หน่วยท่ี 2 มาตรฐานการเขยี นแบบ DRAWING STANDARD แนวคดิ การเขียนแบบเป็ นภาษาสากลท่ีใช้ส่ือความหมายในงานอุตสาหกรรม ระหว่าง สถาปนิก วิศวกร ช่างเทคนิค ผูอ้ อกแบบ และผูป้ ฏิบตั ิงานโดยใช้แบบงาน เพ่ือให้ผูอ้ ่านเข้าใจ รายละเอียดต่างๆ ไดช้ ดั เจน และนาแบบงานไปปฏิบตั ิไดอ้ ย่างถูกตอ้ งตามมาตรฐานสากล (International Organization of Standardization : ISO) จึงมีการกาหนดมาตรฐานในการเขียนแบบข้ึน ไดแ้ ก่ การใชเ้ ส้น ตวั อกั ษร และมาตราส่วนท่ีใชใ้ นการเขียนแบบ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานในการเขียนแบบ 1. ความหมายของมาตรฐาน 2. มาตรฐานในการเขียนแบบ 2.1 กระดาษเขียนแบบ 2.2 เส้น 2.3 ตวั อกั ษร 2.4 มาตราส่วน จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงคท์ วั่ ไป 1. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจ และเลือกใชม้ าตรฐานต่างๆ ในการเขียนแบบ 2. เพื่อใหผ้ เู้ รียน สามารถเขียนเส้นตรง ตวั อกั ษร และอ่านมาตราส่วนในการเขียนแบบ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของมาตรฐานได้ 2. บอกมาตรฐานกระดาษเขียนแบบได้ 3. บอกลกั ษณะของเส้นตามมาตรฐานการเขียนแบบได้ 4. บอกลกั ษณะของการเขียนตวั อกั ษรได้ 5. เขียนเส้นตามมาตรฐานการเขียนแบบได้ 6. เขียนตวั อกั ษรตามมาตรฐานการเขียนแบบได้ 7. อา่ นมาตราส่วนในการเขียนแบบตามที่กาหนดได้
47 คุณธรรม จริยธรรมทพ่ี งึ ประสงค์ 1. ตรงตอ่ เวลาในการเขา้ เรียน 2. แตง่ กายถูกตอ้ งตามระเบียบของวทิ ยาลยั การอาชีพพนสั นิคม 3. เตรียมความพร้อมของเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในการเรียน 4. ความต้งั ใจใฝ่ รู้ ขยนั หมน่ั เพยี รในการเรียน
48 ความหมายของมาตรฐาน มาตรฐาน หมายถึง ขอ้ กาหนดหรือขอ้ ตกลงระหว่างผูผ้ ลิตและผูใ้ ช้บริการ เพื่อสร้าง ความเขา้ ใจใหต้ รงกนั เกี่ยวกบั ขนาด รูปร่าง น้าหนกั และส่วนผสมของวสั ดุอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงท่ีใช้ ทาการผลิตข้ึน จากแหล่งผลิตต่างๆ ให้มีคุณสมบตั ิและคุณภาพเหมือนกัน สามารถนามาใช้ สับเปล่ียนทดแทนกนั ได้ มาตรฐานการเขยี นแบบ 1. กระดาษเขียนแบบ (Paper Drawing) กระดาษเขียนแบบเป็ นวสั ดุที่ใช้สาหรับ เขียนแบบงานลงบนกระดาษ เพื่อถ่ายทอดความคิดระหว่างวิศวกรผูอ้ อกแบบและช่างเขียนแบบ กับช่างเทคนิคผูผ้ ลิตชิ้นงานตามแบบได้ถูกต้อง กระดาษท่ีใช้ในการเขียนแบบ มีอยู่ 2 ชนิด คือ กระดาษธรรมดา และกระดาษไข เพ่ือให้กระดาษเขียนแบบเป็ นมาตรฐานสากลและสะดวกแก่ผผู้ ลิต และผูใ้ ช้ จึงได้มีการกาหนดขนาดมาตรฐานกระดาษเขียนแบบข้ึน โดยคิดจากพ้ืนท่ีของกระดาษ 1 ตารางเมตร โดยใช้เครื่องหมาย A เป็ นตวั กาหนดตามมาตรฐานสากล (International Organization of Standardization : DIN EN ISO 5457 (1999-07)) ซ่ึงความกวา้ งและความยาวของกระดาษจะเป็ น อตั ราส่วน 1 ต่อ 2 โดยไดก้ าหนดขนาดกระดาษมาตรฐานไว้ 7 ขนาด คือ AO , A1 , A2 , A3 , A4 , A5 และ A6 ดงั แสดงในตารางที่ 2.1 ตารางท่ี 2.1 แสดงการเปรียบเทียบขนาดกระดาษเขียนแบบระบบเมตริกและระบบองั กฤษ ขนาดกระดาษตามมาตรฐาน ISO ขนาดกระดาษตามมาตรฐานองั กฤษ ขนาด กวา้ ง x ยาว พ้นื ท่ีเขียนแบบ กระดาษ (มิลลิเมตร) กวา้ ง x ยาว ขนาด กวา้ ง x ยาว พ้ืนท่ีเขียนแบบ (มิลลิเมตร) กระดาษ (นิ้ว) กวา้ ง x ยาว A0 841 x 1,189 831 x 1,179 A1 594 x 841 584 x 831 (นิ้ว) A2 420 x 594 410 x 584 A3 297 x 420 287 x 410 E 34 x 44 33.00 x 43 A4 210 x 297 200 x 287 A5 148 x 210 138 x 200 D 22 x 34 21.00 x 33 A6 105 x 148 95 x 138 C 17 x 22 16.50 x 21.25 B 11 x 17 10.50 x 16.50 A 8.50 x 11 8.00 x 10.15 - 5.83 x 8.27 - - 4.13 x 5.83 -
49 การเปรียบเทียบขนาดกระดาษเขียนแบบ กระดาษเขียนแบบขนาด A0 หมายเหตุ ขนาดกระดาษ A6 มีพ้นื ที่เทา่ กบั ไปรษณียบตั ร รูปท่ี 2.1 แสดงการเปรียบเทียบกระดาษเขียนแบบ ตารางแสดงรายการ (Title Block) ดา้ นล่างกระดาษเขียนแบบ เป็ นตารางที่ใชเ้ ขียน ขอ้ มูลรายละเอียดต่างๆ ของแบบงาน เช่น ช่ือของแบบงาน ชื่อผเู้ ขียนแบบ ผอู้ อกแบบ ชื่อผตู้ รวจ มาตราส่วน หมายเลขแบบ วนั /เดือน/ปี ที่เขียนแบบ วสั ดุท่ีใช้ ขนาดวสั ดุ จานวนชิ้นงานท่ีตอ้ งการ ผลิต โดยปกติจะนิยมเขียนไวท้ ่ีมุมดา้ นล่างของกระดาษเขียนแบบแตล่ ะขนาด รูปท่ี 2.2 แสดงตวั อยา่ งตารางแสดงรายการของวทิ ยาลยั การอาชีพพนสั นิคม
50 รูปที่ 2.3 แสดงลกั ษณะตารางแสดงรายการของแบบในกระดาษเขียนแบบขนาด A4
51 2. มาตรฐานเส้น (Line Standard) เส้นที่ใชใ้ นการเขียนแบบเปรียบเสมือนภาษา ที่ใชส้ ื่อความหมายในการเขียนแบบ เส้นที่ใชใ้ นการเขียนแบบมีหลายชนิด เส้นแต่ละชนิดจะใชแ้ ทน ความหมายท่ีแตกต่างกนั โดยตามมาตรฐานสากล (International Organization of Standardization : DIN ISO 128-24 (1999-12)) ได้จาแนกชนิดของเส้นออกตามลกั ษณะการใช้งานเป็ น 6 ประเภท คือ เส้นเต็มหนา เส้นเต็มบาง เส้นประ เส้นศูนยก์ ลางหนา เส้นศูนยก์ ลางบาง และเส้นมือเปล่า ขนาด ความหนาของเส้นท่ีใช้ในการเขียนแบบเล็กที่สุด คือ 0.13 มิลิเมตร โดยความหนาของเส้นจะ เพม่ิ ข้ึนตามอนุกรมกา้ วหนา้ เรขาคณิตคูณดว้ ย 2 เช่น 0.13 x 2 = 0.18 มิลลิเมตร ดงั น้นั ขนาด ความหนาของเส้นและลกั ษณะของเส้นท่ีใชใ้ นการเขียนแบบตามมาตรฐาน ISO มีดงั น้ี 0.13 , 0.18 , 0.25 , 0.5 , 0.7 , 1.0 1.4 และ 2.0 มิลลิเมตร ดงั แสดงในตารางท่ี 2.2 และตารางที่ 2.3 ตารางท่ี 2.2 แสดงมาตรฐานเส้นแบง่ ประเภทความหนาตามลกั ษณะการใชง้ าน เส้นและลกั ษณะเส้น การใช้งาน เส้นเตม็ หนกั หรือ เส้นเตม็ หนา ใชเ้ ขียนเส้นขอบท่ีมองเห็น เส้นขอบรูป เส้นลูกศรแสดง เส้นเตม็ เบา หรือ เส้นเตม็ บาง ภาพตดั เส้นปลายเกลียว เส้นแสดงระบบ (โครงสร้างเหล็ก) เส้นระยะสุดเกลียวที่ใชง้ าน เส้นรูปทรงภาพดา้ นตา่ งๆ เส้นมือเปล่าเบา เส้นซิกแซก เส้นโครงสร้างของผวิ งาน (เช่น ข้ึนลาย) การ (Freehand line) แสดงหลกั ๆ ในไดอะแฟรมขอบของชิ้นงาน และ Flow chart ใช้เขียนเส้นบอกขนาด เส้นช่วยบอกขนาด เส้นแสดงลายตดั เส้นศูนยก์ ลางส้ัน เส้นขอบเงา เส้นรากเกลียว เส้นรอบรูป ของส่วนตดั กลางชิ้นงาน เส้นทแยงมุมแสดงวา่ เป็ นพ้ืนที่ราบ วงกลมเดิมและเส้นจากดั ขนาด เส้นแสดงรายละเอียดและ เส้นโยง เส้นรอบรายละเอียดต่างๆ เส้นฉายและเส้นตาราง เ ส้ น ดัด โ ค้ง ข อ ง ชิ้ น ง า น ดิ บ แ ล ะ แ ส ด ง ส่ ว น ท่ี ต้อ ง ท า ง า น เส้นทิศทางของการจัดระเบียบเรียงช้ัน(เช่น แผ่นเหล็ก Transformer) เส้นแสดงรายละเอียดท่ีซอ้ นกนั (เช่น เส้นผา่ น ศูนยก์ ลางโคนฟันของเฟื องขบกนั ) ใช้เขียนเส้นแสดงขอบเขตของชิ้นงาน หรือดา้ นท่ีไม่เต็มและ ภาพตัดด้วยมือ เมื่อขอบเขตไม่มีเส้นสมมาตร หรื อเส้น ศูนยก์ ลาง
52 ตารางท่ี 2.2 แสดงมาตรฐานเส้นแบ่งประเภทความหนาตามลกั ษณะการใชง้ าน (ตอ่ ) เส้นและลกั ษณะเส้น การใช้งาน เส้นซิกแซกเบา หรือ เส้นซิกแซกบาง ใชเ้ ขียนเส้นแสดงขอบเขตของชิ้นงาน หรือดา้ นท่ีไม่เต็มและ ภาพตดั ท่ีเขียนดว้ ยเครื่องเขียนแบบอตั โนมตั ิ เมื่อขอบเขตไม่ มีเส้นสมมาตร หรือเส้นศูนยก์ ลาง เส้นประเบา หรือ เส้นประบาง ใชเ้ ขียนเส้นขอบท่ีมองไม่เห็น เส้นรอบรูปที่มองไม่เห็น เส้นยาวมีความยาว 12d ใชเ้ ขียนเส้นแสดงขอบเขตของพ้ืนท่ีชิ้นงานที่ทางานเพ่ิมเติม ช่องวา่ งมีความยาว 3d เช่น การปรับปรุงผวิ ดว้ ยความร้อน เส้นประหนกั หรือ เส้นประหนา เส้นยาวมีความยาว 12d ใชเ้ ขียนเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง เส้นสมมาตร เส้นวงกลมพิชตข์ อง ช่องวา่ งมีความยาว 3d เฟื องขบกนั เส้นวงกลมพิชตข์ องรูเจาะ เส้นศูนยก์ ลางบาง เส้นยาว 24d ใช้เขียนเส้นแสดงระนาบตัด เส้นแสดงขอบเขตของพ้ืนที่ ช่องวา่ งมีความยาว ชิ้นส่วนที่ตอ้ งการปรับปรุงอยา่ งจากดั เขต (เช่น การปรับปรุง เส้นส้นั มีความยาวนอ้ ยกวา่ หรือ ดว้ ยความร้อน) เท่ากบั 0.5d เส้นศูนยก์ ลางหนา เส้นยาว 24d ช่องวา่ งมีความยาว 3d เส้นส้ันมีความยาวนอ้ ยกวา่ หรือ เทา่ กบั 0.5d
53 ตารางท่ี 2.2 แสดงมาตรฐานเส้นแบ่งประเภทความหนาตามลกั ษณะการใชง้ าน (ตอ่ ) เส้นและลกั ษณะเส้น การใช้งาน เส้นศูนยก์ ลางสองจุดบาง ใชเ้ ขียนเส้นศนู ยถ์ ่วง เส้นแสดงส่วนฉายของเขตพิกดั เผ่ือ เส้นยาว 24d เส้นตาแหน่งสุดทา้ ยของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ กรอบของ ช่องวา่ งมีความยาว 3d ชิ้นส่วนติดกนั กรอบชิ้นงานข้ึนรูป ชิ้นส่วนก่อนถึงระนาบ เส้นส้ันมีความยาวนอ้ ยกวา่ หรือ ตดั กรอบชิ้นส่วนท่ีเลือกแบบได้ กรอบของชิ้นงานสาเร็จใน ชิ้นงานดิบ การลอ้ มกรอบขอบเขตหรือพ้ืนที่เป็นพิเศษ เท่ากบั 0.5d ความหนาและกล่มุ ของเส้น ในการเขียนแบบเครื่องกลส่วนใหญ่จะเลือกใช้ความหนาของเส้นสองแบบ อตั ราส่วน ความหนาของเส้นจะตอ้ งเป็ น 1 : 2 กลุ่มของเส้นจะทาเป็ นข้นั ดว้ ยอตั ราส่วนความหนาของเส้น 1 : 2 หรือเท่ากบั (1 : 1.41) และกลุ่มของเส้นจะเลือกใชต้ ามชนิด ขนาด และมาตราส่วนของแบบและตาม ขอ้ กาหนดในการเขียนแบบตามมาตรฐาน DIN EN ISO 128-24 (1999-12) ไดก้ าหนดมาตรฐานความ หนาของเส้น ดงั แสดงในตารางที่ 2.3 ตารางที่ 2.3 แสดงมาตรฐานความหนาและกลุ่มของเส้น ความหนาของเส้น (มลิ ลเิ มตร) กลุ่มของเส้ น กล่มุ เส้นหนัก กลุ่มเส้ นเบา ขนาดและข้อกาหนด พกิ ดั เผอื่ 0.25 0.35 0.25 0.13 0.18 0.5 0.7 0.35 0.18 0.25 1.0 1.4 0.5 0.25 0.35 2.0 0.7 0.35 0.5 1.0 0.5 0.7 1.4 0.7 1.0 2.0 1.0 1.4
54 รูปท่ี 2.4 แสดงลกั ษณะการใชเ้ ส้นในการเขียนแบบ 3. มาตรฐานตัวอกั ษร (Letter Standard) ในงานเขียนแบบนอกจากจะประกอบดว้ ยเส้น ท่ีใชเ้ ขียนแสดงรูปร่างของชิ้นงานแลว้ ยงั มีตวั อกั ษรและตวั เลขที่ใชแ้ สดงรายละเอียดต่างๆ ในแบบงาน ซ่ึงการเขียนตวั อกั ษรและตวั เลขบอกขนาดลงในแบบงาน จะตอ้ งมีขนาดที่เหมาะสมกบั แบบท่ีเขียน ดงั น้นั ในการเขียนแบบจึงตอ้ งคานึงถึงมาตรฐานการเขียนตวั อกั ษรและตวั เลข เพื่อจะไดก้ าหนด ขนาดตวั อกั ษรและตวั เลขไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และเหมาะสมกบั แบบงาน ดงั น้ี 3.1 ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ และตวั เลข ในการเขียนตวั อกั ษรภาษาองั กฤษและตวั เลข ลงในแบบงาน ตามมาตรฐานสากล (International Organization of Standardization : DIN EN ISO 3098-2 (2000-11)) มีท้งั แบบ A (ตวั แคบ) และแบบ B (ตวั อว้ น) ท่ีใช้ในการเขียนแบบมีท้งั แบบตวั ตรงและตวั เอียง ถา้ ตวั เอียงตอ้ งมีมุมเอียง 75 องศา
55 รูปท่ี 2.5 แสดงแบบตวั อกั ษรภาษาองั กฤษตวั เลขแบบ B ตวั ตรงและตวั เอียง รูปที่ 2.6 แสดงแบบตวั อกั ษรภาษาองั กฤษตวั เลขแบบ A ตวั ตรงและตวั เอียง ส่วนขนาดความสูงของตวั อกั ษรและตวั เลข จะเพม่ิ ข้ึนตามอนุกรมกา้ วหนา้ เรขาคณิต คูณดว้ ย 2 ซ่ึงขนาดความสูงของตวั อกั ษรและตวั เลขจะเร่ิมต้งั แต่ 1.8 , 2.5 , 3.5 , 5 , 7 , 10 , 14 และ 20 มิลลิเมตรโดยขนาดความหนาของเส้นที่เขียนจะตอ้ งสมั พนั ธ์กบั ขนาดตามความสูงของตวั อกั ษร ดงั น้ี รูปท่ี 2.7 แสดงขนาดมาตรฐานการเขียนตวั อกั ษรภาษาองั กฤษและตวั เลข
56 ดงั น้นั ในการเขียนตวั อกั ษรภาษาองั กฤษและตวั เลขตามมาตรฐาน DIN EN ISO 3098-2 (2000-11) ไดก้ าหนดขนาดความสูงของตวั อกั ษร อตั ราส่วนของขนาดตวั อกั ษรตอ่ ความสูง และ ขนาดความยาวของตวั อกั ษรภาษาองั กฤษและตวั เลข ดงั แสดงในตารางท่ี 2.4 และตารางที่ 2.5 ตารางที่ 2.4 แสดงอตั ราส่วนของขนาดตวั อกั ษรต่อความสูง อตั ราส่วนของขนาดตัวอกั ษรต่อความสูง h แบบอกั ษร a b1 b2 b3 c1 c2 c3 d e f A 2 h 25 h 21 h 17 h 10 h 4 h 4 h 1 h 6 h 5 h 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 B 2 h 19 h 15 h 13 h 7 h 3 h 3 h 1 h 6 h 4 h 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 ตารางท่ี 2.5 แสดงขนาดความสูงและความหนาของตวั อกั ษร ขนาดตัวอกั ษร ความหนาของเส้นตัวอกั ษร (มิลลเิ มตร) 1.8 แบบอกั ษร A (ตัวผอม) แบบอกั ษร B (ตวั อ้วน) 2.5 3.5 0.18 0.13 5 7 0.25 0.18 10 14 0.35 0.25 20 0.50 0.35 0.70 0.50 1.00 0.70 1.40 1.00 2.00 1.40 3.1.1 ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่และตัวเลข ในการเขียนตัวอักษร ภาษาองั กฤษนิยมใชต้ วั อกั ษรแบบโกธิค (Gothic) ท้งั แบบตวั ตรงและตวั เอียง 75 องศากบั แนวระดบั โดยใชว้ ธิ ีเขียนที่เรียกวา่ ซิงเกิล – สโตรค (Single Stroke) ท่ีมีความหนาของเส้นท่ีใชเ้ ขียนตวั อกั ษร คงที่ตลอด
57 รูปท่ี 2.8 แสดงแบบตวั อกั ษรภาษาองั กฤษตวั พิมพใ์ หญ่และตวั เลขแบบตวั ตรง รูปที่ 2.9 แสดงแบบตวั อกั ษรภาษาองั กฤษตวั พิมพใ์ หญ่และตวั เลขแบบตวั เอียง
58 3.1.2 ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษตวั พิมพเ์ ล็ก ขนาดตวั อกั ษรตวั พิมพเ์ ล็ก แบ่งส่วนประกอบ ออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนบน ส่วนกลางและส่วนล่าง ส่วนกลางมีขนาด 7/10 ของความสูงตวั อกั ษรนา ส่วนบนและส่วนล่างมีความสูง 3/10 ของความสูงตวั อกั ษรนา สาหรับตวั อกั ษรแบบ B ส่วนตวั อกั ษรแบบ A ขนาดตวั อกั ษรส่วนกลางมีขนาด 10/14 ของความสูงตวั อกั ษรนา ส่วนบนและ ส่วนล่างมีความสูง 4/14 ของความสูงตวั อกั ษรนา รูปที่ 2.10 แสดงโครงสร้างของตวั อกั ษรภาษาองั กฤษตวั พมิ พเ์ ลก็ รูปที่ 2.11 แสดงโครงสร้างของตวั อกั ษรภาษาองั กฤษตวั พิมพเ์ ล็กแบบตวั ตรง รูปที่ 2.12 แสดงโครงสร้างของตวั อกั ษรภาษาองั กฤษตวั พิมพเ์ ลก็ แบบตวั เอียง
59 3.2 ตวั อักษรภาษาไทย ตามมาตรฐาน มอก. 210-2520 ท่ีใช้ในการเขียนแบบ มีขนาดความสูงของตวั อกั ษรที่เลก็ ที่สุดต้งั แต่ 2.5 มิลลิเมตร ข้ึนไป และขนาดความสูงของตวั อกั ษร จะเพิ่มข้ึนตามอนุกรมกา้ วหนา้ เรขาคณิต คูณดว้ ย 2 ซ่ึงขนาดความสูงของตวั อกั ษรจะเริ่มจาก 2.5 , 3.5 , 5 , 7 , 10 , 14 และ 20 มิลลิเมตร การเขียนตวั อกั ษรภาษาไทย มีลักษณะรูปแบบการเขียน เหมือนกบั ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ ไดแ้ ก่ มาตรฐานความสูงของตวั อกั ษร ความหนาของเส้น ระยะห่าง ระหว่างบรรทดั ระยะห่างระหว่างคาและความยาวส่วนบนและส่วนล่าง ส่วนวิธีการเขียนตวั อกั ษร ภาษาไทยมีท้งั แบบตวั อกั ษรเส้นบาง ตวั อกั ษรเส้นหนา ตวั อกั ษรตรงและตวั อกั ษรเอียงดงั น้ี 3.2.1 ตวั อกั ษรและตวั เลขมาตรฐานท่ีเขียนด้วยชุดเคร่ืองมือเขียนตวั อกั ษร โดยมีรูปแบบของตวั เลขและตวั อกั ษร ดงั น้ี รูปที่ 2.13 แสดงตวั อกั ษรและตวั เลขไทยที่เขียนดว้ ยเครื่องมือเขียนตวั อกั ษร 3.2.2 การเขียนตวั อกั ษรและตวั เลขไทยตาม มอก. 210-2520 ที่ใช้ มือเขียนใน งานเขียนแบบเทคนิค
60 ฎ ฏ ฐ ฑ ฒณด ตถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภม ย ร ฤ ล ฦ ว ศกขฃคฅฆงจฉชซฌ ญ ษ ส ห ฬ อ ฮ ะ า ิิ ิี ิึ ิื ิ่ ิ้ ิ๊ ิ๋ ิ ิ์ โ ใ ไ เ แ ิุ ิู ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙๐ รูปท่ี 2.14 แสดงตวั อกั ษรที่เขียนดว้ ยมือ การเขียนตวั อกั ษรภาษาไทยและตวั เลขสามารถเขียนได้ 4 วธิ ี ดงั น้ี 1. การเขียนโดยใช้ชุดเคร่ืองมือเขียนตวั อักษร (Leroy) ซ่ึงตวั อักษรจะถูกเจาะอยู่ใน บรรทดั พลาสติก แตไ่ ม่ทะลุ การเขียนตวั อกั ษรจะใชห้ วั เขม็ ใส่ลงในร่องตวั อกั ษรแลว้ เล่ือนเข็มไปตาม ร่องของตวั อกั ษรบนบรรทดั ขณะเดียวกันปลายปากกาหรือดินสอจะถูกบังคบั ให้เคลื่อนที่เป็ น ตวั อกั ษรบนกระดาษเขียนแบบ รูปที่ 2.15 แสดงลกั ษณะตวั อกั ษรที่เขียนโดยใชเ้ คร่ืองเขียนตวั อกั ษร
61 รูปท่ี 2.16 แสดงการเขียนตวั อกั ษรโดยใชเ้ คร่ืองเขียนตวั อกั ษร 2. การเขียนโดยใชแ้ ผน่ แบบตวั อกั ษร (Template) แผน่ แบบตวั อกั ษรทาดว้ ยพลาสติก เจาะเป็นโครงตวั อกั ษรและตวั เลข โดยมีความสูงตวั อกั ษรหลายขนาด ตวั อกั ษรและตวั เลขมีท้งั แบบ ตวั ตรงและตวั เอียง การใชแ้ ผน่ แบบเขียนตวั อกั ษรทาไดโ้ ดยวางแผน่ แบบตวั อกั ษรบนกระดาษเขียนแบบ แลว้ ใชป้ ากกาหรือดินสอใส่ลงร่องตวั อกั ษร แลว้ ลากไปตามร่องตวั อกั ษรจะเกิดเป็ นเส้นตวั อกั ษร ตามแบบ รูปที่ 2.17 แสดงลกั ษณะตวั อกั ษรโดยใชแ้ ผน่ แบบ
62 รูปที่ 2.18 แสดงการเขียนตวั อกั ษรโดยใชแ้ ผน่ แบบ 3. การเขียนโดยใช้อกั ษรลอก (Letter Press) แผ่นตวั อกั ษรลอกมีลกั ษณะเป็ นตวั อกั ษร บนกระดาษไข การเขียนตวั อกั ษรโดยวางเป็ นตวั อกั ษรลอกลงมาบนกระดาษเขียนแบบในตาแหน่ง ที่ตอ้ งการเขียนแลว้ ขูดบนกระดาษดา้ นหลงั ของตวั อกั ษรซ้าๆ กนั แล้วค่อยดึงแผน่ กระดาษไข ข้ึน ตวั อกั ษรลอกจะติดบนกระดาษเขียนแบบตามตอ้ งการ รูปที่ 2.19 แสดงลกั ษณะตวั อกั ษรโดยใชอ้ กั ษรลอก
63 รูปที่ 2.20 แสดงการเขียนตวั อกั ษรโดยใชอ้ กั ษรลอก 4. การเขียนด้วยมือเปล่า (Free Hand) เป็ นการเขียนตวั อกั ษรตามมาตรฐาน มอก. 210-2520 โดยไม่ใชเ้ คร่ืองมือช่วยในการเขียน การเขียนตวั อกั ษรดว้ ยมือเปล่า ตอ้ งใช้ความชานาญ ของแต่ละคนที่ต้องใช้เวลาในการฝึ กหัด เพื่อให้เกิดความชานาญ ซ่ึงการเขียนด้วยมือเปล่าน้ี ถ้าผูป้ ฏิบตั ิงานฝึ กหัดจนเกิดความชานาญจะสามารถเขียนได้อย่างรวดเร็วและสวยงามไม่แพ้ การเขียนตวั อกั ษรโดยใชอ้ ุปกรณ์หรือเคร่ืองมือช่วยเขียนอยา่ งอื่น รูปท่ี 2.21 แสดงลกั ษณะตวั อกั ษรที่เขียนดว้ ยมือเปล่า
64 รูปท่ี 2.22 แสดงการเขียนตวั อกั ษรดว้ ยมือเปล่า 4. มาตราส่วน (Scale) มาตราส่วน หมายถึง ความสัมพนั ธ์ระหว่างขนาดของชิ้นงานจริง กับขนาดแบบงานท่ีเขียนข้ึน มาตราส่วนที่ใช้ในการเขียนแบบเคร่ืองกลตามมาตรฐานสากล (International Organization of Standardization : DIN ISO 5455(1979-12)) แบง่ ออกได้ 3 ชนิด ดงั น้ี 4.1 มาตราส่วนจริงหรือมาตราส่วนเต็ม (Full Scale) หมายถึง การเขียนแบบให้ขนาด ของแบบงาน ท่ีเขียนกบั ขนาดของชิ้นงานจริงมีขนาดเท่ากนั ใช้สาหรับการเขียนแบบทวั่ ไป คือ มาตราส่วน 1 : 1 รูปท่ี 2.23 แสดงแบบงานท่ีเขียนดว้ ยมาตราส่วนต่างๆ
65 4.2 มาตราส่วนย่อ (Reduction Scale) หมายถึง การเขียนแบบให้ขนาดของแบบงาน ที่เขียนมีขนาดเล็กกว่าขนาดของชิ้นงานจริง เพ่ือให้ขนาดของแบบงานเหมาะกบั พ้ืนท่ีกระดาษ เขียนแบบ และสามารถแสดงรายละเอียดของแบบไดอ้ ยา่ งครบถว้ น ไดแ้ ก่ มาตราส่วน 1 : 2 , 1 : 5 , 1 : 10 , 1 : 20 , 1: 50 , 1 : 100 , 1 : 200 , 1 : 500 , 1 : 1000 และ 1: 2000 4.3 มาตราส่วนขยาย (Enlargement Scale) หมายถึง การเขียนแบบให้ขนาด ของแบบงานที่เขียนมีขนาดโตกวา่ ขนาดของชิ้นงานจริง เพื่อให้สามารถเขียนและอ่านแบบไดส้ ะดวก การขยายขนาดจะข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสม ไดแ้ ก่ มาตราส่วน 2 : 1 , 5 : 1 , 10 : 1 , 20 : 1 , 50 : 1 มาตราส่วนมีความสาคญั ต่อการเขียนแบบ แตก่ ารที่จะนามาตราส่วนไปใชใ้ นงานเขียน แบบตอ้ งเลือกใชใ้ หถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสมกบั ขนาดของแบบชิ้นงานท่ีจะทาการเขียนและขนาดของ กระดาษเขียนแบบ เพื่อใหผ้ เู้ ขียนแบบไดเ้ ขา้ ใจในตวั เลขของมาตราส่วน จึงไดม้ ีขอ้ สังเกตให้เขา้ ใจ ดงั น้ี ตวั เลขตัวหน้า คือ ขนาดที่ตอ้ งเขียนลงในกระดาษเขียนแบบ ตัวเลขตัวหลงั คือ ขนาดจริงของชิ้นงาน ตารางท่ี 2.6 แสดงมาตราส่วนและความหมายของมาตราส่วน มาตราส่ วน ความหมาย 1 : 200 1 มม. = 200 มม. ยอ่ ขนาดจากของจริง 200 เทา่ 1 : 100 1 มม. = 100 มม. ยอ่ ขนาดจากของจริง 100 เท่า 1 : 50 1 มม. = 50 มม. ยอ่ ขนาดจากของจริง 50 เท่า 1 : 20 1 มม. = 20 มม. ยอ่ ขนาดจากของจริง 20 เท่า 1 : 10 1 มม. = 10 มม. ยอ่ ขนาดจากของจริง 10 เทา่ 1:5 1 มม. = 5 มม. ยอ่ ขนาดจากของจริง 5 เท่า 1:2 1 มม. = 2 มม. ยอ่ ขนาดจากของจริง 2 เทา่ 1:1 1 มม. = 1 มม. ขนาดในแบบเท่ากบั ขนาดของจริง 2:1 2 มม. = 1 มม. ขยายใหโ้ ตกวา่ ของจริง 2 เท่า 5:1 5 มม. = 1 มม. ขยายใหโ้ ตกวา่ ของจริง 5 เท่า 10 : 1 10 มม. = 1 มม. ขยายใหโ้ ตกวา่ ของจริง 10 เท่า 20 : 1 20 มม. = 1 มม. ขยายใหโ้ ตกวา่ ของจริง 20 เท่า 50 : 1 50 มม. = 1 มม. ขยายใหโ้ ตกวา่ ของจริง 50 เทา่
66 ตารางท่ี 2.7 แสดงการเปรียบเทียบมาตราส่วน ขนาดชิ้นงานจริง ขนาดทต่ี ้องการเขยี นแบบ 10 1 : 10 1 : 5 1 : 2 1 : 1 2 : 1 5 : 1 10: 1 20 1 2 5 10 20 50 100 30 2 4 10 20 40 100 200 40 3 6 15 30 60 150 300 4 8 20 40 80 200 400 สรุป งานเขียนแบบจะตอ้ งมีรูปแบบท่ีเป็นมาตรฐานสากลที่ผอู้ อกแบบและเขียนแบบจะตอ้ ง ตระหนกั เป็นอยา่ งมาก เพราะแบบงานเป็นภาษาสากลที่ใชส้ ื่อสารใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั ระหวา่ ง ผูเ้ ขียนแบบและผนู้ าแบบไปทาการผลิตเป็ นผลิตภณั ฑ์ จึงตอ้ งมีการกาหนดมาตรฐานข้ึนสาหรับ ใชใ้ นการเขียนแบบ ท้งั กระดาษเขียนแบบ เส้น และมาตราส่วนที่ใชใ้ นการเขียนแบบ
67 แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน หน่วยท่ี 2 มาตรฐานการเขยี นแบบ คาชี้แจง จงทาเครื่องหมายกากบาท (X) ทบั ตวั อกั ษรหนา้ คาตอบขอ้ ที่ถูกท่ีสุดเพียงขอ้ เดียว ในกระดาษคาตอบ 1. ขอ้ ใดคือความหมายของมาตรฐานในการเขียนแบบ ก. ขอ้ ตกลงเพื่อสร้างความเขา้ ใจใหต้ รงกนั เก่ียวกบั การเขียนแบบ ข. ขอ้ กาหนดเพอื่ สร้างความเขา้ ใจใหต้ รงกนั เก่ียวกบั ขนาด รูปร่างของชิ้นงาน ค. ขนาดมาตรฐานของเส้นที่ใชใ้ นการเขียนแบบ ง. มาตราส่วนท่ีใชใ้ นการเขียนแบบ 2. กระดาษเขียนแบบขนาด A 4 มีความกวา้ งและความยาวเท่าไร ก. 210 X 297 ข. 297 X 420 ค. 420 X 597 ง. 148 X 210 3. กระดาษเขียนแบบขนาด A 3 มีความกวา้ งและความยาวเทา่ ไร ก. 210 X 297 ข. 297 X 420 ค. 420 X 597 ง. 148 X 210 4. ขอบสันรูปหรือมุมของรูปที่มองเห็นในแบบงานใชเ้ ส้นชนิดใดแสดงในการเขียนแบบ ก. เส้นเตม็ บาง ข. เส้นประ ค. เส้นเตม็ หนา ง. เส้นศนู ยก์ ลาง 5. การเขียนตวั อกั ษรภาษาไทยดว้ ยมือเปล่าใชร้ ูปแบบตวั อกั ษรใด ก. มอก. 210-2520 ข. มอก. 210-2525 ค. ISO 3098 ง. ISO 5485
68 6. ขอบสันรูปของชิ้นงานส่วนท่ีถูกบงั มองไม่เห็นในแบบใชเ้ ส้นชนิดใดแสดงในการเขียนแบบ ก. เส้นเตม็ บาง ข. เส้นประ ค. เส้นเตม็ หนา ง. เส้นศนู ยก์ ลาง 7. เส้นชนิดใดที่ใชแ้ สดงระนาบตดั หรือแนวตดั ของชิ้นงาน ก. เส้นเตม็ บาง ข. เส้นประ ค. เส้นเตม็ หนา ง. เส้นศูนยก์ ลางหนา 8. เส้นเตม็ หนาตามมาตรฐาน ISO 128-24 ตามกลุ่มเส้น 0.5 มีความหนาของเส้นเทา่ ใด ก. 0.25 มิลลิเมตร ข. 0.35 มิลลิเมตร ค. 0.5 มิลลิเมตร ง. 0.7 มิลลิเมตร 9. เส้นเตม็ บางตามมาตรฐาน ISO 128-24 ตามกลุ่มเส้น 0.5 มีความหนาของเส้นเทา่ ใด ก. 0.25 มิลลิเมตร ข. 0.35 มิลลิเมตร ค. 0.5 มิลลิเมตร ง. 0.7 มิลลิเมตร 10. เส้นประตามมาตรฐาน ISO 128-24 ตามกลุ่มเส้น 0.5 มีความหนาของเส้นเทา่ ใด ก. 0.25 มิลลิเมตร ข. 0.35 มิลลิเมตร ค. 0.5 มิลลิเมตร ง. 0.7 มิลลิเมตร 11. เส้นศนู ยก์ ลางบางตามมาตรฐาน ISO 128-24 มีลกั ษณะความยาวของเส้นเทา่ ใด ก. เส้นยาว 3-4 มิลลิเมตร ช่องวา่ ง 1 มิลลิเมตร เส้นส้นั เกือบเป็นจุด ข. เส้นยาว 5 มิลลิเมตร ช่องวา่ ง 1 มิลลิเมตร เส้นส้ันเกือบเป็ นจุด ค. เส้นยาว 7 มิลลิเมตร ช่องวา่ ง 1 มิลลิเมตร เส้นส้ันเกือบเป็ นจุด ง. เส้นยาว 10 มิลลิเมตร ช่องวา่ ง 1 มิลลิเมตร เส้นส้ันเกือบเป็ นจุด
69 12. เส้นประตามมาตรฐาน ISO 128-24 มีมาตรฐานความยาวของเส้นเทา่ ใด ก. เส้นยาว 3-4 มิลลิเมตร ช่องวา่ ง 1 มิลลิเมตร ข. เส้นยาว 5 มิลลิเมตร ช่องวา่ ง 1 มิลลิเมตร ค. เส้นยาว 7 มิลลิเมตร ช่องวา่ ง 1 มิลลิเมตร ง. เส้นยาว 10 มิลลิเมตร ช่องวา่ ง 1 มิลลิเมตร 13. การเขียนตวั อกั ษรแบบตวั เอียงตามมาตรฐาน ISO 3098-2 ที่นิยมเขียนมีมุมก่ีองศา ก. 45 องศา ข. 57.5 องศา ค. 67.5 องศา ง. 75 องศา 14. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ขนาดความสูงมาตรฐานของตวั อกั ษรท่ีใชใ้ นการเขียนแบบ ก. 3.5 มิลลิเมตร ข. 5 มิลลิเมตร ค. 7 มิลลิเมตร ง. 9 มิลลิเมตร 15. ตามมาตรฐาน ISO ไดก้ าหนดความหนาของเส้นท่ีใชใ้ นการเขียนแบบเพิม่ ข้ึนตามอนุกรม กา้ วหนา้ เรขาคณิตไวอ้ ยา่ งไร ก. คูณ 2 ข. คูณ 2 ค. คูณ 3 ง. คูณ 3 16. การเขียนตวั อกั ษรในการเขียนแบบทาไดก้ ี่วธิ ี ก. 3 วธิ ี ข. 4 วธิ ี ค. 5 วธิ ี ง. 6 วธิ ี 17. ขนาดความสูงของตวั อกั ษรพิมพเ์ ล็กตามมาตรฐาน ISO 3098-2 มีค่าเท่ากบั เทา่ ใด ก. 1/10 h ข. 7/10 h ค. 10/10 h ง. 16/10 h
70 18. ขนาดความสูงของตวั อกั ษรพิมพใ์ หญต่ ามมาตรฐาน ISO 3098-2 มีคา่ เท่ากบั เท่าใด ก. 1/10 h ข. 7/10 h ค. 10/10 h ง. 16/10 h 19. ถา้ ขนาดของงานจริง 10 มิลลิเมตร ใชม้ าตราส่วน 5 : 1 ความยาวของงานในแบบจะยาวเท่าไร ก. 10 มิลลิเมตร ข. 25 มิลลิเมตร ค. 50 มิลลิเมตร ง. 100 มิลลิเมตร 20. ถา้ ขนาดของงานจริงยาว 50 มิลลิเมตร ใชม้ าตราส่วน 1 : 5 ความยาวของงานในแบบจะยาว เทา่ ไร ก. 10 มิลลิเมตร ข. 25 มิลลิเมตร ค. 50 มิลลิเมตร ง. 100 มิลลิเมตร
71 รหสั 2100-1001 ใบงานท่ี 2.1 เรื่อง มาตรฐานการเขยี นแบบ วชิ าเขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้น 1. จงเขียนเส้นตามมาตรฐานเส้นใหถ้ ูกตอ้ ง โดยเวน้ ระยะห่าง 5 มิลลิเมตร 1. เส้นเตม็ หนา 2. เส้นเตม็ บาง 3. เส้นประ 4. เส้นศูนยก์ ลางบาง รายการทตี่ รวจ คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องเส้น 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8 = ดี , 10 = ดีมาก ช่ือ..........................................................รหัส.............................แผนกวชิ า.........................................
72 รหัส 2100-1001 ใบงานท่ี 2.2 เรื่อง มาตรฐานการเขียนแบบ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น 2. จงเขียนอกั ษรภาษาองั กฤษตวั ตรงและตวั เลขตามท่ีกาหนดให้ ABCDE FGH I J KLM NO P QR S T UVWXY Z abcdefghi jklm nopq r s t uvwxyz 1234567890 ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… รายการทต่ี รวจ คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องตวั อกั ษร 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8 = ดี , 10 = ดีมาก ช่ือ..........................................................รหสั .............................แผนกวชิ า.........................................
73 รหัส 2100-1001 ใบงานที่ 2.3 เรื่อง มาตรฐานการเขยี นแบบ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น 3. จงเขียนอกั ษรภาษาองั กฤษตวั เอียงและตวั เลขตามที่กาหนดให้ ABCDEFGH I J KLM NOPQR S TUVWXY Z abcdefghi jklm nopqr s t uvwxyZ 1234567890 ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… รายการทต่ี รวจ คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องตวั อกั ษร 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8 = ดี , 10 = ดีมาก ช่ือ..........................................................รหัส.............................แผนกวชิ า.........................................
74 รหสั 2100-1001 ใบงานท่ี 2.4 เรื่อง มาตรฐานการเขยี นแบบ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น 4. จงเขียนอกั ษรภาษาไทยตวั ตรงและตวั เลขตามที่กาหนดให้ ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… รายการทตี่ รวจ คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องตวั อกั ษร 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8 = ดี , 10 = ดีมาก ช่ือ..........................................................รหสั .............................แผนกวชิ า.........................................
75 รหสั 2100-1001 ใบงานที่ 2.5 เร่ือง มาตรฐานการเขยี นแบบ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น 5. จงเขียนอกั ษรภาษาไทยตวั เอียงและตวั เลขตามท่ีกาหนดให้ ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… รายการทตี่ รวจ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องตวั อกั ษร 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8 = ดี , 10 = ดีมาก ช่ือ..........................................................รหสั .............................แผนกวชิ า.........................................
76 รหสั 2100-1001 ใบงานท่ี 2.6 เรื่อง มาตรฐานการเขียนแบบ วชิ าเขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้น 6. จากภาพ จงหาขนาดและสดั ส่วนของภาพตามมาตราส่วนท่ีกาหนดให้ ขนาด 10 : 1 5 : 1 3 : 1 2 : 1 1 : 1 1 : 2 1 : 3 1 : 5 1 : 10 มาตราส่วน 120 80 10 R5 R 40 รายการทต่ี รวจ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามมาตราส่วน 45 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 5 เกณฑ์การให้คะแนน 0 = ผดิ 1 = ถูกตอ้ ง ช่ือ..........................................................รหัส.............................แผนกวชิ า.........................................
77
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: