธิการ 1. ดร.ศรสี ว่าง เลย้ี ววารณิ หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ สำนกั งาน กศน. 2. นางสุภาพรรณ น้อยอำแพง หน่วยศกึ ษานิเทศก์ สำนกั งาน กศน. 3. ดร.รุง่ อรณุ ไสยโสภณ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน เอกสารสาระหลักการและแนวคดิ ประกอบการดำเนินงาน กศน. : คัมภีร์ กศน. 155


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook